สอบถามเกี่ยวกับการฝึกมโนมยิทธิของผมครับ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย LiveEarth, 27 มกราคม 2012.

  1. LiveEarth

    LiveEarth Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    379
    ค่าพลัง:
    +25
    เมื่อคืนผมได้ฝึกมโนมยิทธิเองที่บ้าน ผมมีความรู้สึกตามนี้ครับ
    1. เมื่อผมอาราธนาบารมีพระพุทธเจ้าขอให้เห็นท่านนั้นๆ เมื่อผมเห็นผมจะรู้สึกขนลุกขนชันทุกครั้งเมื่อพบเจอท่านๆนั้น อาการอย่างนี้หมายถึงผมได้เจอท่านนั้นๆแล้วใช่หรือเปล่าครับ
    2. ขณะที่ผมท่องเที่ยวไปในสวรรค์ ผมรู้สึกว่าตัวผมเล็กลงเล็กลงจนผมรู้สึกว่าตัวผมหายไป(แต่ผมยังรู้สึกว่าผมอยู่บนสวรรค์อยู่) ในช่วงนี้ผมอยู่ในขั้นตอนไหนของการฝึกสมาธิครับ แล้วผมต้องทำอย่างไรต่อไปครับ
    3. ที่ผมฝึกนี้ยังเป็นมโนมยิทธิแบบครึ่งกำลังใช่หรือเปล่าครับ เพราะผมยังมีอาการขนลุกขนชันอยู่(ผมเข้าใจถูกหรือเปล่าครับ เพราะถ้าแบบเต็มกำลังกายกับจิตจะตัดโดยเด็ดขาด) แล้วถ้าผมจะฝึกแบบเต็มกำลังผมต้องทำอย่างไรต่อไปครับ
    4. ถ้าผมจะฝึกให้ได้ฌาณ4 ผมจะสามารถต่อยอดจากการฝึกมโนมยิทธิได้หรือเปล่าครับ ถ้าต่อยอดจากมโนมยิทธิได้แล้วผมต้องทำอย่างไรครับ แล้วถ้าต่อยอดจากมโนมยิทธิไม่ได้แล้วผมต้องทำอย่างไรครับ
     
  2. ไดมอนด์

    ไดมอนด์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2012
    โพสต์:
    31
    ค่าพลัง:
    +150
    ตอนนี้ก็อยากฝึกเหมือนกันค่ะ แต่ก็กลัวว่าฝึกเองจะไม่ดี ต้องหาครูบาอาจารย์ก่อนหรือเปล่าค่ะ ทุกวันนี้ก็ปฏิบัติแบบของหลวงพ่อจรัญอยู่ค่ะ มันจะขัดกันมั้ยค่ะ
     
  3. อศูนย์น้อย

    อศูนย์น้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    458
    ค่าพลัง:
    +495
    ขอร่วมฝึกด้วยคนครับ นั่งรอผู้รู้ต่อไป
     
  4. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,342
    ค่าพลัง:
    +6,849

    ลองฝึกมโนมยิทธิแบบผมไหมล่ะ

    ทำแบบนี้

    ก่อนนอน หรือตื่นนอนตอนเช้า
    หากเลือกได้ควรเลือกที่มีเวลาฝึกแน่นอน
    ให้เลือกเอาระหว่างก่อนนอนหรือตอนตื่นนอน

    แต่หากมีเวลามาก ก็ทำทั้งสองเวลาเลย

    จากนั้นก่อนลงมือทำสมาธิด้วยการนั่ง ให้ทำแบบนี้


    ระลึกถึงคุณพระรัตนะตรัย


    กราบ ๕ ครั้ง


    กล่าวคำขอขมาว่าดังนี้


    ข้าพเจ้า ขอขมากรรม พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    ครูบาอาจารย์
    บิดามารดา
    เจ้ากรรมนายเวร
    และสิ่งศักสิทธิ์ทั้งหลาย
    กรรมอันใด ที่ข้าพเจ้า ได้ล่วงเกิน
    ด้วย กายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ตั้งใจก็ดี ไม่ตั้งใจก็ดี รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี
    ขอทุกท่าน โปรดอโหสิกรรม ให้ข้าพเจ้าด้วยเทอญ


    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ อาจาริยานัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ มาตาปิตุนัง ปูเชมิ


    อะระหังสัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ )
    สะวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ )
    สุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ )
    มัยหังมาตาปิตูนังวะ ปาเท วันทามิ สาคะรัง (กราบ)
    ปัญญาวุฒฑิ กะเรเตเต ทินโนวาเท นะมามิหัง (กราบ)


