หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน

ในห้อง 'หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 13 มิถุนายน 2010.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    [​IMG]
    หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล


    เร่งความเพียรเต็มกำลัง

    ที่บ้านนามน อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เป็นพรรษาที่ 2 ของการไปศึกษาอยู่กับท่านอาจารย์มั่น ภูริทัตโต และนับเป็นพรรษาที่ 10 ของการบวช ท่านเริ่มหักโหมความเพียรมาตั้งแต่เดือนเมษายนก่อนเข้าพรรษาปีนี้ หลังจากท่านอาจารย์มั่นเสร็จงานเผาศพ หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล แล้ว ท่านก็ไปรับท่านอาจารย์มั่นมาด้วยกัน และเดินทางจาก พระธาตุพนม เข้ามาอยู่บ้านนามน

    แต่ในพรรษานี้ท่านเร่งความเพียรอย่างเต็มเหนี่ยวยิ่งกว่าธรรมดา หักโหมทั้งร่างกายและจิตใจ กลางวันไม่นอนเลย เว้นแต่วันที่นั่งสมาธิตลอดรุ่ง วันนั้จึงจะยอมให้พักกลางวัน ถ้าวันไหนทำความเพียรธรรมดาๆ กลางวันท่านจะไม่ยอมพักเลย

    ในคืนที่นั่งสมาธิตลอดรุ่งนั้น ท่านจะไม่ยอมให้มีการพลิกเปลี่ยนหรือขยับแข้งขาใดๆ ทั้งสิ้นเลย ท่านเคยเล่าถึงความเจ็บปวดที่ได้รับจากการนั่งตลอดคืนเช่นนั้นให้ฟังว่า "...เหมือนกับก้นมันพองหมวด กระดูกเหมือนจะแตกทุกข้อทุกท่อนกระดูกมันต่อกันตรงไหน หรือแม้แต่ข้อมือก็เหมือนกันจะขาดออกจากกัน ทุกขเวทนาความเจ็บปวดเวลาขึ้น มันขึ้นหมดทุกสิ่งทุกอย่างทุกแง่ทุกมุมในร่างกายเลย..."

    การโหมความเพียรหลายต่อหลายครั้งเข้าเช่นนี้ทำให้ก้นของท่านถึงกับพองและแตกเลอะเปื้อนใส่สบงเลยทีเดียว ดังนี้ "...หากวันไหนที่หักโหมกันเต็มที่แล้ว จิตไม่สามารถลงได้ง่ายๆ วันนั้นมันแพ้ทางร่างกายมาก บอบช้ำมาก คือในเวลานั่งจะแสบก้นเหมือนถูกไฟเผา ถึงขนาดต้องได้นั่งพับเพียบฉันจังหันเลยทีเดียว

    แต่ถ้าวันไหนที่พิจารณาทุกขเวทนาติดปั๊บๆ เกาะติดปั๊บๆ วันนั้นแม้จะนั่งสมาธิภาวนาตลอดรุ่งเหมือนกันก็ตาม แต่กลับไม่มีอะไรชอกช้ำภายในร่างกายเลย พอลุกขึ้นก็ไปเลยธรรมดาๆ เหมือนกับว่าเรานั่งแค่ 3-4 ชั่วโมงเป็นประจำตามความเคยชินนั้นเอง..."

    ความอัศจรรย์ที่เกิดขึ้นจากการนั่งตลอดรุ่งนี้เกิดจากผลของการพิจารณาทุกขเวทนา ในเรื่องนี้ท่านสอนพระเณรอย่างถึงใจ ดังนี้ "...ตอนที่เห็นความอัศจรรย์ ก็เห็นตอนนั่งภาวนาตลอดรุ่ง ตั้งแต่เริ่มคืนแรกเลย พิจารณาทุกขเวทนา แหม มันทุกข์แสนสาหัสนะ ทีแรกก็ไม่นึกว่าจะนั่งสมาธิภาวนาตลอดรุ่ง นั่งไปๆ ทุกขเวทนาเกิดขึ้นๆ พิจารณายังไงก็ไม่ได้เรื่อง

    "เอ๊ะ มันยังไงกันนี่ว่ะ ! เอ้า วันนี้ ตายก็ตาย"

    เลยตั้งสัจอธิษฐานในขณะนั้น เริ่มนั่งตั้งแต่บัดนี้ไปจนถึงสว่างถึงจะลุก

    "เอ้า เป็นก็เป็น ตายก็ตาย !"

    ...เวลานั่งก็ไม่ให้มีข้อแม้ใดๆ เช่น ปวดหนักปวดเบา อยากถ่ายถ่ายไป ถ่ายไปแล้ว เราจะล้างไม่ได้เหรอ ล้างไม่ได้อย่าอยู่ให้หนักศาสนา ตายเสียดีกว่า เพราะฉะนั้นจึงไม่มีข้อแม้...แต่มันก็ไม่เคยปวดถ่ายนะ เรื่องปวดเบานี่ไม่มีหละ เพราะจีวรมันเปียกหมด เปียกเหมือนเราซักผ้าจริงๆ นะ ไม่ใช่ธรรมดา...เปียกหมดตัวเลยเพราะมันจะตาย

    มันไม่ใช่เหงื่อละ ภาษาภาคอีสานเขาเรียก ยางตาย อันนี้มันจะไปปวดเบาที่ตรงไหน เหงื่อมันออกหมด ส่วยการถ่ายหนักนั้นมันอาจเป็นได้ แต่ที่ผ่านมานี้มันก็ไม่เห็นเป็นอะไรนี่ หากเป็นขึ้นมาจริงๆ ก็เอาจริงๆ นี่ ขนาดนั้น...

    ...จากนั้นก็ฟาดกันเลยทีเดียว จนกระทั่งจิตซึ่งไม่เคยพิจารณา ปัญญายังไม่เคยออกแบบนั้นนะ แต่พอเวลามันจนตรอกจนมุมจริงๆ โอ๋ย ปัญญามันไหวตัวทันเหตุการณ์ทุกแง่ทุกมุม จนกระทั่งรู้เท่าทุกขเวทนารู้เท่ากาย รู้เรื่องจิต ต่างอันต่างจริง มันพรากกันลงอย่างหายเงียบเลย ทั้งๆ ที่เราไม่เคยเป็นอย่างนั้นมาก่อนเลย

    กายหายในความรู้สึก ทุกขเวทนาดับหมด เหลือแต่ความรู้ที่สักแต่ว่ารู้ ไม่ใช่รู้เด่นๆ ชนิดคาดๆ หมายๆ ได้นะ คือ สักแต่ว่ารู้เท่านั้น แต่เป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนที่สุด อัศจรรย์ที่สุดในขณะนั้น

    พอถอนขึ้นมา ก็พิจารณาอีก แต่การพิจารณาเราจะเอาอุบายต่างๆ ที่เคยพิจารณาแล้วมาใช้ขณะนั้นไม่ได้ผล มันเป็นสัญญาอดีตไปเสีย ต้องผลิตขึ้นมาใหม่ให้ทันกับเหตุการณ์ในขณะนั้น จิตก็ลงได้อีก คืนนั้นลงได้ถึง 3 ครั้งก็สว่าง โอ๋ย อัศจรรย์เจ้าของละซิ..."

    [​IMG]
    พระธาตุพนม (ในปัจจุบัน) ประดิษฐาน ณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร
    บ้านธาตุพนม ต.ธาตุพนม อ.ธาตุพนม จ.นครพนม
     
  2. Phra Atipan

    Phra Atipan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,301
    รายการพิเศษ VCD สารคดีชุดเทอดทูนบูชาคุณ
    90 ปี พระหลวงตามหาบัว (ไฟล์ตรงจากต้นฉบับ)
    [​IMG]
    เนื้อหาในรายการ (จะประกอบด้วยสารคดี และเพลง)
    1. บุญบาป 2. หลวงตาโปรดสัตว์ 3.ทุกข์ของแผ่นดิน 4.หลวงตามหาบัวช่วยชาติ 5.ภาพประกอบกลอนธุดงค์ 6. ภาพประกอบบทสวด
    ดาวน์โหลดที่นี่ (495MB)
    (หมายเหตุ : ต้องมีโปรแกรม winzip เพื่อแตกไฟล์ zip, ไฟล์เป็น .DAT เปิดโปรแกรมดูหนังทั่วไปเปิดได้)
    (ขอขอบคุณไฟล์จากคุณ Ebi สมาชิกเว็บลานธรรม)
    ............................................................................
    เสียงอ่าน "ชีวประวัติหลวงตา ชุด หยดน้ำบนใบบัว"
    <TABLE cellPadding=0 width="100%" border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD class=text bgColor=#fff5c0>
    ที่

    </TD><TD class=text width=260 bgColor=#fff5c0>
    เรื่อง

    </TD><TD class=text width=80 bgColor=#fff5c0>
    ฟังออนไลน์

    </TD><TD class=text bgColor=#fff5c0>
    ดาวน์โหลด

    </TD></TR><TR><TD class=text width="10%">
    [​IMG]001

    </TD><TD class=text>ชีวิตฆราวาส ลูกกตัญญู.mp3 (2.10 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]002

    </TD><TD class=text>สกุลชาวนาผู้มีอันจะกิน.mp3 (2.34 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]003

    </TD><TD class=text>ไม่กินของดิบ.mp3 (1.18 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]004

    </TD><TD class=text>อุบายฝึกหลานของคุณตา.mp3 (1.00 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]005

    </TD><TD class=text>อ้อยเป็นเหตุ.mp3 (722.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]006

    </TD><TD class=text>แก้หน้าให้พี่ชาย.mp3 (648.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]007

    </TD><TD class=text>เคารพเชื่อฟังครูบาอาจารย์.mp3 (854.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]008

    </TD><TD class=text>ความรักของพ่อ.mp3 (822.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]009

    </TD><TD class=text>แป้วใจ เมื่อยิงหมี.mp3 (1.05 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]010

    </TD><TD class=text>เลือกคบเพื่อน.mp3 (1.43 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]011

    </TD><TD class=text>การงานจริงจัง.mp3 (1.12 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]012

    </TD><TD class=text>ศาสนาก็เลื่อมใส แต่ใจ....mp3 (1.02 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]013

    </TD><TD class=text>ทอดสมอความรัก.mp3 (1.03 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]014

    </TD><TD class=text>สะเทือนใจน้ำตาพ่อแม่.mp3 (992.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]015

    </TD><TD class=text>พิจารณาหาเหตุผลก่อนตัดสินใจ.mp3 (928.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]016

    </TD><TD class=text>ฝืนใจเพียงใด อดทนได้เพื่อพ่อแม่.mp3 (978.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]017

    </TD><TD class=text>คำสอนของมารดา.mp3 (1.07 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]018

    </TD><TD class=text>เคารพธรรม เคารพวินัย.mp3 (1.21 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]019

    </TD><TD class=text>แรงดึงดูดใจให้ไม่ทิ้งภาวนา.mp3 (766.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]020

    </TD><TD class=text>ตั้งจุดมุ่งหมายชีวิต.mp3 (1,016.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]021

    </TD><TD class=text>แม้มีอุปสรรคก็ไม่ท้อถอย.mp3 (662.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]022

    </TD><TD class=text>ค้นคว้าตำราจริงจัง.mp3 (830.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]023

    </TD><TD class=text>ไปฟังธรรมจากพระปฏิบัติ.mp3 (448.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]024

    </TD><TD class=text>พบเห็นสมณะผู้ประเสริฐ.mp3 (1.43 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]025

    </TD><TD class=text>สอบได้คะแนนเต็มร้อย.mp3 (936.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]026

    </TD><TD class=text>รักคำสัตย์ยิ่งกว่าชีวิต.mp3 (644.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]027

    </TD><TD class=text>ออกปฏิบัติกรรมฐาน แสวงหาครูบาอาจารย์.mp3 (758.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]028

    </TD><TD class=text>ข่าวอันเป็นมงคล.mp3 (682.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]029

    </TD><TD class=text>ยอมมอบกายถวายชีวิตต่อครูอาจารย์ผู้รู้จริง.mp3 (1.21 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]030

    </TD><TD class=text>ปฏิบัติจิตตภาวนาจึงฆ่ากิเลสได้.mp3 (1.12 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]031

    </TD><TD class=text>สังเกต พินิจ พิจารณา ด้วยเหตุผลก่อนตัดสินใจ.mp3 (2.09 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]032

    </TD><TD class=text>คติเตือนใจจากฝัน.mp3 (958.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]033

    </TD><TD class=text>อุตสาหะพากเพียรฝึกฝนจิต.mp3 (1.70 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]034

    </TD><TD class=text>นึกพุทโธในใจ จนจิตไม่เสื่อม.mp3 (766.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]035

    </TD><TD class=text>ท่านอาจารย์มั่นล่วงรู้วาระจิต.mp3 (584.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]036

    </TD><TD class=text>น้ำตานักสู้.mp3 (910.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]037

    </TD><TD class=text>เร่งความเพียรเต็มกำลัง.mp3 (1.44 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]038

    </TD><TD class=text>รู้ชัด ประจักษ์ตาย.mp3 (1.28 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]039

    </TD><TD class=text>ควรหนักต้องหนัก ควรเบาต้องเบา.mp3 (614.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]040

    </TD><TD class=text>ชนะความกลัวด้วย พุทโธ.mp3 (728.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]041

    </TD><TD class=text>สมาธิแน่นหนามั่นคง ติดสุขในสมาธิ.mp3 (548.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]042

    </TD><TD class=text>ไต่ถามผู้รู้ เพื่อหาเหตุผล.mp3 (756.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]043

    </TD><TD class=text>ก้าวเดินทางปัญญา.mp3 (682.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]044

    </TD><TD class=text>บ้า หลงสังขาร.mp3 (660.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]045

    </TD><TD class=text>แบ่งพัก แบ่งสู้.mp3 (708.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]046

    </TD><TD class=text>มวยคลุกวงใน.mp3 (914.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]047

    </TD><TD class=text>มองดูคน เนื้อหนังแดงโร่.mp3 (1.14 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]048

    </TD><TD class=text>เหมือนว่าหมดกามราคะ.mp3 (820.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]049

