หนังสือ โครงสร้างพระไตรปิฏก

ในห้อง 'พระไตรปิฎก' ตั้งกระทู้โดย WebSnow, 9 มกราคม 2005.

  1. WebSnow

    WebSnow ผู้ก่อตั้งเว็บพลังจิต ทีมงาน Administrator

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2003
    โพสต์:
    8,687
    กระทู้เรื่องเด่น:
    129
    ค่าพลัง:
    +64,012
    อันนี้ที่ PPP ส่งมาให้ ผมเอามาให้ดูเป็นส่วนหนึ่งนะครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Image1.jpg
      Image1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      277.7 KB
      เปิดดู:
      1,757
    • Image2.jpg
      Image2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      127.6 KB
      เปิดดู:
      6,181
    • Image3.jpg
      Image3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      89 KB
      เปิดดู:
      4,856
    • Image4.jpg
      Image4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      107.9 KB
      เปิดดู:
      1,356
    • Image5.jpg
      Image5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      81 KB
      เปิดดู:
      1,798
    • Image6.jpg
      Image6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      124.3 KB
      เปิดดู:
      3,237
  2. khunsri1972

    khunsri1972 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    203
    ค่าพลัง:
    +924
    กำลังสงสัยอยู่พอดีเลยค่ะ
     
  3. PPP

    PPP เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2004
    โพสต์:
    587
    ค่าพลัง:
    +626
    มีเหลืออีกเล่มคะ ถ้าคุณ ขุนศรี อยากอ่าน จะส่งไปให้ก้ได้คะ
     
  4. chanin

    chanin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 เมษายน 2005
    โพสต์:
    675
    ค่าพลัง:
    +1,331


    เปิดตู้พระไตรปิฎก

    ความนำ
    [​IMG]ตั้งแต่อดีตกาลมาแล้ว พุทธศาสนิกชนชาวไทยนิยมสร้างพระไตรปิฎกพร้อมตู้ใส่พระไตรปิฎกนำไปถวายวัด เพื่อให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษาเล่าเรียนสืบอายุพระพุทธศาสนา เพราะเชื่อว่าพระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคทรงสั่งสอนไว้ ทรงบัญญัติไว้ ณ โอกาสต่าง ๆ ได้มีการสังคายนารวบรวมไว้ในพระไตรปิฎก ฉะนั้น ตราบใดที่ยังมีการศึกษา ทรงจำ ปฏิบัติตามจนได้ผล และนำออกเผยแพร่แก่ประชาชนตามที่ตนได้ศึกษามาจากพระไตรปิฎก ตราบนั้นพระพุทธศาสนาก็ยังเจริญดำรงมั่นคงอยู่ได้ ไม่มีศัตรูใด ๆ มาทำลายได้ ในทางตรงกันข้าม ถ้าทอดทิ้งพระไตรปิฎก สิ่งที่ศึกษาทรงจำและปฏิบัติตามก็จะผิดเพี้ยนเคลื่อนคลาดไปจากหลักคำสอนเดิมของพระพุทธองค์ ซึ่งส่งผลให้มีทรรศนะแตกแยกเป็นฝักฝ่ายจนแตกสามัคคี เกิดเป็นลัทธินิกายต่าง ๆ ขึ้นในที่สุด พระพุทธศาสนาก็ถึงกาลอวสานอันตรธานไป การสร้างพระไตรปิฎกจึงมีผลมากมีอานิสงส์มาก ดังพระพุทธภาษิตที่ว่า สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาต (ธรรมทานย่อมชนะทานทั้งปวง)
    [​IMG]แต่มีวัดอยู่จำนวนไม่น้อยเก็บรักษาพระไตรปิฎกไว้อย่างหวงแหน ไม่ยอมให้เปิดตู้พระไตรปิฎกเลย โดยมีเหตุผลว่า พระไตรปิฎกเป็นคัมภีร์หลักของพระพุทธศาสนาต้องรักษาไว้อย่าให้เสียหาย หายแล้วกว่าจะมีผู้มีจิตศรัทธาแรงกล้าซื้อมา ถวายอีกก็คงนานปีทีเดียว หรือบางวัดอาจมีเหตุผลว่า ถึงเปิดตู้พระไตรปิฎกให้อ่านกัน ก็อ่านไม่รู้เรื่อง ต้องรอให้มีผู้เชี่ยวชาญแตกฉานในพระไตรปิฎกมาแนะนำก่อน ดังนี้เป็นต้น จึงปิดตู้พระไตรปิฎกใส่กุญแจไว้ จนบางรายกลายเป็นอาหารของปลวกไปก็มี
    [​IMG]บัดนี้ เรามีพระไตรปิฎกภาษาไทยให้เลือกอ่านได้หลายฉบับ โดยเฉพาะฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีลักษณะพิเศษหลายอย่าง น่าจะแก้ปัญหาเรื่องอ่านไม่รู้เรื่องไปได้ จึงขอแนะนำให้หาอ่านฉบับนี้ ถ้าท่านมีพระไตรปิฎก(ฉบับมหา จุฬา)ไว้ในครอบครองไม่ควรปล่อยให้เรื่องทำนองนี้เกิดขึ้นเลย ขอให้เปิดตู้พระไตรปิฎกออกอ่านเถิด แล้วท่านจะได้ความรู้ เรื่องพระไตรปิฎกอย่างคุ้มค่าทีเดียว