    อาราธะนาศีล ๘


    ข้าพเจ้า ขอตั้งสัจจะบาระมี จะขอรักษาศีล ๘ ให้ได้ ตลอดการสวดมนต์ภาวนานี้


    อะหังภันเต ติสะระเนนะสะหะ อัฐฐะ ศีลานิยาจามิ
    ทุติยัมปิ อะหังภันเต ติสะระเนนะสะหะ อัฐฐะ ศีลานิยาจามิ
    ตะติยัมปิ อะหังภันเต ติสะระเนนะสะหะ อัฐฐะ ศีลานิยาจามิ


    ๑. ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ
    ๒. อะทินนา ทานา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ
    ๓. อะพรัมมะจะริยา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ
    ๕. สุราเมระยะ มัจชะ ปะมา ธะฐานา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ
    ๖. วิกาละโภชะนา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ
    ๗. นัฏจะคีตะวาฐิตะ วิสูกะทัศสะนา มาลาคันธะ วิเลปะนะ ธาระนะ
    มันฑะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ
    ๘. อุจจา สะยะนะ มะหา สะยะนา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ
    อิมานิ อัฐฐะ สิกขา ปะทานิ สะมาธิยามิ
    อิมานิ อัฐฐะ สิกขา ปะทานิ สะมาธิยามิ
    อิมานิ อัฐฐะ สิกขา ปะทานิ สะมาธิยามิ

    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุท ธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุท ธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุท ธัสสะ

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    (บท พุทธะคุณ )
    อิติปิโสภะคะวา
    อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ
    วิชชา จะระณะ สัมปันโน
    สุคะโต
    โลกะวิทู
    อะนุตตะโล
    ปุริสะธัมมะสาระถี
    สัตถา เทวะ มะนุษสานัง
    พุทโธ
    ภะคะวา ติ

    ( บท ธรรมะคุณ )
    สะวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม
    สัณฐิติโก
    อะกาลิโก
    เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก
    ปัจจัตตัง เวธิตัพโพ วิญญู หิ ติ

    (บท สังฆะคุณ )
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญาญะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิตัง จัตตาริ ปุริสะยุค คานิ
    อัฐฐะ ปุลิสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ


    ตามด้วยบท ต่อไปนี้ คือ
    บท พาหุง



    พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ค รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง<O:p</O:p
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p



    มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง<O:p</O:p
    โฆรัมปะนาฬะวะมักขะมะถัทธะยักขัง<O:p</O:p
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง<O:p</O:p
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง<O:p</O:p
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง<O:p</O:p
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง<O:p</O:p
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    กัตวานะ กิฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา<O:p</O:p
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง<O:p</O:p
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p




    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง<O:p</O:p
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต<O:p</O:p
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p




    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง<O:p</O:p
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง<O:p</O:p
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    เอตาปิ พุทธะ ชะยะมัง คะละอัฏ ฐะคาถา<O:p</O:p
    โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที<O:p</O:p
    หิตะวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ<O:p</O:p
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ



    (บท มหากาฯ )


    <O:pมะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง<O:p</O:p
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง<O:p</O:p
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ<O:p</O:p
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน<O:p</O:p
    เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล<O:p</O:p
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร<O:p</O:p
    อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ<O:p</O:p
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง<O:p</O:p
    สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ<O:p</O:p
    ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง<O:p</O:p
    ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา<O:p</O:p
    ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ<O:p</O:p
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<O:p</O:p
    สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ<O:p</O:p
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<O:p</O:p
    สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ <O:p</O:p
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<O:p</O:p
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ


    ต่อด้วย คาถาโพธิบาท

    (ทิสตะวันออก)
    บูระพา รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    บูระพา รัสสมิง พระธัมเมตัง
    บูระพา รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันออกเฉียงใต้)
    อาคะเนย รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    อาคะเนย รัสสมิง พระธัมเมตัง
    อาคะเนย รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศใต้)
    ทักษิณ รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    ทักษิณ รัสสมิง พระธัมเมตัง
    ทักษิณ รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันตกเฉียงใต้)
    หะระดี รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    หะระดี รัสสมิง พระธัมเมตัง
    หะระดี รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันตก)
    ปัจจิม รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    ปัจจิม รัสสมิง พระธัมเมตัง
    ปัจจิม รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ)
    พายัพ รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    พายัพ รัสสมิง พระธัมเมตัง
    พายัพ รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศเหนือ)
    อุดร รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    อุดร รัสสมิง พระธัมเมตัง
    อุดร รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ)
    อิสาน รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    อิสาน รัสสมิง พระธัมเมตัง
    อิสาน รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทางดิน)
    ปัฐฐะวี รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    ปัฐฐะวี รัสสมิง พระธัมเมตัง
    ปัฐฐะวี รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทางน้ำ)
    คงคา รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    คงคา รัสสมิง พระธัมเมตัง
    คงคา รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทางอากาศ)
    อากาศ รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    อากาศ รัสสมิง พระธัมเมตัง
    อากาศ รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา​
    <!-- google_ad_section_end -->