    </TD><TD class=text>อัศจรรย์จิต.mp3 (632.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]050

    </TD><TD class=text>ตื่นเงาตัวเอง.mp3 (1.11 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]051

    </TD><TD class=text>หลักเกณฑ์อันใหญ่หลวง.mp3 (1.38 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]052

    </TD><TD class=text>ญาณหยั่งทราบของท่านอาจารย์มั่น.mp3 (902.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]053

    </TD><TD class=text>คุณยายชราผู้มีญาณหยั่งรู้.mp3 (1.08 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]054

    </TD><TD class=text>พลาดเทศน์ครั้งสุดท้าย.mp3 (1.46 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]055

    </TD><TD class=text>คำเตือนล่วงหน้า.mp3 (1.03 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]056

    </TD><TD class=text>เทิดทูนท่านอาจารย์มั่นสุดหัวใจ.mp3 (964.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]057

    </TD><TD class=text>สลดสังเวช ผู้มีพระคุณสูงสุดจากไป.mp3 (1.94 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]058

    </TD><TD class=text>สติ-ปัญญา อัตโนมัติ.mp3 (1.25 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]059

    </TD><TD class=text>นางงามจักรวาล อวิชชา.mp3 (1,004.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]060

    </TD><TD class=text>ความจำเป็นของครูอาจารย์.mp3 (708.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]061

    </TD><TD class=text>ป่วยหนัก รักษาด้วยธรรมโอสถ.mp3 (1.86 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]062

    </TD><TD class=text>คืนแห่งความสำเร็จ.mp3 (842.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]063

    </TD><TD class=text>เสียงบันลือโลกธาตุ ชาติสิ้นแล้ว.mp3 (1.92 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]064

    </TD><TD class=text>การเวียนว่ายตายเกิดมีจริง.mp3 (1.31 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]065

    </TD><TD class=text>สลดสังเวช อดีตชาติเคยเป็นมา.mp3 (650.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]066

    </TD><TD class=text>ไตรโลกธาตุ ชัดเจนประจักษ์ใจ.mp3 (954.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]067

    </TD><TD class=text>ยืนยัน เทวดา อินทร์ พรหม เปรต ผี สัตว์นรก มีจริง.mp3 (1.07 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]068

    </TD><TD class=text>กิเลสหลอกว่าตายแล้วสูญ.mp3 (658.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]069

    </TD><TD class=text>กราบพระพุทธเจ้าอย่างราบ.mp3 (882.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]070

    </TD><TD class=text>มหานิกาย-ธรรมยุต คือศากยบุตรอันเดียวกัน.mp3 (1.68 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]071

    </TD><TD class=text>เมื่อต้องสอน ก็สอนจริงๆ.mp3 (432.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]072

    </TD><TD class=text>ไปถิ่นไหน ร่มเย็นถิ่นนั้น.mp3 (682.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]073

    </TD><TD class=text>พ่อตาย-พ่อยัง.mp3 (802.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]074

    </TD><TD class=text>รู้เรื่องตาย.mp3 (1.43 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]075

    </TD><TD class=text>บ้านห้วยทราย จ.มุกดาหาร.mp3 (1.78 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]076

    </TD><TD class=text>คุณแม่ชีแก้ว ผู้รอบรู้พิสดาร.mp3 (2.69 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]077

    </TD><TD class=text>ตอบแทนพระคุณบิดามารดา.mp3 (1.15 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]078

    </TD><TD class=text>จังหวัดจันทบุรี.mp3 (688.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]079

    </TD><TD class=text>เสาหลักกรรมฐาน ตั้งวัดป่าบ้านตาด.mp3 (850.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]080

    </TD><TD class=text>ป่วยเพียงกาย ใจแจ้งกระจ่าง.mp3 (542.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]081

    </TD><TD class=text>การเทศนาสอนโลก.mp3 (1.40 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]082

    </TD><TD class=text>โปรดชาวต่างชาติผู้ใฝ่ธรรม.mp3 (1.01 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]083

    </TD><TD class=text>โปรดฝรั่งชาวพุทธที่อังกฤษ.mp3 (694.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]084

    </TD><TD class=text>ฝรั่งมีเหตุผลเข้ากับธรรมวินัย.mp3 (1.01 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]085

    </TD><TD class=text>ประกาศศาสนาต่างแดนด้วยธรรมภายใน.mp3 (556.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]086

    </TD><TD class=text>ชานหมาก.mp3 (970.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]087

    </TD><TD class=text>ใครว่าหลวงตาบัวดุ.mp3 (538.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]088

    </TD><TD class=text>สื่อธรรม หนังสือ เทปธรรมะ ไม่ซื้อขาย.mp3 (1.34 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]089

    </TD><TD class=text>พลังจิตท่านพ่อลี.mp3 (1.31 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]090

    </TD><TD class=text>วิชาขี่เสือ.mp3 (1.69 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]091

    </TD><TD class=text>พญานาค.mp3 (1.89 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]092

    </TD><TD class=text>เสือกลัวหลวงปู่ตื้อ.mp3 (1.10 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]093

    </TD><TD class=text>เณรระลึกชาติ.mp3 (2.56 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]094

    </TD><TD class=text>ธรรมสากัจฉาตามกาล.mp3 (982.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]095

    </TD><TD class=text>สนทนาธรรม เป็นธรรมเพื่อธรรม.mp3 (916.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]096

    </TD><TD class=text>หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล.mp3 (976.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]097

    </TD><TD class=text>หลวงปู่แหวน สุจิณโณ จ.เชียงใหม่.mp3 (676.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]098

    </TD><TD class=text>หลวงปู่คำดี ปภาโส วัดถ้ำผาปู่ อ.เมือง จ.เลย.mp3 (2.39 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]099

    </TD><TD class=text>หลวงพ่อบัว สิริปุณโณ วัดป่าหนองแซง จ.อุดรธานี.mp3 (1.89 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]100

    </TD><TD class=text>วัดมุ่งปฏิบัติในถิ่นทุรกันดาร.mp3 (1.89 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]101

    </TD><TD class=text>พุทธศาสตร์ วิทยาศาสตร์.mp3 (1,014.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]102

    </TD><TD class=text>คอมพิวเตอร์กรรม.mp3 (838.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]103

    </TD><TD class=text>ผัวเดียว เมียเดียว.mp3 (798.0 KB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]104

    </TD><TD class=text>โรงพยาบาล.mp3 (1.10 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]105

    </TD><TD class=text>สงเคราะห์สัตว์.mp3 (1.80 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]106

    </TD><TD class=text>หลวงตาไม่ห่วงตนเองยิ่งกว่าชาติ.mp3 (1.00 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]107

    </TD><TD class=text>ฝืนสังขารเพื่อชาติ.mp3 (1.76 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]108

    </TD><TD class=text>รวมหัวใจชาวไทยเป็นหนึ่งเดียวเพื่อชาติ.mp3 (1.30 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]109

    </TD><TD class=text>น้ำใจคนจนเพื่อชาติ.mp3 (2.07 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=text>
    [​IMG]110

    </TD><TD class=text>กิจวัตรหลวงตา.mp3 (1.69 MB)
    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD><TD class=text>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    http://www.fungdham.com/sound/bua.html เสียงธรรม : หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 13 มิถุนายน 2010
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    รู้ชัดประจักษ์ "ตาย"

    พอถึงรุ่งเช้าเมื่อได้โอกาสอันเหมาะสม ท่านก็ขึ้นกราบเรียนท่านอาจารย์มั่น ซึ่งตามปกติท่านเองมีความเกรงกลัวท่านอาจารย์มั่นมาก แต่วันนั้นกลับไม่รู้สึกกลัวเลย เป็นเพราะอยากจะกราบเรียนเรื่องความจริงของท่านให้ท่านอาจารย์มั่นได้รับทราบและให้ท่านเห็นผลแห่งความจริงว่าปฏิบัติมาอย่างไร จึงได้ปรากฏผลเช่นนี้ ท่านจึงพูดขึ้นมาอย่างอาจหาญแบบที่ไม่เคยพูดกับท่านอาจารย์มั่นอย่างนั้นมาก่อน ดังนี้

    "ทั้งๆ ที่เราพูดขึงขังตึงตังใส่เปรี้ยงๆ ท่านก็คงจับได้เลยว่า

    "โหย ทีนี้แหละกำลังบ้ามันขึ้นแล้ว"

    ท่านคงว่างั้น "มันรู้จริงๆ"

    ความหมายว่ามันรู้จริงๆ เพราะเราพูดแบบไม่สะทกสะท้าน เล่าอะไรๆ ให้ฟัง ท่านจะค้านเราตรงไหน ท่านก็ไม่ได้ค้านมีแต่ เออ...เอา พอเราจบลงแล้ว ก็หมอบลงฟังท่านจะว่ายังไง...ท่านก็ขึ้นเต็มเหนี่ยวเหมือนกันนะ ท่านรู้นิสัยบ้า ว่างั้นนะ

    "มันต้องอย่างนี้ เอ้า ทีนี้ได้หลักแล้วเอ้า เอามันให้เต็มเหนี่ยว อัตภาพเดี๋ยวนี้มันไม่ได้ตายถึง 5 หนนะ มันตายหนเดียวเท่านั้นนะ ทีนี้ได้หลักแล้ว เอาให้เต็มเหนี่ยวนะ"

    ว่าอย่างนั้นเลยเชียว ท่านเอาหนักอธิบายให้ฟังจนเป็นที่พอใจ เราก็เป็นเหมือนหมาตัวหนึ่ง พอท่านยอบ้าง ยุบ้าง หมาเราตัวโง่นี้ ก็ทั้งจะกัดทั้งจะเห่า...มันพอใจ มันมีกำลังใจ ทีนี้จึงฟัดกันใหญ่..."

    เมื่อได้กำลังใจจากท่านอาจารย์มั่นเช่นนี้ ท่านก็ยิ่งจริงจังเพิ่มขึ้นไปอีก คือพอเว้นคืนหนึ่งสองคืนท่านก็นั่งตลอดรุ่งอีก และก็เว้น 2-3 คืนก็นั่งตลอดรุ่งอีก จนกระทั่งจิตเกิดอัศจรรย์ เข้าใจชัดเจนเรื่องความตายดังนี้

    ...เวลามันรู้จริงๆ แล้ว แยกธาตุแยกขันธ์ดูความเป็นความตาย ธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ สลายตัวลงไปแล้ว ก็เป็นดินเป็นน้ำ เป็นลม เป็นไฟตามเดิม อากาศธาตุก็เป็นอากาศธาตุตามเดิม ใจที่กลัวตายก็ยิ่งเด่น มันเอาอะไรมาตาย รู้เด่นขนาดนี้มันตายได้ยังไง ใจก็ไม่ตายแล้วมันกลัวอะไร มันโกหกกัน โลกกิเลสมันโกหกกันต่างหากหมายถึงกิเลสโกหกสัตวโลกให้กลัวตายทั้งที่ความจริงไม่มีอะไรตาย

    พิจารณาวันหนึ่งได้อุบายแบบหนึ่งขึ้นมา พิจารณาอีกวันหนึ่งได้อุบายแบบหนึ่งขึ้นมา แต่มันมีอุบายแบบเผ็ดๆ ร้อนๆ แบบอัศจรรย์ทั้งนั้น จิตก็ยิ่งอัศจรรย์และกล้าหาญจนถึงขนาดที่ว่า

    "เวลาจะตายจริงๆ มันจะเอาเวทนาหน้าไหนมาหลอกเราวะ ทุกขเวทนาทุกแง่ทุกมุมที่แสดงในวันนี้เป็นเวทนาที่สมบูรณ์แล้วเลยจากนี้ก็ตายเท่านั้น ทุกขเวทนาเหล่านี้เราเห็นหน้ามันหมด เข้าใจกันหมด แก้ไขมันได้หมด แล้วเวลาจะตายมันจะเอาเวทนาหน้าไหนมาหลอกเราให้หลงอีกวะ หลงไปไม่ได้ เวทนาต้องเวทนาหน้านี้เอง

    พูดถึงเรื่องความตายก็ไม่มีอะไรตายกลัวอะไรกัน นอกจากกิเลสมันโกหกเราให้หลงไปตามกลอุบายอันจอมปลอมของมันเท่านั้น แต่บัดนี้ไปเราไม่หลงกลของมันอีกแล้ว"

    นั้นละ จิตเวลามันรู้ และมันรู้ชัดตั้งแต่คืนแรกนะ ที่ว่าจิตเจริญแล้วเสื่อมๆ ก่อนมาภาวนาจนนั่งตลอดรุ่งคืนแรกมันก็ไม่เสื่อม ตั้งแต่เดือนเมษายนมาก็ไม่เสื่อม แต่มันก็ยังไม่ชัด พอมาถึงคืนวันนั้นแล้วมันชัดเจน

    "เอ้อ มันต้องอย่างนี้ไม่เสื่อม"

    เหมือนกับว่ามันปีนขึ้นไปแล้วก็ตกลงขึ้นไปแล้วก็ตกลงๆ แต่คราวนี้พอปีนขึ้นไปเกาะติดปั๊บ ร้อยเปอร์เซ็นต์ไม่เสื่อม มันรู้แล้วจึงได้เร่งเต็มที่เต็มฐาน..."
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    ข้อคิดหลายแง่ หลายกระทง

    ตลอดพรรษาที่บ้านนามนแห่งนี้ ท่านยังคงสมาทานธุดงค์อย่างเคร่งครัดในข้อฉันอาหารที่ได้มาในบาตรเท่านั้น เหมือนเมื่อครั้งไปอยู่กับท่านอาจารย์มั่นใหม่ๆ ในปีแรก แม้ท่านอาจารย์มั่นจะทราบดีถึงความเคร่งครัด จริงจังของท่านในเรื่องนี้ แต่ด้วยความเมตตาของครูบาอาจารย์ที่มีต่อศิษย์ประกอบกับจะหาอุบายสอนศิษย์ให้ฉลาดรอบและรู้ความพอเหมาะพอสมภายในใจ ทำให้บางครั้งท่านอาจารย์มั่นก็ได้เอาอาหารมาใส่บาตรท่านพร้อมกับพูดว่า "ขอใส่บาตรหน่อยท่านมหา นี่เป็นสมณบริโภค" หรือบางครั้งก็ว่า

