สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ปฏิจจวาร

ในห้อง 'พระไตรปิฎก เสียงอ่าน' ตั้งกระทู้โดย vilawan, 3 พฤษภาคม 2011.

  1. vilawan

    vilawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    836
    ค่าพลัง:
    +1,432
    สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ<O:p</O:p


    ปฏิจจวาร
    <O:p</O:p

    [๔๔๕]สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม <O:p</O:p
    อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ <O:p</O:p
    ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม <O:p</O:p
    เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ <O:p</O:p
    จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ปฏิสนธิ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม <O:p</O:p
    เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม <O:p</O:p
    อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
    อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    สัญญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรมและ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ <O:p</O:p
    ขันธ์๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    และมหาภูตรูปทั้งหลาย
    จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม <O:p</O:p
    อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย<O:p</O:p
    อุทธัจจะ และ โมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
    <O:p</O:p
    [๔๔๖]สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต
    ด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ และ โมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และ<O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    [๔๔๗]สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๑ นัย<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย<O:p</O:p
    คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม
    และมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ
    <O:p</O:p
    [๔๔๘]
    ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙<O:p</O:p
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๖<O:p</O:p
    ในอธิปติปัจจัย มี " ๕<O:p</O:p
    ในอนันตรปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในสมนันตรปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในสหชาตปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในอัญญมัญญปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในนิสสยปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในอุปนิสสยปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในปุเรชาตปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในอาเสวนปัจจัยมี " ๖
    ในกัมมปัจจัยมี " ๙<O:p
    ในวิปากปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในอาหารปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในอินทริยปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในฌานปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในมัคคปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในสัมปยุตตปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในวิปปยุตตปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๙<O:p</O:p
    ในอัตถิปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในนัตถิปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในวิคตปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในอวิคตปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    [๔๔๙]สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย<O:p</O:p
    วิจิกิจฉา<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ<O:p</O:p
    ตลอดถึงอสัญญสัตว์
    <O:p</O:p
    [๔๕๐]ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัยมี " ๓<O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัยมี " ๗<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัยมี " ๔<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัยมี " ๓
    <O:p</O:p
    [๔๕๑]ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยกับเหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๖<O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัยกับ ฯลฯ มี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัยกับ ฯลฯมีหัวข้อปัจจัย ๔<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๓
    <O:p</O:p<O:p</O:p
    [๔๕๒]ในอารัมมณปัจจัยกับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๓<O:p</O:p
    ในวิปากปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๑<O:p</O:p
    ในอาหารปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๓<O:p</O:p
    ในมัคคปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๒<O:p</O:p
    ในอวิคตปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๓<O:p</O:p

    แม้สหชาตวาร ก็เหมือนกับ ปฏิจจวาร<O:p</O:p

    [MUSIC]http://audio.palungjit.org/attachment.php?attachmentid=62306[/MUSIC]<O:p</O:p
     
  2. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,159
    ค่าพลัง:
    +19,884
    อนุโมทนากับน้องบีที่เข้าร่วมอ่าน และช่วยอ่านจนเสร็จก่อนเวลาที่กำหนด

    สาธุๆๆ
     
  3. wvichakorn

    wvichakorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    3,662
    ค่าพลัง:
    +9,236
    [​IMG]


    ขออนุโมทนาค่ะ



     

แชร์หน้านี้

Loading...