    (ต่อด้วยบท)

    บารมี ๓๐ ทัศ


    ทานะปาระมี สัมปันโน
    ทานะอุปะปาระมี สัมปันโน
    ทานะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    ศีละปาระมี สัมปันโน
    ศีละอุปะปาระมี สัมปันโน
    ศีละปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    เนกขัมมะปาระมี สัมปันโน
    เขกขัมมะอุปะปาระมี สัมปันโน
    เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    ปัญญาปาระมี สัมปันโน
    ปัญญาอุปะปาระมี สัมปันโน
    ปัญญาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    วิริยะปาระมี สัมปันโน
    วิริยะอุปะปาระมี สัมปันโน
    วิริยะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    ขันติปาระมี สัมปันโน
    ขันติอุปะปาระมี สัมปันโน
    ขันติปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    อธิฐานะปาระมี สัมปันโน
    อธิฐานะอุปะปาระมี สัมปันโน
    อธิฐานะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    สัจจะปาระมี สัมปันโน
    สัจจะอุปะปาระมี สัมปันโน
    สัจจะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    เมตตาปาระมี สัมปันโน
    เมตตาอุปะปาระมี สัมปันโน
    เมตตาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

    ๑๐
    อุเบกขาปาระมี สัมปันโน
    อุเบกขาอุปะปาระมี สัมปันโน
    อุเบกขาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

    ทะสะปาระมี สัมปันโน
    ทะสะอุปะปาระมี สัมปันโน
    ทะสะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    นะมามิหัง


    (ต่อด้วยบท)

    พระคาถาชินบัญชรสูตร
    ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) วัดระฆังโฆสิตาราม

    <O:p
    ๑. ชินะสะรากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง<O:p</O:p
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา<O:p</O:p

    ๒. ตัณหังกะราทะโญ พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา<O:p</O:p
    สัพเพ ปะติฏฐิโต มัยหัง มัตถะเก เต มะนุสสะรา<O:p</O:p

    ๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน<O:p</O:p
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร<O:p</O:p

    ๔. หะทะเย อะนุรุทโธ จะ สาริปุตโต จะ ทักขิเณ<O:p</O:p
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก<O:p</O:p

    ๕. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา <O:p</O:p
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อาภาสุง วามะโสตถะเก<O:p</O:p

    ๖. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร<O:p</O:p
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภีโต มุนีปุงคะโล<O:p</O:p

    ๗. กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก<O:p</O:p
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร<O:p</O:p

    ๘. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี<O:p</O:p
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ<O:p</O:p

    ๙. เสสาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา<O:p</O:p
    ชะวันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา <O:p</O:p

    ๑๐. ระตะนัง ปุเรโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง<O:p</O:p
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง<O:p</O:p

    ๑๑. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง<O:p</O:p
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะลังกะตัง<O:p</O:p

    ๑๒. ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตะปาการะลังกะตา<O:p</O:p
    วาตาปิตตะทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา<O:p</O:p

    ๑๓. อะเสสา วิญญัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา<O:p</O:p
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร<O:p</O:p

    ๑๔. ชินะปัญขะระมัชเฌหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล<O:p</O:p
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา<O:p</O:p

    ๑๕. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข<O:p</O:p
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว<O:p</O:p
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ<O:p</O:p
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะรีโย<O:p</O:p
    สัทธัมมานุภาวะ ปาลีโต จะรามิ ชินะปัญชะเรตีติ.