    "นี่เป็นเครื่องบริโภคของสมณะ ขอนิมนต์รับเถอะ" เหตุการณ์ในตอนนั้นท่านเคยเล่าไว้ ดังนี้

    "...บางครั้งก็มีคณะศรัทธาทางจังหวัดหนองคายบ้างและที่สกลนครบ้าง ที่อื่นๆ บ้าง ไปใส่บาตรท่านและพระในวัดบ้านนามน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร นานๆ มีไปทีหนึ่ง เพราะแต่ก่อนรถราไม่มีต้องเดินด้วยเท้า แต่เขาไปด้วยเกวียน จ้างล้อจ้างเกวียนไป

    เขาไปพักเพียงคืนสองคืนและไม่ได้พักอยู่ในวัดกับพระท่าน แต่พากันไปพักอยู่กระท่อมนาของชาวบ้านนามน ตอนเช้าทำอาหารบิณบาตเสร็จแล้วก็มาถวายพระในวัดนั้น เขาไม่ได้ไปดักใส่บาตรนอกวัด เราก็ไม่กล้ารับ กลัวธุดงค์ขาด เดินผ่านหนีมาเลย สำหรับท่านก็รับให้ เพราะสงสารเขาเท่าที่สังเกตดู

    อาหารก็เหลือจากใส่บาตรมากมายก็ได้นำขึ้นมาบนศาลา เป็นหมกเป็นห่อและผลไม้ต่างๆ นะ เราก็ไม่รับ ส่งไปไหนก็หายเงียบ หายเงียบ ไม่มีใครรับ จะมีรับบ้างเพียงองค์สององค์ ผิดสังเกตศรัทธาเขาไม่น้อย ส่วนเราไม่กล้ารับเพราะกลัวธุดงค์ข้อนี้ขาด หลายวันต่อมาท่านก็ขอใส่บาตรเรา โดยบอกว่า

    "นี้เป็นสมณบริโภค ขอใส่บาตรหน่อย"

    แล้วท่านก็ใส่บาตรเรา ท่านใส่เองนะ ถ้าธรรมดาแล้ว โถ...ใครจะมาใส่เราได้วะ สำหรับเราเองกลัวธุดงค์จะขาด หรืออย่างน้อยไม่สมบูรณ์...นอกจากท่านอาจารย์มั่นผู้ที่เราเคารพเลื่อมใสเต็มหัวใจเท่านั้น จึงยอมลงและยอมให้ใส่บาตรตามกาลอันควรของท่านเอง...ความจริงท่านคงเห็นว่านี่มันเป็นทิฐิแฝงอยู่กับธุดงค์ที่ตนสมาทานนั้น ท่านจึงช่วยดัดเสียบ้าง เพื่อให้เป็นข้อคิดหลายแง่หลายกระทง ไม่เป็นลักษณะเถรตรงไปถ่ายเดียว ท่านจึงหาอุบายต่างๆ สอนเราทั้งทางอ้อมและทางตรง..."
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    ควรหนัก...ต้องหนัก ควรเบา...ต้องเบา

    จากการที่ท่านโหมนั่งภาวนาตลอดรุ่งถึง 9-10 คืน แม้จะไม่ทำติดๆ กัน โดยเว้น 2 คืนบ้าง 3 คืนบ้าง หรือบางทีก็เว้น 6-7 คืนก็มี ท่านทำเช่นนี้ตลอดพรรษาจนถึงกับเป็นที่แน่ใจในเรื่องทุกขเวทนาหนักเบามากน้อยเข้าใจวิธีปฏิบัติต่อกัน สามารถหลบหลีกปลีกตัวแก้ไขกันได้อย่างทันท่วงที จึงไม่มีคำว่า สะทกสะท้าน แม้จะตายก็ไม่กลัว เพราะได้พิจารณาด้วยอุบายอันแยบคายเต็มที่แล้ว สติปัญญาจึงเท่าทันต่อความตายทุกอย่าง

    การที่ท่านหักโหมร่างกายด้วยการนั่งตลอดรุ่งซ้ำแล้วซ้ำเล่าเช่นนี้ ทำให้ผิวหนังในบริเวณก้นได้รับความกระทบกระเทือนอยู่บ่อยครั้ง จนถึงขั้นซ้ำระบม พอง และแตกในที่สุด พอนานวันเข้า ท่านอาจารย์มั่นก็เมตตาเตือนแย็บออกมาว่า "กิเลสมันไม่ได้อยู่กับร่างกายนะ มันอยู่กับจิต" ท่านพูดขึ้นมาแล้วก็ยกเอาเรื่องการฝึกม้ามาเตือนว่า

    "ม้าที่เวลามันกำลังคึกคะนอง มันไม่ยอมฟังเสียงเจ้าของเลย ต้องทรมานมันอย่างเต็มที่ ไม่ควรให้กินหญ้าก็ไม่ให้มันกินเลย ทรมานมันอย่างหนัก เอาจนมักกระดิกไม่ได้

    ทีนี้พอมันยอมลดพยศลงก็ผ่อนการทรมาน เมื่อมันผ่อนความพยศลงมาก การฝึกทรมานก็ผ่อนกันลงไป"

    ท่านอาจารย์มั่นเตือนท่านเพียงเท่านี้ก็เป็นที่เข้าใจทันที เพราะท่านเคยร่ำเรียนเรื่องนี้ในสมัยเรียนปริยัติมาก่อนแล้ว จึงลงใจและยอมรับในคำเตือนของครูบาอาจารย์ทันที
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    กินอยู่ใช้สอยเรียบง่าย แต่หรูหราด้วยคุณธรรม

    ในระยะที่อยู่กับท่านอาจารย์มั่นท่านจะเมตตาพร่ำสอนเสมอว่า ให้เราเป็นคนกินน้อย นอนน้อย พูดน้อย แต่ปฏิบัติให้มากหรือกินง่าย อยู่ง่าย นอนง่าย การไปการมาง่าย หมายถึง ไม่ทำตนเป็นผู้ยศหนักศักดิ์ใหญ่ หรือเป็นประเภทกรรมฐานขุนนางหรูๆ หราๆ แต่วัตถุสิ่งของภายนอก แต่จิตใจหาคุณความดีมิได้เลย อันนี้ท่านไม่สรรเสริญ ท่านชื่นชมบุคคลประเภทอ่อนน้อมถ่อมตนทำตัวประดุจผ้าขี้ริ้ว แต่ภายในใจนั้นหรูหรางดงามด้วยธรรม จะเรียกว่า เศรษฐีธรรม ก็ไม่ผิด

    ช่วงออกพรรษาเป็นระยะที่พระผู้มุ่งความสงบมีโอกาสหลีกเร้นหาที่ภาวนาในป่าเขาที่สงบสงัด แม้ท่านเองก็เช่นกัน ท่านปรารถนาจะวิเวกอยู่โดยลำพัง เพราะสะดวกต่อการภาวนามาก ท่านว่าไปวิเวก 2 คนขึ้นไปเหมือนน้ำไหลบ่า มันขัดมันข้องอยู่ในตัวเพราะต้องระมัดระวังกันและกัน ต้องคอยดูคอยห่วงคอยรับผิดชอบกันอยู่ในตัวนั้นแล แต่การไปคนเดียวเป็นความเพียรอยู่ตลอดเวลา ดังท่านเล่าว่า

    "...ไปที่ไหน ไปแต่องค์เดียว เป็นความเพียรตลอดเวลา ตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทั่งถึงหลับ เดินจงกรมจากหมู่บ้านนี้ไปหมู่บ้านนั้น เดินจงกรมทั้งนั้นนะ เป็นความเพียรตลอดอยู่นั้น ก็เวลาไหนมันเผลอจากความเพียร พรากความเพียรนี้ที่ไหน นี่เป็นตามนิสัยของเจ้าของ มันเป็นอย่างนั้น

    มาอยู่กับหมู่กับเพื่อนนี้ก็เป็นความจำเป็นก็อยู่เสีย เช่นอย่างมาอยู่กับพ่อแม่ครูอาจารย์มั่นในพรรษา เราต้องดูแลหมู่เพื่อนต้องกังวลวุ่นวายนั่นนี่เป็นธรรมดา ทั้งเพื่อการอบรมศึกษาของเราเองอีก แต่ก็ทนเอา...ครั้นพอออกจากนั้นแล้ว ถึงได้ดีดผึงเลย เพราะฉะนั้น ท่านถึงรู้นิสัยละซิ ว่าพอรู้ว่าเราจะไปท่านก็ถาม

    "ไปกับใคร ?"

    "ไปองค์เดียวครับกระผม"

    "เออ ท่านมหาไปองค์เดียว ใครอย่าไปยุ่งท่านนะ" ท่านรู้ทันทีนะ "ให้ท่านไปองค์เดียวนะ ท่านมหา..."

    มีบางครั้งเหมือนกันที่ท่านอาจารย์มั่นพูดหยอกเล่นกับท่าน เช่น ในเวลาที่ท่านขอลาวิเวก ทั้งๆ ที่องค์ท่านก็ทราบดีว่า นิสัยของท่านจริงจังขนาดไหน แต่เวลาจะไปจริงๆ เข้า องค์ท่านก็พูดหยอกเล่นด้วยความเมตตาว่า

    "เอาให้ดีนะ"

    การเลือกสถานที่ภาวนาในเวลาท่านออกวิเวกนั้น เพื่อให้สะดวกต่อการบำเพ็ญเพียร ท่านมักถือปฏิบัติ ดังนี้

    "...มักเลือกสถานที่ภาวนาโดยสังเกตดูว่าหมู่บ้านไหนมีบ้านสัก 3-4 หลังคาเรือน บ้าง 9-10 หลังคาเรือนบ้าง จะได้ข้าวปลาอาหารขนมคาวหวานชนิดไหนมากน้อยเพียงใดไม่เป็นเรื่องวิตกกังวลแต่อย่างใด การขบการฉันก็พอเป็นเครื่องยังชีพให้มีชีวิตเป็นไปเพื่อประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้ก็เอาแล้ว ไม่เห็นแก่รสชาติ ไม่เห็นแก่ร้อนหรือเย็นยิ่งกว่าความเจริญก้าวหน้าทางจิตใจ..."

    การออกเที่ยวกรรมฐานของท่านอาศัยเดินด้วยเท้าเปล่า เพราะแต่ก่อนรถยนต์ไม่มี ถนนหนทางไม่มี แบกกลดสะพายบาตรเข้าป่ารกชัฏ ถ้ำ เงื้อมผา เพื่อหาสถานที่สงบวิเวก ผ้าที่ท่านนำติดตัวไปก็มีเฉพาะผ้า 3 ผืน คือ สบง จีวร สังฆาฏิ และผ้าอาบน้ำอีกผืนหนึ่งเพื่อใช้ผลัดเปลี่ยนตอนสรงน้ำหรือใช้เป็นผ้าห่อบาตรและเช็ดบาตรด้วย ความทุกข์ยากแสนสาหัสจากการออกธุดงค์นั้นมีหลายแบบหลายอย่าง
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    ทุกข์เพราะหนาว

    ความทุกข์แบบหนึ่งที่พระกรรมฐานผู้มุ่งธรรมต้องประสบเสมอๆ คือทุกข์จากฤดูกาล เฉพาะอย่างยิ่งหน้าหนาวทางอีสานท่านกล่าวไว้ ดังนี้

    "...อากาศหนาวจริงๆ เวลาออกวิเวกเพราะไม่นำผ้าห่มติดไปด้วย ใช้แค่จีวรกับผ้าสังฆาฏิพับครึ่งแล้วห่มพอกันหนาวได้บ้าง แต่ถ้าคืนไหนหนาวมากจริงๆ คืนนั้นนอนไม่ได้เลย ต้องลุกขึ้นนั่งสมาธิภาวนาสู้เอาตามหน้าตามตาแขนขารวมถึงริมฝีปากเหล่านี้แตกหมด ตกกระหมด

    การอาบน้ำต้องรีบอาบตอนกลางวันหลังปัดกวาดใบไม้แล้ว อาบในคลองบ้าง ตามซอกหิกซอกผาบ้าง หรือในห้วยในคลองที่ไหนพออาบได้ก็อาบ ถ้ากะเวลาก็ประมาณบ่าย 3 โมง เพราะอาบค่ำนักไม่ได้ อากาศหนาวมากจริงๆ น้ำก็เย็นมาก ทั้งๆ ที่ตอนนั้นยังหนุ่มน้อยอยู่ แต่มันก็ยังหนาวถึงขนาดนั้น..."

    สำหรับเรื่องกุฏิที่พักนั้น ท่านให้ชาวบ้านทำเพียงวันเดียวก็เสร็จแล้ว พอใจหลบแดดหลบฝน ป้องกันชื้อหรือร้อนหนาวได้ก็เพียงพอแล้ว ลักษณะก็ทำเหมือนปะรำ โดยเอาใบไม้มาวางทำเป็นร้าน เอาใบไม้วางข้างบน แล้วเอากลดแขวนข้างล่าง ท่านเคยเล่าถึงความหนาวเหน็บในระหว่างการวิเวกในป่าว่า

    "...ช่วงหน้าหนาวแม้ว่าทำถึงอย่างนั้นก็ตาม น้ำค้างยังคงพัดปลิวเข้ามาถึงได้เปียกเหมือนกับเราซักผ้านั่นแล เปียกทุกคืนทุกเช้า ดังนั้น พอฉันเช้าเสร็จ ถึงได้เอาออกไปตากแดด ถ้าตากเช้าไป แดดก็ยังไม่มี ต้องทิ้งไว้นั้นก่อน กางทิ้งไว้อย่างนั้น

    พอฉันเสร็จแล้วก็เอามุ้งออกไปตากที่แดด แม้ตากอย่างนั้นทุกวันๆ มันก็ยังขึ้นราได้ เป็นจุดดำๆ ของเรา มันเหมือนกับลายเสือดาวนั่นแหละ ทั้งๆ ที่มุ้งสะอาดอยู่ก็ขึ้นรา เนื่องจากมันไม่ได้แห้งตามเวล่ำเวลาของมัน..."