    คำว่าพระไตรปิฎก
    [​IMG]เมื่อท่านเปิดตู้พระไตรปิฎกออก ภาพที่ท่านเห็นคือคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาชุดหนึ่ง มีจำนวน ๔๕ เล่ม วางเรียงรายกันไปตามลำดับหมายเลขบอกเล่มที่พิมพ์ไว้บนสันปก ตั้งแต่เล่มที่ ๑ เรื่อยไปจนถึงเล่มที่ ๔๕ แบ่งเป็น ๓ หมวด คือ เล่ม ที่ ๑ - ๘ เป็นหมวดที่ ๑ เรียกว่า พระวินัยปิฎก (หมวดพระวินัย) เล่มที่ ๙ - ๓๓ เป็นหมวดที่ ๒ เรียกว่า พระสุตตันตปิฎก (หมวดพระสูตร) และเล่มที่ ๓๔ - ๔๕ เป็นหมวดที่ ๓ เรียกว่า พระอภิธรรมปิฎก (หมวดพระอภิธรรม) รวม ๓ หมวดนี้ แหละที่เรียกชื่อรวมว่า พระไตรปิฎก (ไตร แปลว่า ๓ ปิฎก แปลว่า ตระกร้า ในที่นี้หมายถึงหมวด)


    ชื่อคัมภีร์ในพระวินัยปิฎก
    พระวินัยปิฎกมี ๕ คัมภีร์ แบ่งเป็น ๘ เล่ม มีชื่อ ดังนี้



    <TABLE class=t borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=1 width=450 align=center border=1><TBODY><TR borderColor=#e1e1e1 bgColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="18%">
    พระวินัยปิฎก
    เล่มที่

    </TD><TD vAlign=center width="62%">
    ชื่อคัมภีร์
    </TD><TD vAlign=center width="20%">
    เป็นพระไตรปิฎกเล่มที่
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="18%">

    </TD><TD vAlign=top width="62%">พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) ภาค ๑

    </TD><TD vAlign=top width="20%">

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="18%">

    </TD><TD vAlign=top width="62%">พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ (ภิกขุวิภังค์) ภาค ๒

    </TD><TD vAlign=top width="20%">

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="18%">

    </TD><TD vAlign=top width="62%">พระวินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์

    </TD><TD vAlign=top width="20%">

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="18%">

    </TD><TD vAlign=top width="62%">พระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑

    </TD><TD vAlign=top width="20%">

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="18%">

    </TD><TD vAlign=top width="62%">พระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒

    </TD><TD vAlign=top width="20%">

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="18%">

    </TD><TD vAlign=top width="62%">พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค ๑

    </TD><TD vAlign=top width="20%">

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="18%">

    </TD><TD vAlign=top width="62%">พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค ๒

    </TD><TD vAlign=top width="20%">

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="18%">

    </TD><TD vAlign=top width="62%">พระวินัยปิฎก ปริวาร

    </TD><TD vAlign=top width="20%">

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ชื่อคัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก
    พระสุตตันตปิฎก มี ๓๗ คัมภีร์ แบ่งเป็น ๒๕ เล่ม มีชื่อดังนี้



    <TABLE class=t borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=1 width=450 align=center border=1><TBODY><TR borderColor=#e1e1e1 bgColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    พระสุตตันตปิฎก
    เล่มที่

    </TD><TD vAlign=center borderColor=#e1e1e1 width="64%">
    ชื่อคัมภีร์
    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    เป็นพระไตรปิฎก
    เล่มที่

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">๑. ทีฆนิกาย มี ๓ คัมภีร์ แบ่งเป็น ๓ เล่ม

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค

    </TD><TD vAlign=top width="20%">

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">ทีฆนิกาย มหาวรรค

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๐
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๑
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">๒. มัชฌิมนิกาย มี ๓ คัมภีร์ แบ่งเป็น ๓ เล่ม

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๒
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๓
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๔
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">๓. สังยุตตนิกาย มี ๕ คัมภีร์ แบ่งเป็น ๕ เล่ม

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">สังยุตตนิกาย สคาถวรรค

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๕
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">สังยุตตนิกาย นิทานวรรค

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๖
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๗
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๐
    </TD><TD vAlign=top width="64%">สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๘
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๑
    </TD><TD vAlign=top width="64%">สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๑๙
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">๔. อังคุตตรนิกาย มี ๑๑ คัมภีร์ แบ่งเป็น ๕ เล่ม

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๒
    </TD><TD vAlign=top width="64%">อังคุตตรนิกาย เอกก - ทุก - ติกนิบาต