    (ต่อด้วยบท)


    กะระณียะเมตตะสุตตัง<O:p</O:p

    กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ<O:p</O:p
    สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี<O:p</O:p
    สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ<O:p</O:p
    สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ<O:p</O:p
    นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง<O:p</O:p
    สุขิโน วา เขมิโน โหตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา <O:p</O:p

    เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา<O:p</O:p
    ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิยา รัสสะกา อะณุกะถูลา<O:p</O:p
    ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร<O:p</O:p
    ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา<O:p</O:p
    นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ<O:p</O:p
    พยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ<O:p</O:p
    มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข<O:p</O:p
    เอวัมปิ สัพพะภุเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง<O:p</O:p
    เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง<O:p</O:p
    อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง<O:p</O:p
    ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ<O:p</O:p
    เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ<O:p</O:p
    ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน <O:p</O:p
    กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ ฯ

    ( ต่อด้วย บท กรวดน้ำ )

    กรวดน้ำอิมินา<O:p</O:p
    (นำ) หันทะ มะยัง อุททิงสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ<O:p</O:p
    (รับ) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา<O:p</O:p
    อาจริยูปะการา จะ มาตาปิตา จะ ญาตะกา (ปิยา มะมัง)<O:p</O:p
    สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ<O:p</O:p
    พรัหมะมารา จะ อินทา จะ<SUP>๑</SUP> โลกะปาลา จะ เทวะตา<O:p</O:p
    ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ<O:p</O:p
    สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม<O:p</O:p
    สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง ฯ<O:p</O:p
    อิมินา ปุญญากัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ<O:p</O:p
    ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปานทานะเฉทะนัง<O:p</O:p
    เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง<O:p</O:p
    นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว<O:p</O:p
    อุชุจิตตัง สะติปัญญา สัลเลโข วิริยัมหินา<O:p</O:p
    มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วิริเยสุ เม<O:p</O:p
    พุทธาทิปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม <O:p</O:p
    นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง<O:p</O:p
    เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ

     
  5. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,342
    ค่าพลัง:
    +6,849
    ทีนี้ เมื่อกรวดน้ำเสร็จแล้ว

    ให้นึกเห็นหน้าตัวเอง ลอยอยู่ตรงหน้า
    แล้วก็ ค่อยๆนึกแบบว่า เอามีดกรีดหนังที่หุ้มหน้าเรา
    เซาะออกทีละนิดละน้อยตั้งแต่ หน้าผาก เลาะหนังที่หน้าผาก
    แล้วก็ลงมาแก้มสองข้างจนครบทั้งใบหน้า
    ก็จะเห็นแต่เนื้อแดงมีเลือดซึมๆกับ ลูกกะตา
    โครงจมูก และ เหงือก ฟัน จากนั้นก็ค่อยๆ แคะลูกกะตาออกทีละข้าง
    ก็จะเริ่มเห็นเบ้าโบ๋ๆ แล้วก็ปาดจมูกออก เลาะกล้ามเนื้อที่ใบหน้าออก
    ที่แก้มทั้งสองข้างลงมาคาง ก็จะเริ่มเห็นโครงกระดูกที่โหนกแก้ม
    เลาะกล้ามเนื้อจนครบทั่วใบหน้า

    เมื่อเอากล้ามเนื้อ รอบหน้าออกหมด ทั้งหน้าผาก แก้ม เบ้าตา จมูก คาง ปาก
    ก็จะเห็นแต่โครงหัวกระโหลก ลอยอยู่ ตรงหน้า จากนั้นนึกประกอบกล้ามเนื้อเข้าไปคืน
    จากนั้นก็หุ้มหนัง ใส่ลูกกะตา ให้เป็นแบบเดิม เหมือนที่ตอนนึกแรกๆ
    จากนั้นก็ค่อยหายใจเข้า-ออก ลึกๆ ยาวๆซัก 4-5 ครั้ง แล้วค่อยๆลืมตา

    แล้วก็พนมมือ กล่าวว่า ขออุทิศบุญนี้ให้กับครูอาจารย์ ผู้มีพระคุณ นายเวรทุกท่าน
    ท่านที่ได้ทุกข์ขอให้พ้นจากทุกข์ ท่านที่ได้สุขขอให้ได้สุขยิ่งๆขึ้นไป


    จากนั้นก็หลับตาตั้งใหม่ เหมือน สีน้ำเงินอีก 4 รอบ จนครบ 5รอบ
    จากนั้นก็อุทิศบุญ กรวดน้ำ แล้วก็ ตามระเบียบพัก

    การทำแบบนี้ ควรทำติดต่ออย่างต่อเนื่อง 7 วัน
    สมมุติว่า เราตั้งไว้ที่ 7วัน แต่เราทำไม่ครบ 7
    เช่นทำไปได้ครบ 6 วัน แต่วันที่ 7ไม่ได้ทำ ก็ให้เริ่มนับใหม่
    จนกว่าจะต่อเนื่องครบ 7วัน
    ตั้งครั้งละ 7วัน