    สำหรับบริเวณใกล้เคียงที่พักนั้น จะมีทางจงกรมหลายสายอยู่ใต้ร่มไม้เพื่อเดินในเวลากลางวัน เพราะช่วงเช้าสายหรือเที่ยงบ่ายนั้นต้นไม้จะให้แนวร่มต่างกันไป จึงต้องมีทางจงกรมไว้หลายๆ สาย สายไหนร่มในช่วงใดก็เดินจงกรมช่วงเวลานั้น

    ส่วนในบางที่เป็นที่โล่งๆ แจ้งๆ ที่ไม่มีต้นไม้ มักใช้เป็นทางจงกรมไว้เดินตอนกลางคืน เผื่อว่าหากมีงู แมงป่อง หรือสัตว์มีพิษอื่นๆ ผ่านมาก็จะพอมองเห็นได้เป็นเงาดำๆ ท่านไม่ได้จุดไฟตอนเดินจงกรม เพราะในช่วงออกวิเวกนั้นท่านพกเทียนไขไปนิดหน่อยเท่านั้น หากไม่จำเป็นต้องจุดจริงๆ ท่านจะไม่จุด

    เรื่องยารักษาโรค ท่านว่าไม่ต้องพูดถึง เพราะไม่เคยได้พกไปด้วยเลย ถึงแม้จะเจ็บไข้ได้ป่วยหรือเจ็บท้องปวดศีรษะก็ตาม ท่านมีแต่ใช้การทำภาวนาเท่านั้นเป็นยาเป็นธรรมโอสถอันเลิศ และแท้ที่จริงแล้วแม้ในยามปกติตอนที่อยู่ในวัดยังไม่ได้ออกวิเวก หากไม่จำเป็นจริงๆ แล้ว ท่านก็ไม่นิยมใช้ยาใดๆ ทั้งสิ้น ท่านเคยอธิบายเหตุผลว่า

    "...เราไม่ปฏิเสธเรื่องยา แต่สำหรับเรื่องความกังวลจนเกินเหตุเกินผลของสมณะนั้น ผิดทางของพระพุทธเจ้า ผิดทางของผู้จะฆ่ากิเลส ผิดทางของผู้เรียนเพื่อรู้สัจธรรม

    เรื่องหยูกยาก็ให้นำมารักษากันไปได้อยู่ แต่ไม่ให้หลงจนเกิดความกังวลอันเป็นเรื่องของกิเลส ท่านไม่ได้มารักษามาสงวนชีวิตจิตใจยิ่งกว่าธรรม..."
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    รู้ชัดประจักษ์ "ตาย"

    พอถึงรุ่งเช้าเมื่อได้โอกาสอันเหมาะสม ท่านก็ขึ้นกราบเรียนท่านอาจารย์มั่น ซึ่งตามปกติท่านเองมีความเกรงกลัวท่านอาจารย์มั่นมาก แต่วันนั้นกลับไม่รู้สึกกลัวเลย เป็นเพราะอยากจะกราบเรียนเรื่องความจริงของท่านให้ท่านอาจารย์มั่นได้รับทราบและให้ท่านเห็นผลแห่งความจริงว่าปฏิบัติมาอย่างไร จึงได้ปรากฏผลเช่นนี้ ท่านจึงพูดขึ้นมาอย่างอาจหาญแบบที่ไม่เคยพูดกับท่านอาจารย์มั่นอย่างนั้นมาก่อน ดังนี้

    "ทั้งๆ ที่เราพูดขึงขังตึงตังใส่เปรี้ยงๆ ท่านก็คงจับได้เลยว่า

    "โหย ทีนี้แหละกำลังบ้ามันขึ้นแล้ว"

    ท่านคงว่างั้น "มันรู้จริงๆ"

    ความหมายว่ามันรู้จริงๆ เพราะเราพูดแบบไม่สะทกสะท้าน เล่าอะไรๆ ให้ฟัง ท่านจะค้านเราตรงไหน ท่านก็ไม่ได้ค้านมีแต่ เออ...เอา พอเราจบลงแล้ว ก็หมอบลงฟังท่านจะว่ายังไง...ท่านก็ขึ้นเต็มเหนี่ยวเหมือนกันนะ ท่านรู้นิสัยบ้า ว่างั้นนะ

    "มันต้องอย่างนี้ เอ้า ทีนี้ได้หลักแล้วเอ้า เอามันให้เต็มเหนี่ยว อัตภาพเดี๋ยวนี้มันไม่ได้ตายถึง 5 หนนะ มันตายหนเดียวเท่านั้นนะ ทีนี้ได้หลักแล้ว เอาให้เต็มเหนี่ยวนะ"

    ว่าอย่างนั้นเลยเชียว ท่านเอาหนักอธิบายให้ฟังจนเป็นที่พอใจ เราก็เป็นเหมือนหมาตัวหนึ่ง พอท่านยอบ้าง ยุบ้าง หมาเราตัวโง่นี้ ก็ทั้งจะกัดทั้งจะเห่า...มันพอใจ มันมีกำลังใจ ทีนี้จึงฟัดกันใหญ่..."

    เมื่อได้กำลังใจจากท่านอาจารย์มั่นเช่นนี้ ท่านก็ยิ่งจริงจังเพิ่มขึ้นไปอีก คือพอเว้นคืนหนึ่งสองคืนท่านก็นั่งตลอดรุ่งอีก และก็เว้น 2-3 คืนก็นั่งตลอดรุ่งอีก จนกระทั่งจิตเกิดอัศจรรย์ เข้าใจชัดเจนเรื่องความตายดังนี้

    ...เวลามันรู้จริงๆ แล้ว แยกธาตุแยกขันธ์ดูความเป็นความตาย ธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ สลายตัวลงไปแล้ว ก็เป็นดินเป็นน้ำ เป็นลม เป็นไฟตามเดิม อากาศธาตุก็เป็นอากาศธาตุตามเดิม ใจที่กลัวตายก็ยิ่งเด่น มันเอาอะไรมาตาย รู้เด่นขนาดนี้มันตายได้ยังไง ใจก็ไม่ตายแล้วมันกลัวอะไร มันโกหกกัน โลกกิเลสมันโกหกกันต่างหากหมายถึงกิเลสโกหกสัตวโลกให้กลัวตายทั้งที่ความจริงไม่มีอะไรตาย

    พิจารณาวันหนึ่งได้อุบายแบบหนึ่งขึ้นมา พิจารณาอีกวันหนึ่งได้อุบายแบบหนึ่งขึ้นมา แต่มันมีอุบายแบบเผ็ดๆ ร้อนๆ แบบอัศจรรย์ทั้งนั้น จิตก็ยิ่งอัศจรรย์และกล้าหาญจนถึงขนาดที่ว่า

    "เวลาจะตายจริงๆ มันจะเอาเวทนาหน้าไหนมาหลอกเราวะ ทุกขเวทนาทุกแง่ทุกมุมที่แสดงในวันนี้เป็นเวทนาที่สมบูรณ์แล้วเลยจากนี้ก็ตายเท่านั้น ทุกขเวทนาเหล่านี้เราเห็นหน้ามันหมด เข้าใจกันหมด แก้ไขมันได้หมด แล้วเวลาจะตายมันจะเอาเวทนาหน้าไหนมาหลอกเราให้หลงอีกวะ หลงไปไม่ได้ เวทนาต้องเวทนาหน้านี้เอง

    พูดถึงเรื่องความตายก็ไม่มีอะไรตายกลัวอะไรกัน นอกจากกิเลสมันโกหกเราให้หลงไปตามกลอุบายอันจอมปลอมของมันเท่านั้น แต่บัดนี้ไปเราไม่หลงกลของมันอีกแล้ว"

    นั้นละ จิตเวลามันรู้ และมันรู้ชัดตั้งแต่คืนแรกนะ ที่ว่าจิตเจริญแล้วเสื่อมๆ ก่อนมาภาวนาจนนั่งตลอดรุ่งคืนแรกมันก็ไม่เสื่อม ตั้งแต่เดือนเมษายนมาก็ไม่เสื่อม แต่มันก็ยังไม่ชัด พอมาถึงคืนวันนั้นแล้วมันชัดเจน

    "เอ้อ มันต้องอย่างนี้ไม่เสื่อม"

    เหมือนกับว่ามันปีนขึ้นไปแล้วก็ตกลงขึ้นไปแล้วก็ตกลงๆ แต่คราวนี้พอปีนขึ้นไปเกาะติดปั๊บ ร้อยเปอร์เซ็นต์ไม่เสื่อม มันรู้แล้วจึงได้เร่งเต็มที่เต็มฐาน..."

    ข้อคิดหลายแง่ หลายกระทง

    ตลอดพรรษาที่บ้านนามนแห่งนี้ ท่านยังคงสมาทานธุดงค์อย่างเคร่งครัดในข้อฉันอาหารที่ได้มาในบาตรเท่านั้น เหมือนเมื่อครั้งไปอยู่กับท่านอาจารย์มั่นใหม่ๆ ในปีแรก แม้ท่านอาจารย์มั่นจะทราบดีถึงความเคร่งครัด จริงจังของท่านในเรื่องนี้ แต่ด้วยความเมตตาของครูบาอาจารย์ที่มีต่อศิษย์ประกอบกับจะหาอุบายสอนศิษย์ให้ฉลาดรอบและรู้ความพอเหมาะพอสมภายในใจ ทำให้บางครั้งท่านอาจารย์มั่นก็ได้เอาอาหารมาใส่บาตรท่านพร้อมกับพูดว่า "ขอใส่บาตรหน่อยท่านมหา นี่เป็นสมณบริโภค" หรือบางครั้งก็ว่า

    "นี่เป็นเครื่องบริโภคของสมณะ ขอนิมนต์รับเถอะ" เหตุการณ์ในตอนนั้นท่านเคยเล่าไว้ ดังนี้

    "...บางครั้งก็มีคณะศรัทธาทางจังหวัดหนองคายบ้างและที่สกลนครบ้าง ที่อื่นๆ บ้าง ไปใส่บาตรท่านและพระในวัดบ้านนามน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร นานๆ มีไปทีหนึ่ง เพราะแต่ก่อนรถราไม่มีต้องเดินด้วยเท้า แต่เขาไปด้วยเกวียน จ้างล้อจ้างเกวียนไป

    เขาไปพักเพียงคืนสองคืนและไม่ได้พักอยู่ในวัดกับพระท่าน แต่พากันไปพักอยู่กระท่อมนาของชาวบ้านนามน ตอนเช้าทำอาหารบิณบาตเสร็จแล้วก็มาถวายพระในวัดนั้น เขาไม่ได้ไปดักใส่บาตรนอกวัด เราก็ไม่กล้ารับ กลัวธุดงค์ขาด เดินผ่านหนีมาเลย สำหรับท่านก็รับให้ เพราะสงสารเขาเท่าที่สังเกตดู

    อาหารก็เหลือจากใส่บาตรมากมายก็ได้นำขึ้นมาบนศาลา เป็นหมกเป็นห่อและผลไม้ต่างๆ นะ เราก็ไม่รับ ส่งไปไหนก็หายเงียบ หายเงียบ ไม่มีใครรับ จะมีรับบ้างเพียงองค์สององค์ ผิดสังเกตศรัทธาเขาไม่น้อย ส่วนเราไม่กล้ารับเพราะกลัวธุดงค์ข้อนี้ขาด หลายวันต่อมาท่านก็ขอใส่บาตรเรา โดยบอกว่า

    "นี้เป็นสมณบริโภค ขอใส่บาตรหน่อย"

    แล้วท่านก็ใส่บาตรเรา ท่านใส่เองนะ ถ้าธรรมดาแล้ว โถ...ใครจะมาใส่เราได้วะ สำหรับเราเองกลัวธุดงค์จะขาด หรืออย่างน้อยไม่สมบูรณ์...นอกจากท่านอาจารย์มั่นผู้ที่เราเคารพเลื่อมใสเต็มหัวใจเท่านั้น จึงยอมลงและยอมให้ใส่บาตรตามกาลอันควรของท่านเอง...ความจริงท่านคงเห็นว่านี่มันเป็นทิฐิแฝงอยู่กับธุดงค์ที่ตนสมาทานนั้น ท่านจึงช่วยดัดเสียบ้าง เพื่อให้เป็นข้อคิดหลายแง่หลายกระทง ไม่เป็นลักษณะเถรตรงไปถ่ายเดียว ท่านจึงหาอุบายต่างๆ สอนเราทั้งทางอ้อมและทางตรง..."

