ส่องดู... ความงามเล็กๆ จากกล้องจุลทรรศน์

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย สังขารไม่เที่ยง, 1 พฤศจิกายน 2010.

  1. สังขารไม่เที่ยง

    สังขารไม่เที่ยง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    5,943
    ค่าพลัง:
    +24,697
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ส่องดู... ความงามเล็กๆ จากกล้องจุลทรรศน์</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>1 พฤศจิกายน 2553 14:30 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; OVERFLOW: hidden; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; BORDER-BOTTOM: medium none; HEIGHT: 35px" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9530000153786&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 scrolling=no allowTransparency></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ผลงานจากการประกวดภาพถ่ายสิ่งเล็กๆ "สมอลล์ เวิล์ด โฟโตไมโครกราฟี คอมเพติชัน" (Small World Photomicrography Competition) มี "นิคอน" (Nikon) เป็นผู้สนับสนุนหลัก ได้ภาพที่ชนะเลิศประจำปี 2010 นี้แล้ว เป็นภาพบันทึกสิ่งมีชีวตและสิ่งต่างๆ ใกล้ตัว แต่เราไม่สามารถมองเห็นกันได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เทคนิคการบันทึกภาพจากกล้องจุลทรรศน์ ความล้ำสมัยของเทคโนโลยี และจินตนาการของผู้ถ่ายทำให้เรามีโอกาสได้เห็นความงามแบบจิ๋วได้อย่างไม่ยาก "ยาฮูกรีน" ได้คัดเลือกภาพส่วนหนึ่งมานำเสนอ


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>Cancer (Photo: Dr. Paul D. Andrews, University of Dundee, Scotland)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> มะเร็ง (Cancer)

    ภาพเซลล์มะเร็งในมนุษย์ ทั้ง 2 เซลล์กำลังแบ่งตัว ทั้งคู่เป็น "เซลล์เฮลา" (HeLa) เซลล์ไลน์มนุษย์ชุดแรกที่สามารถเลี้ยงไว้ได้นอกร่างกายมนุษย์ ซึ่งเป็นเซลล์มะเร็งที่แยกออกมาจากเฮนรีตตา แลคส์ (Henrietta Lacks) ผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกในปี 1951 ความสำเร็จของการเลี้ยงเซลล์เฮลาส่งผลให้เกิดผลงานวิจัยทางการแพทย์ตามมาเป็นจำนวนมาก


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>Mollusc baby (Photo: Dr. Gregory Rouse, Scripps Institution of Oceanography, California, U.S.)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>เบบี้หอย (Mollusc baby)

    ดร.เกรกอรี เราซ์ นักชีววิทยาทางทะเล นำพาความสวยงามจากห้วงทะเลลึก ทารกหอยสองฝาตัวนี้อยู่ในวงศ์ลิมิเดีย (Limidae family) ขณะที่บันทึกภาพมันก็ว่ายไปมาโดยใช้ฝาทั้ง 2 ข้างกระทบกัน เหมือนหอยเชลล์.


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>Soap film (Photo: Gerd Guenther, Dusseldorf, Germany)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ฟองสบู่ (Soap film)

    เรามองเห็นฟองสบู่ด้วยตาเปล่าได้ แต่ความเข้มของสีสันที่อยู่ในฟองสบู่เมื่อมองผ่านกล้องจุลทรรศน์นั้นสวยกว่ามากมาย ภาพนี้ต้องรีบบันทึกก่อนที่ฟองสบู่จะแตก ผู้ที่ถ่ายคือเกิร์ด กุนเธอร์ เขาทำเกษตรอินทรีย์อยู๋ในเยอรมนี หนึ่งในงานของเขาคือการบันทึกภาพต้นไม้แบบละเอียดเพื่อศึกษาดูแล และเพื่อความบันเทิงแถมมาด้วย


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>Soy sauce (Photo: Yanping Wang, Beijing Planetarium, China)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ซีอิ้ว (Soy sauce)

    ภาพโดยยานปิง หวัง เธอเป็นนักเขียนบท แต่พอได้เห็นเกล็ดหิมะจากกล้องจุลทรรศน์ เธอก็มีงานอดิเรกเป็นการถ่ายภาพสิ่งเล็กๆ ส่วนภาพนี้เป็นผลึกคริสตัลของซอสถั่วเหลือง ซึ่งหวังประทับใจเพราะในผลึกที่เห็นมีลักษณะคล้ายใบหน้ามนุษย์


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>Wasp eye (Photo: Charles Krebs, Washington, U.S.)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ตาต่อ (Wasp eye)

    ภาพขยาย 40เท่าของดวงตาตัวต่อชิ้นนี้ บันทึกโดยชาร์ส เครบส์ เขาเป็นช่างภาพมืออาชีพ ที่เชี่ยวชาญในการถ่ายภาพแมลงตัวเล็กๆ

    ถ้าใครสนใจชมภาพสิ่งเล็กๆ ผ่านกล้องจุลทรรศน์สวยๆ พร้อมรายละเอียดเทคนิคการบันทึกภาพแต่ละภาพเพิ่มเติม แวะไปได้ที่ nikonsmallworld.com


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    Science - Manager Online - ��ͧ��... ������������ �ҡ���ͧ��ŷ��ȹ�
     
  2. น้ำดี1

    น้ำดี1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    13,402
    ค่าพลัง:
    +43,432
    งดงามจริง ๆ อย่างที่บอกเลยค่ะ
     
  3. อิติปิโส_ภควา

    อิติปิโส_ภควา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    199
    ค่าพลัง:
    +242
    บางภาพก็สวย บางภาพก็น่ากลัว แต่ภาพเซลล์มะเร็งสวยงามมาก
     

แชร์หน้านี้

Loading...