    สู้มั๊ยครับ ง่ายๆเน๊าะ^^
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 มกราคม 2012
  6. นราสภา

    นราสภา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    1,964
    ค่าพลัง:
    +359
    อ่านเเล้ว

    ถ้าทําเป็นการบ้าน ทําให้เหมือนเป็น รายงานรูปเล่ม ส่งให้พี่ วิษณุ ทางโทรจิตได้ยิ่งดี เพราะเเกชอบ สั่งงานเพื่อรู้ สั่งครู เพื่อศิษ


    อนุโมทนาจ๊าาาาาาาาาาาาาาาาาา

    (deejai)(deejai)(deejai)(deejai)
     
  7. กสิน9

    กสิน9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    322
    ค่าพลัง:
    +270
    กราบ 5ครั้งหรือจะสู้กราบ 7ครั้ง แล้วจำเป็นมากกว่าการกราบ 3ครั้งหรือ

    <TABLE border=0 width=1016 align=center><TBODY><TR><TD></TD><TD></TD><TD></TD><TD></TD><TD></TD></TR><TR><TD></TD><TD></TD><TD></TD><TD></TD><TD></TD></TR><TR><TD></TD><TD bgColor=#0000ff></TD><TD bgColor=#cee1ff>การกราบพระเจ็ดครั้ง (หลวงปู่เทพโลกอุดรเมตตาสอนข้าพเจ้า)





    </TD><TD bgColor=#0000ff></TD><TD></TD></TR><TR><TD width=84></TD><TD bgColor=#0000ff width=17></TD><TD bgColor=#e8ffc4 width=821>
    [​IMG]




    </TD><TD bgColor=#0000ff width=19></TD><TD width=41></TD></TR><TR><TD>


    </TD><TD bgColor=#0000ff></TD><TD bgColor=#ffffff>
    การกราบพระเจ็ดครั้งนี้ ส่งมาจากพระเมตตาจากพระเบื้องบนท่านช่วยแนะวิธีให้ ผ่านมาทาง ท่าน อ.คุณแม่เกษรอีกที แต่ข้าพเจ้า ก็เคยอ่านเจอในตำราของ สมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ท่านบอกว่า คนเมืองทิพย์เขากราบพระกันเจ็ดครั้ง.. แต่ท่านไม่ได้อธิบายต่อว่าอย่างใด มีเพียงท่าน อ.คุณแม่เกษร เท่านั้นที่กล้าเปิดเผยเรื่องจริงและบุญใหญ่ครั้งนี้ให้เหล่าญาติพี่น้องให้รับทราบโดยทั่วกัน จะได้นอบน้อมโมทนาบุญการกราบพระเจ็ดครั้ง ในที่นี่ด้วย
    ในส่วนของข้าพเจ้า มีอยู่คืนนึงได้นิมิตเห็นหลวงปู่ใหญ่เทพโลกอุดร มาหาและท่านก็เมตตา แสดงตนในรูปกายคนต่าง ๆ ให้ดู เช่น เป็นรูปพระ รูปเณร รูปคนแก่ คนหนุ่ม เด็ก และอื่น ๆ อย่างรวดเร็ว และมาหยุดอยู่ที่รูปของพระสงฆ์รูปร่างสูงใหญ่หน้าตาอิ่มเอิบด้วยความเมตตา และท่านได้บอกว่า สามารถจะแปลงกายเป็นแบบไหนก็ได้ เพื่อที่จะไปสอนธรรมะ สอนกรรมฐานคนตามความเหมาะสมของคนที่เข้าถึงธรรมกับสถานการณ์นั้น ๆ
    ส่วนการกราบพระเจ็ดครั้งนั้น หลวงปู่ใหญ่ท่านบอกกับข้าพเจ้าว่า “ลูกจะไม่บอกคนอื่นถึงวิธีการกราบพระเจ็ดครั้งด้วยหรือ ? “ ข้าพเจ้าก็ตอบหลวงปู่ไปว่าการกราบ 7 ครั้งของคุณแม่เกษรนั้นก็ดีมากอยู่แล้ว และพี่น้องญาติธรรมก็มีวิธีการกราบที่ดีอยุ่แล้วเช่นกัน แต่ลูกอาจเพิ่มเติมด้วยการขอบารมีพระ ตอนนั้นข้าพเจ้าได้แต่นึกว่า จะกราบแบบไหนก็ได้ ใครเคยกราบ 3 ครั้งก็กราบไป ใครเคยกราบ 5 ครั้ง (กราบพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ก็กราบไป ) จะกราบวิธีใดก็ได้ทั้งนั้น และวิธีการกราบของญาติธรรมก็ดีทั้งนั้น ขอแค่จิตถึงพระ ก็เลยไม่ได้คิดอะไร ก็ได้แต่รับปากท่านไว้แต่ก็ไม่ได้เขียนสักที ทำให้นึกเห็นแต่ภาพหลวงปู่ในนิมิต ข้าพเจ้าจึงได้นำบุญการกราบพระตรงนี้มาบอกต่อกับคณะศรัทธาทั้งหลายได้รับทราบกัน
    ข้าพเจ้าจึงขออนุญาตนำวิธีการกราบพระเจ็ดครั้ง ตามคำสอนของหลวงปู่เทพโลกอุดร และเรียบเรียงเสริมใหม่ ดังต่อไปนี้