    ควรหนัก...ต้องหนัก ควรเบา...ต้องเบา

    จากการที่ท่านโหมนั่งภาวนาตลอดรุ่งถึง 9-10 คืน แม้จะไม่ทำติดๆ กัน โดยเว้น 2 คืนบ้าง 3 คืนบ้าง หรือบางทีก็เว้น 6-7 คืนก็มี ท่านทำเช่นนี้ตลอดพรรษาจนถึงกับเป็นที่แน่ใจในเรื่องทุกขเวทนาหนักเบามากน้อยเข้าใจวิธีปฏิบัติต่อกัน สามารถหลบหลีกปลีกตัวแก้ไขกันได้อย่างทันท่วงที จึงไม่มีคำว่า สะทกสะท้าน แม้จะตายก็ไม่กลัว เพราะได้พิจารณาด้วยอุบายอันแยบคายเต็มที่แล้ว สติปัญญาจึงเท่าทันต่อความตายทุกอย่าง

    การที่ท่านหักโหมร่างกายด้วยการนั่งตลอดรุ่งซ้ำแล้วซ้ำเล่าเช่นนี้ ทำให้ผิวหนังในบริเวณก้นได้รับความกระทบกระเทือนอยู่บ่อยครั้ง จนถึงขั้นซ้ำระบม พอง และแตกในที่สุด พอนานวันเข้า ท่านอาจารย์มั่นก็เมตตาเตือนแย็บออกมาว่า "กิเลสมันไม่ได้อยู่กับร่างกายนะ มันอยู่กับจิต" ท่านพูดขึ้นมาแล้วก็ยกเอาเรื่องการฝึกม้ามาเตือนว่า

    "ม้าที่เวลามันกำลังคึกคะนอง มันไม่ยอมฟังเสียงเจ้าของเลย ต้องทรมานมันอย่างเต็มที่ ไม่ควรให้กินหญ้าก็ไม่ให้มันกินเลย ทรมานมันอย่างหนัก เอาจนมักกระดิกไม่ได้

    ทีนี้พอมันยอมลดพยศลงก็ผ่อนการทรมาน เมื่อมันผ่อนความพยศลงมาก การฝึกทรมานก็ผ่อนกันลงไป"

    ท่านอาจารย์มั่นเตือนท่านเพียงเท่านี้ก็เป็นที่เข้าใจทันที เพราะท่านเคยร่ำเรียนเรื่องนี้ในสมัยเรียนปริยัติมาก่อนแล้ว จึงลงใจและยอมรับในคำเตือนของครูบาอาจารย์ทันที

    กินอยู่ใช้สอยเรียบง่าย แต่หรูหราด้วยคุณธรรม

    ในระยะที่อยู่กับท่านอาจารย์มั่นท่านจะเมตตาพร่ำสอนเสมอว่า ให้เราเป็นคนกินน้อย นอนน้อย พูดน้อย แต่ปฏิบัติให้มากหรือกินง่าย อยู่ง่าย นอนง่าย การไปการมาง่าย หมายถึง ไม่ทำตนเป็นผู้ยศหนักศักดิ์ใหญ่ หรือเป็นประเภทกรรมฐานขุนนางหรูๆ หราๆ แต่วัตถุสิ่งของภายนอก แต่จิตใจหาคุณความดีมิได้เลย อันนี้ท่านไม่สรรเสริญ ท่านชื่นชมบุคคลประเภทอ่อนน้อมถ่อมตนทำตัวประดุจผ้าขี้ริ้ว แต่ภายในใจนั้นหรูหรางดงามด้วยธรรม จะเรียกว่า เศรษฐีธรรม ก็ไม่ผิด

    ช่วงออกพรรษาเป็นระยะที่พระผู้มุ่งความสงบมีโอกาสหลีกเร้นหาที่ภาวนาในป่าเขาที่สงบสงัด แม้ท่านเองก็เช่นกัน ท่านปรารถนาจะวิเวกอยู่โดยลำพัง เพราะสะดวกต่อการภาวนามาก ท่านว่าไปวิเวก 2 คนขึ้นไปเหมือนน้ำไหลบ่า มันขัดมันข้องอยู่ในตัวเพราะต้องระมัดระวังกันและกัน ต้องคอยดูคอยห่วงคอยรับผิดชอบกันอยู่ในตัวนั้นแล แต่การไปคนเดียวเป็นความเพียรอยู่ตลอดเวลา ดังท่านเล่าว่า

    "...ไปที่ไหน ไปแต่องค์เดียว เป็นความเพียรตลอดเวลา ตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทั่งถึงหลับ เดินจงกรมจากหมู่บ้านนี้ไปหมู่บ้านนั้น เดินจงกรมทั้งนั้นนะ เป็นความเพียรตลอดอยู่นั้น ก็เวลาไหนมันเผลอจากความเพียร พรากความเพียรนี้ที่ไหน นี่เป็นตามนิสัยของเจ้าของ มันเป็นอย่างนั้น

    มาอยู่กับหมู่กับเพื่อนนี้ก็เป็นความจำเป็นก็อยู่เสีย เช่นอย่างมาอยู่กับพ่อแม่ครูอาจารย์มั่นในพรรษา เราต้องดูแลหมู่เพื่อนต้องกังวลวุ่นวายนั่นนี่เป็นธรรมดา ทั้งเพื่อการอบรมศึกษาของเราเองอีก แต่ก็ทนเอา...ครั้นพอออกจากนั้นแล้ว ถึงได้ดีดผึงเลย เพราะฉะนั้น ท่านถึงรู้นิสัยละซิ ว่าพอรู้ว่าเราจะไปท่านก็ถาม

    "ไปกับใคร ?"

    "ไปองค์เดียวครับกระผม"

    "เออ ท่านมหาไปองค์เดียว ใครอย่าไปยุ่งท่านนะ" ท่านรู้ทันทีนะ "ให้ท่านไปองค์เดียวนะ ท่านมหา..."

    มีบางครั้งเหมือนกันที่ท่านอาจารย์มั่นพูดหยอกเล่นกับท่าน เช่น ในเวลาที่ท่านขอลาวิเวก ทั้งๆ ที่องค์ท่านก็ทราบดีว่า นิสัยของท่านจริงจังขนาดไหน แต่เวลาจะไปจริงๆ เข้า องค์ท่านก็พูดหยอกเล่นด้วยความเมตตาว่า

    "เอาให้ดีนะ"

    การเลือกสถานที่ภาวนาในเวลาท่านออกวิเวกนั้น เพื่อให้สะดวกต่อการบำเพ็ญเพียร ท่านมักถือปฏิบัติ ดังนี้

    "...มักเลือกสถานที่ภาวนาโดยสังเกตดูว่าหมู่บ้านไหนมีบ้านสัก 3-4 หลังคาเรือน บ้าง 9-10 หลังคาเรือนบ้าง จะได้ข้าวปลาอาหารขนมคาวหวานชนิดไหนมากน้อยเพียงใดไม่เป็นเรื่องวิตกกังวลแต่อย่างใด การขบการฉันก็พอเป็นเครื่องยังชีพให้มีชีวิตเป็นไปเพื่อประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้ก็เอาแล้ว ไม่เห็นแก่รสชาติ ไม่เห็นแก่ร้อนหรือเย็นยิ่งกว่าความเจริญก้าวหน้าทางจิตใจ..."

    การออกเที่ยวกรรมฐานของท่านอาศัยเดินด้วยเท้าเปล่า เพราะแต่ก่อนรถยนต์ไม่มี ถนนหนทางไม่มี แบกกลดสะพายบาตรเข้าป่ารกชัฏ ถ้ำ เงื้อมผา เพื่อหาสถานที่สงบวิเวก ผ้าที่ท่านนำติดตัวไปก็มีเฉพาะผ้า 3 ผืน คือ สบง จีวร สังฆาฏิ และผ้าอาบน้ำอีกผืนหนึ่งเพื่อใช้ผลัดเปลี่ยนตอนสรงน้ำหรือใช้เป็นผ้าห่อบาตรและเช็ดบาตรด้วย ความทุกข์ยากแสนสาหัสจากการออกธุดงค์นั้นมีหลายแบบหลายอย่าง

    ทุกข์เพราะหนาว

    ความทุกข์แบบหนึ่งที่พระกรรมฐานผู้มุ่งธรรมต้องประสบเสมอๆ คือทุกข์จากฤดูกาล เฉพาะอย่างยิ่งหน้าหนาวทางอีสานท่านกล่าวไว้ ดังนี้

    "...อากาศหนาวจริงๆ เวลาออกวิเวกเพราะไม่นำผ้าห่มติดไปด้วย ใช้แค่จีวรกับผ้าสังฆาฏิพับครึ่งแล้วห่มพอกันหนาวได้บ้าง แต่ถ้าคืนไหนหนาวมากจริงๆ คืนนั้นนอนไม่ได้เลย ต้องลุกขึ้นนั่งสมาธิภาวนาสู้เอาตามหน้าตามตาแขนขารวมถึงริมฝีปากเหล่านี้แตกหมด ตกกระหมด

    การอาบน้ำต้องรีบอาบตอนกลางวันหลังปัดกวาดใบไม้แล้ว อาบในคลองบ้าง ตามซอกหิกซอกผาบ้าง หรือในห้วยในคลองที่ไหนพออาบได้ก็อาบ ถ้ากะเวลาก็ประมาณบ่าย 3 โมง เพราะอาบค่ำนักไม่ได้ อากาศหนาวมากจริงๆ น้ำก็เย็นมาก ทั้งๆ ที่ตอนนั้นยังหนุ่มน้อยอยู่ แต่มันก็ยังหนาวถึงขนาดนั้น..."

    สำหรับเรื่องกุฏิที่พักนั้น ท่านให้ชาวบ้านทำเพียงวันเดียวก็เสร็จแล้ว พอใจหลบแดดหลบฝน ป้องกันชื้อหรือร้อนหนาวได้ก็เพียงพอแล้ว ลักษณะก็ทำเหมือนปะรำ โดยเอาใบไม้มาวางทำเป็นร้าน เอาใบไม้วางข้างบน แล้วเอากลดแขวนข้างล่าง ท่านเคยเล่าถึงความหนาวเหน็บในระหว่างการวิเวกในป่าว่า

    "...ช่วงหน้าหนาวแม้ว่าทำถึงอย่างนั้นก็ตาม น้ำค้างยังคงพัดปลิวเข้ามาถึงได้เปียกเหมือนกับเราซักผ้านั่นแล เปียกทุกคืนทุกเช้า ดังนั้น พอฉันเช้าเสร็จ ถึงได้เอาออกไปตากแดด ถ้าตากเช้าไป แดดก็ยังไม่มี ต้องทิ้งไว้นั้นก่อน กางทิ้งไว้อย่างนั้น

    พอฉันเสร็จแล้วก็เอามุ้งออกไปตากที่แดด แม้ตากอย่างนั้นทุกวันๆ มันก็ยังขึ้นราได้ เป็นจุดดำๆ ของเรา มันเหมือนกับลายเสือดาวนั่นแหละ ทั้งๆ ที่มุ้งสะอาดอยู่ก็ขึ้นรา เนื่องจากมันไม่ได้แห้งตามเวล่ำเวลาของมัน..."

    สำหรับบริเวณใกล้เคียงที่พักนั้น จะมีทางจงกรมหลายสายอยู่ใต้ร่มไม้เพื่อเดินในเวลากลางวัน เพราะช่วงเช้าสายหรือเที่ยงบ่ายนั้นต้นไม้จะให้แนวร่มต่างกันไป จึงต้องมีทางจงกรมไว้หลายๆ สาย สายไหนร่มในช่วงใดก็เดินจงกรมช่วงเวลานั้น

    ส่วนในบางที่เป็นที่โล่งๆ แจ้งๆ ที่ไม่มีต้นไม้ มักใช้เป็นทางจงกรมไว้เดินตอนกลางคืน เผื่อว่าหากมีงู แมงป่อง หรือสัตว์มีพิษอื่นๆ ผ่านมาก็จะพอมองเห็นได้เป็นเงาดำๆ ท่านไม่ได้จุดไฟตอนเดินจงกรม เพราะในช่วงออกวิเวกนั้นท่านพกเทียนไขไปนิดหน่อยเท่านั้น หากไม่จำเป็นต้องจุดจริงๆ ท่านจะไม่จุด

    เรื่องยารักษาโรค ท่านว่าไม่ต้องพูดถึง เพราะไม่เคยได้พกไปด้วยเลย ถึงแม้จะเจ็บไข้ได้ป่วยหรือเจ็บท้องปวดศีรษะก็ตาม ท่านมีแต่ใช้การทำภาวนาเท่านั้นเป็นยาเป็นธรรมโอสถอันเลิศ และแท้ที่จริงแล้วแม้ในยามปกติตอนที่อยู่ในวัดยังไม่ได้ออกวิเวก หากไม่จำเป็นจริงๆ แล้ว ท่านก็ไม่นิยมใช้ยาใดๆ ทั้งสิ้น ท่านเคยอธิบายเหตุผลว่า

    "...เราไม่ปฏิเสธเรื่องยา แต่สำหรับเรื่องความกังวลจนเกินเหตุเกินผลของสมณะนั้น ผิดทางของพระพุทธเจ้า ผิดทางของผู้จะฆ่ากิเลส ผิดทางของผู้เรียนเพื่อรู้สัจธรรม

    เรื่องหยูกยาก็ให้นำมารักษากันไปได้อยู่ แต่ไม่ให้หลงจนเกิดความกังวลอันเป็นเรื่องของกิเลส ท่านไม่ได้มารักษามาสงวนชีวิตจิตใจยิ่งกว่าธรรม..."

    อาหารป่า

    ด้วยความมุ่งมั่นที่จะพ้นจากทุกข์ให้ได้ ทำให้ท่านไม่เห็นแก่การกินการนอนยิ่งกว่าการทำความเพียรเพื่อรบกับกิเลสภายในจิตใจ จริตนิสัยของท่านในเรื่องภาวนาถูกกับการอดอาหาร เพราะทำให้ธาตุขันธ์ร่างกายเบาสบาย การตั้งสติทำสมาธิภาวนาก็ง่าย สติปัญญาในการแก้กิเลสมีความคล่องตัวกว่าการขบการฉันที่สมบูรณ์ ท่านจึงอดอาหารอยู่เป็นประจำจนร่างกายผ่ายผอม บ่อยครั้งในเวลาเดินบิณฑบาตหรือเดินจงกรมแทบจะก้าวขาไม่ออก แต่ผลการภาวนานั้นกลับเจริญขึ้นๆ ท่านเคยพูดถึงสภาพจิตใจในระยะนั้นว่า

    "...จิตใจยิ่งเด่นเหมือนจะเหาะเหินเดินฟ้า ถ้าได้รับอาหารการกินดีมันก็มีแต่อยากนอน มันมีแต่ขี้เกียจขี้คร้าน การตั้งสติก็ยาก การพินิจพิจารณาทางด้านปัญญาก็ยาก..."

    สมัยปัจจุบัน หากท่านเห็นอาหารประเภทที่เคยขบเคยฉันในสมัยหนุ่มซึ่งเคยต่อสู้กับกิเลสแบบสมบุกสมบันชนิดรอดเป็นรอดตายมา อาหารนั้นๆ ก็ยังทำให้สะดุดกึ๊กในใจทุกทีไปเมื่อเห็นเข้า ด้วยรำลึกบุญรำลึกคุณนั่นเอง ดังคำกล่าวของท่านกับพระเณรว่า

    "...พวกหน่อไม้ พวกผักอะไร ผักกระโดนกระเดน ผักเครื่องของป่านั่นแหละมันสะดุดๆ นะ มันเหมือนกับว่าเป็นคู่มิตรคู่สหาย คู่พึ่งเป็นพึ่งตายกันมาแต่ก่อน มันเป็น มันไม่ได้ชินนี่ ทุกวันนี้ก็ไม่ชิน ผักอะไรเขาเรียกโหระพาระเพออะไรหอมๆ นั่น นั่นก็มีอยู่บนเขานะ มีอยู่ตามน้ำซับน้ำครำ พวกนี้มีแต่มันเป็นเถาวัลย์ มันไม่ใช่เป็นต้นนะ คือมันเป็นเถาเกิดอยู่ตามน้ำซับน้ำครำ...พระกรรมฐานไปอยู่ที่ไหนต้องมีน้ำ ไม่มีได้เหรอ แล้วก็ผักมันมีหลายชนิด...