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๐
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๓
    </TD><TD vAlign=top width="64%">อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๑
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๔
    </TD><TD vAlign=top width="64%">อังคุตตรนิกาย ปัญจก - ฉักกนิบาต

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๒
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๖
    </TD><TD vAlign=top width="64%">อังคุตตรนิกาย สัตตก - อัฏฐก - นวกนิบาต

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๓
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๗
    </TD><TD vAlign=top width="64%">อังคุตตรนิกาย ทสก - เอกาทสกนิบาต

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๔
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE class=t borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=1 width=450 align=center border=1><TBODY><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%" bgColor=#e1e1e1>
    พระสุตตันตปิฎก
    เล่มที่

    </TD><TD vAlign=top width="64%" bgColor=#e1e1e1>
    ชื่อคัมภีร์
    </TD><TD vAlign=top width="20%" bgColor=#e1e1e1>
    เป็นพระไตรปิฎก
    เล่มที่

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">๕. ขุททกนิกาย มี ๑๕ คัมภีร์ แบ่งเป็น ๙ เล่ม

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๗
    </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย ธรรมบท

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย อุทาน

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๕
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย สุตตนิบาต

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๘
    </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย เปตวัตถุ

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๖
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย เถรคาถา

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย เถรีคาถา

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๙
    </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย ชาตกะ ภาค ๑

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๗
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๒๐
    </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย ชาตกะ ภาค ๒

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๘
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๒๑
    </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย มหานิทเทส

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๒๙
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๒๒
    </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๓๐
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๒๓
    </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๓๑
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%" height=22>
    ๒๔
    </TD><TD vAlign=top width="64%" height=22>ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑

    </TD><TD vAlign=top width="20%" height=22>
    ๓๒
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๒๕
    </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย พุทธวงศ์

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๓๓
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">ขุททกนิกาย จริยาปิฎก

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ชื่อคัมภีร์ในพระอภิธรรมปิฎก
    พระอภิธรรมปิฎก มี ๗ คัมภีร์ แบ่งเป็น ๑๒ เล่ม มีชื่อดังนี้



    <TABLE class=t borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=1 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR borderColor=#e1e1e1 bgColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    พระอภิธรรมปิฎก
    เล่มที่

    </TD><TD vAlign=center borderColor=#e1e1e1 width="64%">
    ชื่อคัมภีร์
    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    เป็นพระไตรปิฎก
    เล่มที่

    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๓๔
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๓๕
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๓๖
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%"> </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ปุคคลบัญญัติ

    </TD><TD vAlign=top width="20%"> </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๓๗
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ยมก ภาค ๑

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๓๘
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ยมก ภาค ๒

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๓๙
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๑

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๔๐
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๒

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๔๑
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">

    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๓

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๔๒
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๐
    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๔

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๔๓
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๑
    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๕

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๔๔
    </TD></TR><TR borderColor=#e1e1e1><TD vAlign=top width="16%">
    ๑๒
    </TD><TD vAlign=top width="64%">พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค ๖

    </TD><TD vAlign=top width="20%">
    ๔๕
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    เนื้อหาโดยสังเขปของพระไตรปิฎก
    เนื้อหาโดยสังเขปของพระวินัยปิฎก

    [​IMG]พระวินัยปิฎก คือประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระวินัยที่ว่าด้วยพระพุทธ-บัญญัติเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติ ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิต และวิธีดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ แบ่งออกเป็น ๓ หมวด คือ (๑) หมวดวิภังค์ (๒) หมวดขันธกะ (๓) หมวดปริวาร แต่ละหมวดมีเนื้อหาโดยสังเขป ดังนี้
    [​IMG]๑. หมวดวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบท หรือบทบัญญัติที่มาในพระปาติโมกข์ ซึ่งเรียกว่า อาทิพรหมจริยกาสิกขา แบ่งเป็น ๒ คัมภีร์ คือ (๑) มหาวิภังค์ หรือ ภิกขุวิภังค์ (ภาค ๑ - ๒) ว่าด้วยศีลของภิกษุสงฆ์ (มี ๒๒๗ ข้อ) (๒) ภิกขุนีวิภังค์ ว่าด้วยศีลของภิกษุณีสงฆ์ (มี ๓๑๑ ข้อ)
    [​IMG]๒. หมวดขันธกะ ว่าด้วยสังฆกรรม พิธีกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ข้อวัตรปฏิบัติ วิถีชีวิต ตลอดจนมารยาทที่ดีงาม เป็นต้น ซึ่งเรียกว่า
     
  5. Toutou

    Toutou เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2005
    โพสต์:
    1,455
    ค่าพลัง:
    +8,107
    แผนผังพระไตรปิฎก

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. mw user

    mw user เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    70
    ค่าพลัง:
    +177
    ภาพสวยมาก
    ถึงแม้จะดูตามท่าน แล้วจะเวียนหัวมากก็ตาม:cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...