    กราบครั้งที่ 1 ลูกขอกราบคุณพระบรมธรรมบิดา
    ขอพระองค์ได้โปรดเมตตาประทานแสงทิพย์และให้ลูกฝากจิตไว้กับพระองค์ตลอดเวลา

    *กราบครั้งที่ 2 ลูกหลานไหว้คุณพระพุทธ ขอให้ลูกศิษย์หลานธรรมให้รู้แจ่มแจ้งในคำสอนของพระพุทธเจ้าทุกคำ

    *กราบครั้งที่ 3 ลูกหลานไหว้คุณพระธรรม ขอให้ลูกศิษย์หลานธรรมบรรลุธรรมแจ่มแจ้งเหมือนดังพระพุทธองค์

    *กราบครั้งที่ 4 ลูกหลานไหว้คุณพระสงฆ์ ขอให้ลูกศิษย์หลานธรรมให้เจริญก้าวหน้าด้วยบุญศีลกินทานอย่าได้มีมารมาผจญอย่าได้มีคนมาอิจฉาบังเบียด

    กราบครั้งที่ 5 ลูกหลานไหว้คุณบิดามารดา ขอคุณพ่อคุณแม่ปกป้องคุ้มครองลูกหลานให้ปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวง

    กราบครั้งที่ 6 ลูกหลานไหว้คุณครูบาอาจารย์ ลูกขอพบพานแต่ความดีมีปัญญาฉลาดทั้งโลกและทางธรรม

    กราบครั้งที่ 7 ลูกหลานไหว้คุณเทพไท้เทวาและผู้มีพระคุณทุกท่าน ขอทุกท่านอวพรให้ลูกประสบความสมมาตรปรารถนา ขอนอบน้อมโมทนาบุญคุณความดีทั้งหมดด้วยพลังแสงทิพย์นิพพาน

    ขอคุณงามความดีทั้งหมดที่ลูกได้โมทนาบารมีด้วยพลังแสงทิพย์อริยธรรมคลุมจิตลูกให้สว่างไสวนำทางสู่พระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้เทอญ สาธุ สาธุ สาธุ



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  8. กสิน9

    กสิน9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    322
    ค่าพลัง:
    +270
    อีกหน่อยคงมีการกราบ10ครั้งหรือมากกว่านั้น ทุกวันนี้นับว่ามันเพี้ยน ๆเอาการอยู่ ผิดหลักคำสั่งสอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าขึ้นทุกวัน คำว่าพระ รัตนตรัย อาจจะโดนเปลี่ยนเป็น พระรัตนเบญจะ พระรัตนทศษะ โอย ปวดหัว แยกให้ออก กราบ 3 ครั้งดังเดิม พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งก็ครอบคุมทั้งจักวารแล้ว
     
  9. LiveEarth

    LiveEarth Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    379
    ค่าพลัง:
    +25
    ขอบคุณมากครับ พี่วิษณุ12 พี่วิษณุ12 ครับ การฝึกแบบนี้เป็นการฝึกแบบไหนครับ คือผมไม่ทราบจริงๆครับ ผมขออนุโมทนากับความรู้ที่สอนผมครั้งนี้ด้วยครับ ^^
     
  10. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,342
    ค่าพลัง:
    +6,849
    ก็เป็นการฝึกเพื่อ สร้าง สติ สัมปชัญญะ ปัญญา เพื่อพาพ้นทุกข์ครับ^^
     

แชร์หน้านี้

Loading...