    ผักชนิดต่างๆ มีเยอะนะในป่า องค์หนึ่งรู้อย่างหนึ่งๆ นั่นแหละที่ได้กินผักหลายต่อหลายชนิดก็เพราะองค์หนึ่งรู้อย่างหนึ่งๆ เวลาเอามากินน่ะ เคยพบกับเพื่อนกับฝูงหลายจังหวัดต่อหลายจังหวัดนี่นะ องค์นั้นชำนาญกินผักอันนั้น องค์นี้ชำนาญผักอันนั้นๆ...หลายองค์ต่อหลายองค์พบกันหลายครั้งหลายหน มันก็จำได้ซี มันก็กว้างขวางไปเอง...บ้านไหนคนนับถือมากๆ ยุ่งมากอาหารการบริโภคมาก เขากวน มันไม่ได้ภาวนา ก็เราหาภาวนาอย่างเดียวนี่ เพราะฉะนั้น ที่เห็นว่าเป็นความสะดวกในการภาวนา เราจึงชอบที่นั่น ก็ที่คนไม่ยุ่งนั่นเอง เมื่อคนไม่ยุ่งอาหารมันก็ไม่ค่อยมีละ

    และนอกจากนั้น ยังไปหาบ้านเล็กๆ น้อยๆ 3-4 หลังคาเรือนบ้าง 9 หลัง 10 หลังคาเรือนบ้างก็อยู่อย่างนั้น ถ้าเราไม่ฉันกี่วันนี้ก็ไม่ได้พบคนละ พบแต่เราคนเดียวนี่ เขาก็ไม่มา มาหากันอะไร เขาก็ไม่ใช่เป็นคนยุ่งกับพระด้วย เราก็ไปหาที่เช่นนั้นด้วย แน่ะก็อยู่สบาย..."
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    กินแบบนักโทษ

    ท่านเข้มงวดจริงจังมากกับการควบคุมเรื่องอาหารการขบฉัน เพื่อมิให้มาเป็นโทษหรือเป็นพิษเป็นภัยต่อการภาวนา ถึงแม้จะทุกข์ยากเพียงใดท่านก็พยายามอดทน ดังนี้

    "...ข้าวไม่กินภาวนายิ่งดี หลายวันกินทีหนึ่ง หลายๆ วันถึงกินทีหนึ่ง สมาธิก็แน่ว พอทางขั้นปัญญานี้ก็เหมือนกัน ปัญญาก็คล่องตัว ถ้าอดอาหารนะมันช่วยกันจริงๆ นี่หมายถึงผมเอง จะว่านิสัยหยาบอะไรก็แล้วแต่เถอะ...ถ้าฉันอิ่มๆ แล้ว โอ้โห ขี้เกียจก็มาก นอนก็เก่ง ราคะตัณหาก็มักเกิด ได้ระวังอันนี้ละมากนะ

    คือธาตุขันธ์เวลามันคึกคะนองมันเป็นของมันนะ เราไม่ได้ไปคึกคะนองกับมัน ไม่ได้ไปสนใจยินดีไยดีกับมันก็ตามนะ แต่เรื่องธาตุเรื่องขันธ์เป็นเครื่องเสริม มันแสดงออกมาเราก็รู้ อย่างอาหารดีๆ ตามสมมตินิยมนี้ด้วยแล้ว พวกผัดๆ มันๆ โห เก่งมากนะ ได้ระวัง ผมไม่ได้กินแหละ ถึงจะไปในเมืองที่ไหนจำเป็นก็กินนิดๆ ระวังขนาดนั้นนะ

    อาหารสัปปายะ อาหารเป็นที่สบายในธรรมที่ท่านสอนไว้ว่า ที่สบายในการภาวนาต่างหากนี่ ไม่ได้สบายเพื่อราคะตัณหาเกี่ยวกับธาตุขันธ์นี่นะ...กินแล้วธาตุขันธ์ก็ไม่กำเริบ การภาวนาก็สะดวกสบาย...ท่านหมายเอาอย่างนั้นต่างหาก...จึงต้องได้ระมัดระวัง โอ๊ย กินแบบนักโทษนั่นแหละ พูดง่ายๆ...จะเห็นแก่ลิ้นแก่ปากไม่ได้นะ มันต้องได้มองดูธรรมอยู่ตลอดเวลา อยากขนาดไหนก็ไม่เอา ถ้าเห็นว่ามันเป็นข้าศึกต่อธรรมแล้ว ต้องได้บังคับกันอยู่ตลอด...

    นี่พูดถึงเวลาฝึกทรมานเจ้าของอาหาร จะต้องมีแต่อาหารอย่างว่าละ เช่น ข้าวเปล่าๆ ไม่ต้องพูดละ จนชินเรื่องฉันข้าวเปล่าๆ อยู่ในป่าในเขา บางทีถ้าสมมติว่าเขาตำน้ำพริกมาให้ เขาก็ใส่ปลาร้าเสีย ปลาร้าก็เป็นปลาร้าดิบอย่างนี้ มันก็ฉันไม่ได้เสีย จะว่ายังไงเพราะไม่ได้มีใครตามมานี่ เขาจะตามมาอะไร เราก็ไม่ให้เขาตามนี่ เราไม่ต้องการยุ่ง บางทีเขาก็ตำน้ำพริกให้สักห่อหนึ่งมา น้ำพริกถ้ามีแต่พริกล้วนๆ เราก็ฉันได้ แต่นี้มันมีปลาร้านั้น ปลาร้าดิบนี่ เขาไม่ใช่ทำปลาร้าสุกๆ มันก็เลยกินไม่ได้...

    ...ฉันข้าวเปล่าๆ มันฉันได้มากแค่ไหน 2-3 คำมันก็อิ่มแล้ว...ทีนี้เดินจงกรมตัวปลิวไปเลย นั่งภาวนานี่เป็นหัวตอ ไม่มีโงกมีง่วง มันก็บ่งให้เห็นได้ชัดๆ ว่า เพราะอาหารนั่นเอง มันทำให้โงกให้ง่วง...ถ้ามีกับดีๆ ก็ฉันได้มาก ฉันได้มากก็นอนมาก ขี้เกียจมากน่ะซี โงกง่วง นั่งสัปหงกงกงันไปละ ก็เคยเป็นอยู่แล้วรู้อยู่ ไปอยู่อย่างนั้นมันไม่นี่ ฉันอาหารอย่างที่ว่า นี่นะ...เพราะฉะนั้น จึงอดบ้าง อิ่มบ้าง อยู่ไป ขอให้ใจได้สะดวกสบาย..."
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    ยอดนักรบ

    ด้วยเหตุนี้เอง ทั้งที่ทุกข์แสนทุกข์ ทั้งที่ลำบากแทบเป็นแทบตาย บางครั้งแทบจะเอาชีวิตไม่รอด แต่ความที่จิตมีความเจริญขึ้นๆ ท่านจึงยอมอดยอมทนได้ จนมีอยู่ครั้งหนึ่งหลังท่านกลับจากการออกวิเวกลงมาจากเขา

    เมื่อกลับมาถึงวัดบ้านหนองผือก็เข้ากราบท่านอาจารย์มั่น รูปลักษณ์ท่านตอยนั้นปรากฏว่า เนื้อตัวซีดเหลืองเหมือนทาขมิ้น ปานผู้ป่วยเป็นโรคดีซ่าน ทั้งร่างกายก็ซูบผอมยังเหลือแต่หนังห่อกระดูก จากเดิมคนหนุ่มอายุ 30 กว่า กลับดูเหมือนคนแก่คนเฒ่า

    ดังนั้น เมื่อท่านอาจารย์มั่นมองเห็นลูกศิษย์ คงตกตะลึงขนาดอุทานว่า

    "โฮ้ ! ทำไมเป็นอย่างนี้ล่ะ ?"

    ลูกศิษย์ยังคงนิ่งอยู่ไม่ได้ตอบอะไร ท่านเกรงจะตกใจและเสียกำลังใจ ก็กลับพูดให้กำลังใจในทันทีนั้นว่า

    "มันต้องอย่างนี้ซิ จึงเรียกว่า นักรบ"

    เราไม่ใช่...พระเวสสันดรนะ !!!

    คราวหนึ่งของการออกวิเวกในป่า ท่านไม่ออกฉันอาหารเป็นเวลาหลายต่อหลายวันเข้าจนเป็นที่ผิดสังเกตของชาวบ้านถึงขนาดหัวหน้าบ้านต้องตีเกราะประชุมลูกบ้านพากันไปดู ก็พบว่าท่านอยู่เป็นปกติ แต่ก็ดูซูบซีดผ่ายผอมมาก เหตุการณ์ตอนนี้ท่านเล่าว่า

    "...กระทั่งชาวบ้านเขาแตกบ้านไปดู เรายังไม่รู้อีกว่าเจ้าของจะตาย แต่ชาวบ้านเขารู้ เขาตีเกราะประชุม เคาะ ก็อกๆ พวกลูกบ้านก็พากันมาประชุม

    "ใครๆ ว่ายังไง ? ใครเห็นว่ายังไง ? พระองค์นี้ที่มาอยู่บ้านเราเวลานี้ มาได้หลายเดือนแล้วนะ พระองค์นี้มาอยู่ที่นี่ ตั้งแต่มาไม่ได้เห็นมาบิณฑบาต หกวันเจ็ดวันด้อมๆ มาสักวันแล้วหายเงียบ หายเงียบ หายมาอย่างนี้ตลอด

    ท่านไม่ตายแล้วเหรอ ? พวกเรากินวันหนึ่งสามมื้อสี่มื้อยังทะเลาะกันได้ ทะเลาะเพราะไม่มีอาหารกิน มันกินข้าวเปล่าๆ ไม่ได้มันจะทะเลาะกัน แต่นี่ท่านไม่เห็นกินเลยนี่ ท่านไม่ตายแล้วเหรอ?"

    ผู้ใหญ่บ้านถามลูกบ้าน "ถ้าท่านไม่ตาย ท่านไม่โมโหโทโสอยู่เหรอ ? ไปดูซิ เราก็ไม่เคยเห็นตั้งแต่เกิดมา พระไม่กินข้าว" เขาก็พูดขนาดนั้นละ

    "เราก็ไม่เคยเห็นพระไม่กินข้าว เพิ่งเห็นนี่แหละ ลองไปถามท่านดูซิ แต่มีข้อแม้อันหนึ่งนะ" เขาก็ฉลาดพูดอยู่

    "เวลาจะไปต้องระวังนะ พระองค์นี้ไม่ใช่พระธรรมดานะ พระองค์นี้เป็นมหานะ" เขาว่า "แล้วไปเดี๋ยวท่านจะเขกหน้าผากเอานะ ไปสู้ท่านไม่ได้ท่านจะเขกหน้าผากเอานะ ให้ระวังนะ ถ้าเป็นพระธรรมดาเราก็พอจะพูดอะไรต่ออะไรกันได้ นี่ท่านเป็นมหาเสียด้วย ท่านทำอย่างนั้นนี่นะ เราไปว่าสุ่มสี่สุ่มห้าไม่ได้นะ เดี๋ยวท่านจะตีหน้าผากเอา"

    เขาเตือนลูกบ้านเขา พอมาถึงเราก็เอาจริงๆ หลั่งไหลกันมานี่

    "โอ้โฮ นี่มาอะไรนี่ จะมาแห่พระเวสสันดรเข้าเมืองเหรอ ? อาตมาไม่ใช่พระเวสสันดรนะ"

    "ไม่ใช่ๆ"

    "อย่างนั้นมาอะไร ?"

    เขาก็มาเล่าตามเรื่องนี่แหละ ให้ฟังมันก็มีอยู่ 2 จุด จุดหนึ่งว่า

    "ท่านไม่ตายแล้วเหรอ ? ถ้าท่านไม่ตายท่านไม่โมโหโทโสอยู่เหรอ ?"

    พอเขาพูดจบลง เราก็มีอยู่ 2 จุด เราก็ถาม

    "แล้วเป็นยังไง ? ตายแล้วยังล่ะ"

    "เอ๊ ก็ไม่เห็นท่านตาย ท่านยิ้มแย้มแจ่มใสอยู่ ไม่เห็นมีอะไรน่าตาย"

    "แล้วเป็นยังไง โมโหโทโสอยู่ไหม ?"

    "ก็ไม่เห็นท่านโมโหโทโส ท่านยิ้มแย้มอยู่ตลอดเวลา"

    "เอาละ ให้เข้าใจนะ การอดอาหารนี่อาตมาอดไม่ใช่เพื่อฆ่าตัวเองนะ อดเพื่อฆ่ากิเลสซึ่งมันฆ่ายาก กิเลสนี่มันอยู่ภายในหัวใจนี่ ต้องใช้การอดอาหารช่วย แล้วความโมโหโทโสก็เป็นกิเลส จะโมโหโทโสไปหาประโยชน์อะไร มีเท่านั้นเหรอ ?"

    "มีเท่านั้นแหละ"

    "ไป ไล่กลับ ยังไม่ถึง 10 นาทีนะ ไล่กลับ..."

    มีครั้งหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการอดอาหารในระยะที่ท่านยังคงออกวิเวกบำเพ็ญเพียรอยู่คือในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง มีอุบาสกมาพูดอวดภูมิต่อท่าน อุบาสกผู้นี้เคยบวชเรียนมาก่อนหลายพรรษา และมีความรู้จบนักธรรมตรี จึงมีความคุ้นเคยกับชีวิตพระพอสมควร

    แกเห็นท่านอดอาหารมาหลายวันแล้ว รู้สึกคัดค้านอยู่ในใจว่าไม่เห็นเป็นประโยชน์อันใด นอกเสียจากจะทำให้ทุกข์ยากลำบาก และเสียเวลาโดยเปล่าเท่านั้นเอง วันหนึ่งแกเลยยกเอาเรื่องในพุทธประวัติมาพูดกับท่านว่า

    "ท่านจะอดทำไม ? ก็ทราบในพุทธประวัติว่า พระพุทธเจ้าอดข้าวตั้ง 49 วันก็ยังไม่ได้ตรัสรู้เลย แล้วท่านมาอดอะไร มันจะได้ตรัสรู้หรือ ?"

    ในเรื่องนี้ท่านก็เคยรู้เคยศึกษาในตำรามาก่อนแล้วว่า พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้พระภิกษุอดอาหารเพื่อบำเพ็ญจิตตภาวนาได้ แต่หากเป็นไปเพื่อการโอ้อวด ท่านทรงปรับอาบัติทุกขณะการเคลื่อนไหว หรือการอดอย่างหาเหตุผลไม่ได้ คือสักแต่ว่าอดเพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่ฝึกฝนด้านจิตตภาวนาเลย อย่างนี้ก็ไม่เกิดประโยชน์อันใด นอกเสียจากทำให้ทุกข์ยากลำบากเปล่าเท่านั้น

    การอดอาหารของท่านมีความหมายตามตำราที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาต ด้วยเหตุผลคือท่านสังเกตพบว่าจริตนิสัยของท่านนั้นถูกกับการอดอาหาร เพราะช่วยให้การบำเพ็ญจิตตภาวนาเจริญขึ้นได้เร็วกว่าขณะที่ออกฉันตามปกติ ท่านได้พิจารณาอย่างรอบคอบและเห็นผลประจักษ์กับตนเองเป็นลำดับไปเช่นนี้ ทำให้ท่านจึงยังมั่นคงที่จะใช้อุบายวิธีนี้เพื่อการภาวนา และถึงแม้จะมีผู้มาพูดคัดค้านต้านทานอย่างไร ก็ไม่ทำให้ท่านลังเลใจคิดเปลี่ยนแปลงเป็นอื่นได้

    ครั้นจะอธิบายเหตุผลให้เป็นที่เข้าใจ ก็ดูว่าเป็นเรื่องยืดยาวเสียเวลาโดยเปล่า เหตุนี้เองท่านจึงชอบที่จะตอบเป็นอุบายให้ได้นำไปคิดอ่าน สำหรับอุบาสกผู้นี้ก็เช่นกัน ท่านตอบกลับไปว่า

    "แล้วโยนกินทุกวันเหรอ ?"

    "กินทุกวันนะซิ ผมไม่อดหรอก"

    ว่าดังนั้นแล้ว ท่านก็พูดใส่ปัญหาแก่อุบาสกผู้เข้าใจว่าตัวรู้เรื่องในตำราเป็นอย่างดีว่า

    "...แล้วโยมได้ตรัสรู้ไหม ???..."
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    ถือ "ความทุกข์" เป็นครู เป็นหินลับสติปัญญา

    ความเป็นนักต่อสู้ของท่านอีกประการหนึ่งก็คือ แม้อุบายวิธีบางอย่างจะทำให้ท่านต้องพบกับความทุกข์แสนทุกข์ แต่หากผลปรากฏเป็นความเจริญทางด้านจิตใจมากขึ้น ท่านก็จะพยายามอดทนต่อสู้ให้ผ่านไปให้จงได้ คำกล่าวตอนหนึ่งของท่านกับพระเณรดังนี้

    "...นิสัยของผมเองนั้นเป็นนิสัยที่หยาบ จะว่าคนหยาบก็ได้ ไปอยู่ในสถานที่ธรรมดา ความเพียรไม่ค่อยดี ผลที่จะพึงได้ก็ไม่ค่อยปรากฏนัก...แต่หากเป็นบางสถานที่แล้วกลับทำให้ธรรมภายในใจเจริญขึ้นๆ...

    ...จึงมักแสวงหาในที่กลัวๆ เสมอ ทั้งๆ ที่เราก็กลัว แต่ผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากความกลัวนั้นเป็นผลประโยชน์อัศจรรย์มหาศาล เราจึงจำเป็นต้องได้สละเป็นสละตายเข้าอยู่บำเพ็ญเพื่อธรรม..."

    ด้วยเหตุนี้ ท่านจึงนิยมใช้อุบายฝึกจิต ด้วยการเข้าป่าช้าเผาหรือฝังคนตายบ้าง ในถ้ำเงื้อมผาป่าดงบ้าง ในดงที่เป็นที่อยู่ของช้าง หมี เสือ หรือสัตว์ร้ายต่างๆ บ้าง อาศัยสัตว์เหล่านั้นเป็นครู ท่านออกวิเวกบางสถานที่เป็นที่ที่เสือมักชอบผ่านมา หรือเป็นที่อาศัยของมันในบริเวณใกล้ๆ กันนั้น แม้ว่าจะเดินหรือนั่งตรงไหนอย่างไร ก็คิดกลัวอยู่ตลอดว่า มันคงจะอยู่ใกล้ๆ หรือกลัวว่ามันจะมากัดกิน ท่านเคยเล่าถึงสถานที่เช่นนี้ว่า

    "...น่ากลัวจริงๆ กลางวันก็กลัว เวลาไหนก็กลัว ยิ่งกลางคืนด้วยแล้วจิตยิ่งมีแต่ตั้งหน้าตั้งตาที่จะกลัว นั่งก็กลัว เดินจงกรม กลางค่ำกลางคืนดึกดื่นก็เดินทั้งๆ ที่กลัวๆ นั้นเอง..."

    ท่านเล่าถึงคราวเข้าไปดัดตัวเองที่ป่าเสือแห่งหนึ่ง ดังนี้

    "...อยู่ในป่าในเขามันตื่นเต้น...แต่ก่อนเป็นป่าพวกสัตว์พวกเสือเนื้อร้ายเต็มไปหมดจริงๆ...ก้าวเข้าทางนี้ปั๊บเป็นป่าแล้วมีสัตว์แล้ว พวกสัตว์พวกเนื้อ พวกอีแก้ง พวกหมู พอลึกเข้าไปก็พวกกวาง พวกช้าง พวกเสือ เสือมีอยู่ทั่วไป สัตว์มีอยู่ที่ไหน เสือมีอยู่ที่นั่น มีอยู่ทั่วไป...

    บางทีก็เสียงเสืออาวๆ ขึ้นแล้ว อาวๆ ขึ้นข้างทางจงกรม โถ เสียงเสือมันไม่เหมือนเสียงเพลงลูกทุ่งละซี มันจะงับหัวเอาประมาทได้เหรอ เสียงอาวๆ ขึ้นข้างๆ ไม่รู้มันมาตั้งแต่เมื่อไร ตอนมันหยุดเสียงคำรามมันอาว ตามภาษาของมันแล้วนั่นละ มันน่ากลัวตอนนั้น ไม่ทราบมันจะมาแบบไหนซิ ได้ยินเสียงมันอยู่ มันอยู่ตรงนั้นก็ค่อยยังชั่วนะ พอเงียบเสียงไปแล้วไม่ทราบจะมาแบบไหน...

    ...เราไปอยู่ในที่ดัดสันดานจริงๆ นะ ไม่ใช่ธรรมดานะ มีแต่ที่ดัดสันดานทั้งนั้นแหละ ป่าก็ป่าเสือ กลางคืนเวลาเราเดินจงกรม มันไม่ใช่ธรรมดานะ แล้วยิ่งเสียงเสือด้วยนะ เราไปอยู่แคร่ ตอนตื่นเช้ามาเห็นรอยมันผ่านไปทางนี้แล้วฉากออกไป เพราะเราปัดกวาดไว้เรียบร้อย มันเดินผ่านไปผ่านมา มันก็เห็น โอ้ เสือมา มาเมื่อไหร่ไม่รู้ แต่เขาก็ไม่ได้สนใจกับเรา เขาเดินฉากไปเฉยๆ แสดงว่าเขาไม่ได้สนใจกับเรา เขาไปตามประสาของเขา เราก็รู้

    ถ้ามันเดินวกเวียนนี่สนใจนะ มันสนใจ ถ้าพอทำ (หมายถึงเสือกัดกิน) มันก็อาจจะทำอย่างว่านะ นี่ไม่มี ไม่เคยปรากฏ เราเองก็ไม่เคยปรากฏ เสือจริงๆ ก็ไม่เคยเห็นในป่า แต่เสียงมันมีอยู่ทั่วไป กระหึ่ม กระหึ่ม

    โอ้ ขนนี้ไม่ทราบว่ามันลุกซู่ผึงเหมือนจรวดดาวเทียม มันเป็นเองนะ ไม่ทราบว่ากลัวไม่กลัว มันลุกซู่ จิตหดเข้ามาหันเข้ามา สมมติว่าอยู่ในขั้นบริกรรม พุทโธ ก็ติดกับ พุทโธ ไม่ให้ออกไปหาเสือ ความคิดนี้จะไปคว้าเอาพิษเอาภัย เอาอารมณ์ไม่ดีงามเช่นอย่างกลัวอย่างนี้ มันก็เป็นอันตรายอันหนึ่ง ต้องคิดอย่างนั้นไม่ให้ออก หมุนติ้วนั่นมันเป็นอย่างนั้น..."
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    ชนะความกลัวด้วย "พุทโธ"

    ท่านว่าจากนั้นท่านก็ใช้ความกลัวนี้เองเป็นครูหรือเป็นอุบายเพื่อฝึกจิตให้เห็นเหตุเห็นผลกัน ดังท่านเคยเล่าว่า

    "...พอความกลัวเริ่มขึ้นมาก สติเริ่มจับ คือจิตนี้ห้ามหรือบังคับเด็ดขาดไม่ให้เคลื่อนจากจุดที่ตนต้องการ เช่น เราบริกรรม พุทโธ พุทโธ...ก็ให้อยู่กับคำบริกรรมนี้เท่านั้น เป็นก็ตาม ตายก็ตาม เสือก็ตาม ช้างก็ตาม สัตว์อันตรายใดๆ ก็ตาม ไม่ไปคิด ไม่ไปยุ่ง ให้รู้อยู่จุดเดียวคือคำบริกรรมนี้เท่านั้น

    นี่หมายถึงขั้นเริ่มแรกของการภาวนา ซึ่งต้องอาศัยคำบริกรรม กลัวมากเท่าไร จิตยิ่งติดแนบกับคำบริกรรมไม่ให้ปราศจากเลย ความมุ่งหมายนั้นคือหมายตายกับธรรมนี้เท่านั้น ไม่ให้จิตไปสู่อารมณ์ที่กลัวนั้นๆ ธรรมคืออะไร คำบริกรรมนั้นแลคือบทแห่งธรรม...

    ธรรมแท้จะปรากฏที่จิต ที่จิตกำลังบริกรรมอยู่นั้นแหละคือสั่งสมพลังของธรรมให้เกิดขึ้นที่ใจมากน้อยตามความพากเพียรของตน

    เมื่อสติได้ติดแนบอยู่กับคำบริกรรมบังคับจิตไม่ให้แย็บออกไปสู่อารมณ์ที่เป็นภัย ซึ่งทำให้น่ากลัวน่าหวาดเสียวนั้น ให้อยู่เฉพาะกับคำบริกรรมนี้ติดต่อสืบเนื่องกันเป็นลำดับลำดา ก็เป็นการสั่งสมพลังคือกำลังของอรรถของธรรมขึ้นภายในจิตใจ หนุนใจให้มีความแน่นหนามากขึ้นๆ

    สุดท้ายจิตใจดวงนั้นก็แน่นเหมือนกับหินทั้งก้อนหรือภูเขาทั้งลูก...ที่นี้ ความที่เคยว่ากลัวๆ คิดไปถึงอันใด คำว่าน่ากลัวไม่กลัวทั้งนั้น เอ้า ! คิดหมดในแดนโลกธาตุนี้กลัวอะไร จะมีสิ่งน่ากลัวแม้สิ่งหนึ่งมาปรากฏที่ใจนี้มีไหม ไม่มีเลย นั่นฟังซิ นั่นละ เมื่อถึงขั้นจิตเป็น อัตตา หิ อัตตโน นาโถ คือช่วยตัวเองช่วยอย่างนั้น พึ่งตนเองพึ่งอย่างนั้นอยู่กับตัวเองด้วยความแน่นหนามั่นคงก็อยู่แบบนั้น...นี่เป็นสิ่งที่เราลืมไม่ได้ในชีวิตและการภาวนาของเราซึ่งไปอยู่ในสถานที่เช่นนั้น..."
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    เสือ : หมูป่าต่อสู้ดุเดือด

    ประสบการณ์การเที่ยววิเวกของท่านทำให้ได้ยินได้ฟังเรื่องราวแปลกๆ เกี่ยวกับสัตว์ป่าหลายอย่าง เป็นต้นว่าท่านเคยเล่าการต่อสู้ระหว่างเสือกับหมูป่า ทั้งคู่นอนตายอยู่ในบริเวณใกล้ๆ กัน สภาพหมูป่าตามตัวแหลกหมด ส่วนเสือก็พุงทะลุหมด ด้วยเหตุเพราะไปเจอกันอย่างจังในช่องเขา ดังนี้

    "...มันเป็นร่องลงมา ภูเขามันมีช่องลง ช่องแคบๆ นะ ทางโน้นเป็นหลังเขา ที่จากหลังเขาลงมามันก็เป็นช่องแคบลงมา ทีนี้พอดี ไอ้หมูก็ขึ้นช่องนี้ หมูใหญ่นะ...มันเห็นกันชัดๆ อย่างนั้นนะ ไอ้เสือก็ลงมาช่องนั้นพอดี มาพบกันตรงกลางนั้นเลย ฟัดกันเลย นั่นเห็นไหมล่ะ ตายทั้งสองนะ หมูตายอยู่กับที่ เสือเสือกคลานขึ้นไปตายข้างบน ตายทั้งสองเลยนั่นแหละ อย่างนั้น กำลังวังชามันฟัดกัน นี่ไปถูกที่คับขันด้วยแล้ว ต่างคนต่างก็ไม่ถอยกัน สู้กันเลย

    สุดท้ายก็ตายทั้งสองเลย หมูตายอยู่กับที่ ส่วนเสือตะเกียกตะกายขึ้นไปนั้นก็ไปตายอยู่ที่นั่น พุงทะลุหมดเลย ลำไส้นี่ปลิวออกมาทะลุหมด ส่วนหมูก็ตามเนื้อตัวแหลกหมด เสือกัด ไอ้เสือก็พุงทะลุหมด หมูดันมันทำอย่างนี้นะ หมูมันทำอย่างนี้ สมมติว่ามันดันอย่างนี้ ไม่ใช่ตกง่ายๆ นะ มันขวิด ขวิดตลอดเลยนะ นี่ก็ตาย อย่างนั้นแหละ มันไม่ถอยกันง่ายๆ

    ที่เสือกัดมันได้เฉพาะเวลามันเผลอ ถ้าเป็นหมูใหญ่หมูโทนอย่างนั้น เวลามันผ่านไปผ่านมาเราถึงฟังเสียงรู้ หมูนี้รู้สึกว่าไม่ขยาดครั่นคร้ามต่ออะไร เสียงดังโครมคราม โครมคราม โครมครามมา ไม่ได้เก็บเสียงนะ พวกหมูป่าเป็นฝูง ก็มีเสียงดังเหมือนกัน..."
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    [​IMG]

    ตอนที่ 6 สมาธิแน่นหนามั่นคง

    ติดสุขในสมาธิ

    ย้อนกลับมากล่าวถึงการโหมความพากเพียรในพรรษที่ 10 ของหลวงตาจนทำให้ผลแห่งสมาธิธรรมของท่านในระยะนั้นมีความแน่นหนามั่นคงมาก ดังนี้

    "...จิตมีความเจริญขึ้นเรื่อยๆ สมาธิมีความแน่นหนามั่นคง ถึงขนาดที่ว่าจะให้แน่วอยู่ในสมาธินั้นสักกี่ชั่วโมงก็อยู่ได้ และเป็นความสุขอย่างยิ่งจากการที่จิตใจไม่ฟุ้งซ่าน รำคาญ ไม่อยกาจะออกยุ่งกับอะไรเลย มันเป็นการยุ่ง กวน รบกวนจิตใจให้กระพื่อมเปล่าๆ แต่มีความพอใจยินดีอยู่กับการที่จิตหยั่งเข้าสู่ความรู้อันเดียวแน่วอยู่อย่างนั้น นี่ละมันทำให้ติดได้อย่างนี้นี่เอง

    จนขนาดที่ว่า สุดท้ายก็นึกว่าความรู้ที่เด่นๆ อยู่นี้เองจะเป็นนิพพาน จ่อกันอยู่นั้นว่าจะเป็นนิพพาน สุดท้ายมันก็เป็นสมาธิอยู่อย่างนั้นละ จนกระทั่งวันตายก็จะต้องเป็นสมาธิและติดสมาธิจนกระทั่งวันตาย..."

    สำหรับตัวท่านติดสมาธิอยู่เช่นนี้ถึง 5 ปีเต็ม ยังไม่ยอมก้าวเข้าสู่ขั้นปัญญาเพื่อถอดถอนกิเลสออกให้สิ้นซาก ไต่ถามผู้รู้เพื่อหาเหตุผล เหตุการณ์ในระยะที่ยังคงติดสมาธิอยู่นี้ ท่านกล่าวด้วยระลึกคุณของท่านอาจารย์มั่นว่า

    "...หากไม่มีท่านอาจารย์มั่นมาฉุดมาลากออกไป ก็จะติดสมาธิอยู่เช่นนี้กระทั่งวันตายเลยทีเดียว แม้กระนั้นก็ตาม ก็ยังไม่ยอมลงใจง่ายๆ กลับมีข้อโต้เถียง หาเหตุหาผลกับท่านอาจารย์มั่นชนิดตาดำตาแดงทีเดียว จนถึงกับว่าพระทั้งวัดแตกฮือกันมาเต็มอยู่ใต้ถุนกุฎิเพื่อฟังการโต้กับท่านอาจารย์มั่น..."

    ท่านไม่ได้โต้ครูบาอาจารย์ด้วยทิฐิ มานะอวดรู้อวดฉลาด แต่เป็นการโต้ด้วยความที่ท่านมีความเข้าใจและเชื่อมั่นว่า อันนี้ก็เป็นของจริงอันหนึ่งของท่าน ส่วนท่านอาจารย์มั่นก็จริงอันหนึ่งของท่านเช่นกัน จึงเป็นการโต้เพื่อหาเหตุหาผลหาหลักเกณฑ์จริงๆ แต่สุดท้ายท่านก็ยอมหมอบราบต่อเหตุผลต่อความแยบคายด้วยความรู้จริงเห็นแจ้งของครูบาอาจารย์ การโต้หาความจริงในครั้งนั้นของท่าน เริ่มด้วยคำถามของท่านอาจารย์มั่นว่า "ท่านมหา สบายดีเหรอ ใจ ?"

    ลูกศิษย์ตอบ "สบายดีอยู่ สงบดีอยู่ครับกระผม"

    "ท่านจะนอนตายอยู่นั้นเหรอ ?"

    อาจารย์ถามต่อพร้อมกับแสดงสีหน้าสีตาแบบเอาจริงชนิดเตรียมเข่นเต็มที่แล้วว่า "ท่านรู้ไหม ? สุขในสมาธิเหมือนกับเนื้อติดฟัน ท่านรู้ไหม? สมาธิก็เหมือนกับเนื้อติดฟันนั้นแหละ มันสุขขนาดไหน เนื้อติดฟัน ท่านรู้ไหม ?ๆ" ท่านขนาบต่ออีกว่า "ท่านรู้ไหมว่า สมาธิทั้งแท่งนั้นละคือตัวสมุทัยทั้งแท่ง ท่านรู้ไหม ?ๆ"

    ลูกศิษย์โต้เหตุผลกับอาจารย์ทันทีว่า "ถ้าหากว่าสมาธิเป็นตัวสมุทัยแล้ว สัมมาสมาธิจะให้เดินที่ไหน !"

    อาจารย์แก้ว่า "มันก็ไม่ใช่สมาธิตาย นอนตายอยู่อย่างนี้ซิ สมาธิของพระพุทธเจ้า สมาธิต้องรู้สมาธิ ปัญญาต้องรู้ปัญญา อันนี้มันเอาสมาธิเป็นนิพพานเลย มันบ้าสมาธินี่ สมาธินอนตายอยู่นี้เหรอเป็นสัมมาสมาธิน่ะ เอ้าๆ พูดออกมาซิ"

    คราวนี้ลูกศิษย์จึงยอมลงใจ ยอมหมอบราบต่อครูบาอาจารย์ เพราะชัดเจนในเหตุผลแล้ว เพราะจากบ้านไปนาน

    จะขอกล่าวถึงเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งเป็นปีที่ท่านบวชได้ 12 พรรษา ครั้งนั้นท่านมีความจำเป็นต้องเข้ามาทำธุระที่อุดรธานี หลังจากพักได้ระยะหนึ่งแล้ว ขณะที่ท่านกำลังจะเข้าไปในตลาด ทันในนั้นหญิงสาวรุ่นคนหนึ่งอายุราว 17-18 ปี ก็ตรงรี่เข้ามาหาท่าน จากนั้นจึงนั่งลงแล้วประนมมือขึ้น และถามขึ้นด้วยน้ำเสียงที่บ่งบอกว่าเป็นคนคุ้นเคยกันมานานแล้วว่า

    "เอ้า หลวงพี่จะกลับแล้วหรือ ?"

    ท่านรู้สึกแปลกใจอยู่ไม่น้อย นึกอยู่ในใจว่า "ใครกันหนอ ? เด็กน้อยนี่ทำไมถึงได้ฉลาดกล้าเข้ามาถามเราในท่ามกลางฝูงชนเช่นนี้หนอ ?"

    จากนั้นท่านก็ตอบด้วยท่าทางเป็นปกติว่า "ยัง เราเข้าไปธุระในตลาดเฉยๆ นางมาจากไหนละ ?"

    พอถามเช่นนี้เข้า ถึงกับทำให้หญิงสาวคนนั้นระเบิดหัวเราะออกมาเสียยกใหญ่ เพราะขบขันว่าพี่ชายไปบวชแล้ว คงจะจากบ้านไปอยู่ป่าเสียนาน จนกระทั่งจำไม่ได้แม้แต่น้องสาวของตัวเอง จึงพูดทั้งที่ยังหัวเราะอยู่นั้นว่า "โอ๋ยหนอจำไม่ได้กระทั่งน้องสาวน้อ"

    น้องสาวพูดขึ้นเช่นนั้น พร้อมบอกชื่อบอกนามช่วยฟื้นความจำให้ ท่านจึงนิ่งคิดอยู่นิดหนึ่ง พอระลึกได้เท่านั้นก็หัวเราะขึ้นเช่นกัน "โอ๋ย เราก็จำไม่ได้"

    เหตุที่ท่านจะจำน้องสาวคนนี้ไม่ได้ ก็เพราะตอนท่านออกบวช น้องสาวอายุได้ 5 ขวบเท่านั้น เมื่อท่านจากไปในที่ต่างๆ นานๆ ครั้งจึงจะกลับมาเยี่ยมบ้าน ครั้นเมื่อน้องๆ โตเป็นหนุ่มเป็นสาวแล้ว ท่านเลยไม่สามารถจะจดจำได้
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    [​IMG]
    ครูบาอาจารย์พระป่ากรรมฐาน สานุศิษย์ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ
    จากภาพ..แถวยืนองค์ที่ ๒ จากขวามือ คือ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน



    ตอนที่ 7 ก้าวเดินทางปัญญา

    เครื่องประกอบครบ

    ในช่วง 5 ปีที่ติดสมาธิอยู่นั้น ท่านกล่าวว่า ผลแห่งสมาธิธรรมของท่านในระยะนั้นมีความแน่นหนาพอตัวแล้ว ถ้าเป็นประเภทอาหารก็เรียกว่า มีทั้งผัก ทั้งเนื้อ ปลา เครื่องปรุงอะไรต่างๆ ครบหมดแล้ว จะทำเป็นแกงก็ได้ หุงต้มก็ได้ ทอดก็ได้ เป็นแต่เพียงว่าเอามาแช่ไว้เฉยๆ ยังไม่ยอมแกงเท่านั้นเอง เพราะท่านว่ามัวแต่มากินสมาธิว่าเป็นมรรคผลนิพพาน มัวมากินผักกินหญ้าด้วยเข้าใจว่าเป็นแกง ต่อเมื่อเริ่มก้าวเดินทางด้านปัญญา จึงเท่ากับเอาอาหารประเภทต่างๆ เหล่านั้นมาแกงกิน ดังนี้

    "...พอออกจากสมาธิ ด้วยอำนาจธรรมอันเผ็ดร้อนของท่านอาจารย์มั่นเข่นเอาอย่างหนัก จึงออกพิจารณา พอพิจารณาทางด้านปัญญาก็ไปได้อย่างคล่องตัวรวดเร็วเพราะสมาธิพร้อมแล้ว เหมือนกับเครื่องทัพสัมภาระที่จะมาปลูกบ้านสร้างเรือนนี้มีพร้อมแล้ว เป็นแต่เราไม่ประกอบให้เป็นบ้านเป็นเรือนเท่านั้น มันก็เป็นเศษไม้อยู่เปล่าๆ ไม่เกิดประโยชน์อะไร

    นี่สมาธิก็เป็นสมาธิอยู่อย่างนั้น เมื่อไม่นำมาประกอบให้เป็นสติปัญญามันก็หนุนอะไรไม่ได้ จึงต้องพิจารณาตามอย่างที่ท่านอาจารย์มั่นท่านเข่นเอา พอท่านเข่นเท่านั้นมันก็ออก พอออกเท่านั้น มันก็รู้เรื่องรู้ราว ฆ่ากิเลสตัวนั้นได้ ตัดกิเลสตัวนี้ได้โดยลำดับๆ เกิดความตื่นเนื้อตื่นตัวขึ้นมา

    "โธ่ ! เราอยู่ในสมาธิ เรานอนตายอยู่เฉยๆ มากี่ปีกี่เดือนแล้ว ไม่เห็นได้เรื่องได้ราวอะไร"

    คราวนี้ก็เร่งทางปัญญาใหม่ หมุนติ้วทั้งกลางวันกลางคืนไม่มีห้ามล้อบ้างเลย แต่ผมมันนิสัยโลดโผนน่ะ ถ้าไปแง่ไหนมันไปแง่เดียว พอดำเนินทางปัญญาแล้ว มันก็มาตำหนิสมาธิว่า

    "มานอนตายอยู่เปล่าๆ"

    ความจริงสมาธิก็เป็นเครื่องพักจิต ถ้าพอดีจริงๆ ก็เป็นอย่างนั้น นี่มันกลับมาตำหนิสมาธิว่ามานอนตายอยู่เปล่าๆ กี่ปีไม่เห็นเกิดปัญญา..."
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    บ้าหลงสังขาร

    โดยปกติท่านอาจารย์มั่นจะพูดกับท่านแบบธรรมดาคล้ายพ่อแม่พูดกับลูก แต่หากเป็นเรื่องเกี่ยวกับการภาวนาแล้ว จะไม่พูดแบบธรรมดาเลย แต่จะจริงจังเด็ดขาดและพูดอย่างคึกคักเต็มที่ ซึ่งถูกกับจริตนิสัยที่ผาดโผนจริงจังของท่านมาก คราวนี้ก็เช่นกัน หลังจากที่เพลินกับการพิจารณาทางด้านปัญญาถึงกับลืมหลับลืมนอน จนกระทั่งท่านอาจารย์มั่นต้องได้ใส่ปัญหาแก่ท่าน ดังนี้

    "...เวลามันออกทางด้านปัญญาแล้วนะ

    "โห ! มันพิจารณาทั้งวันทั้งคืน ไม่ได้หลับได้นอน นี่ก็ไม่ได้นอนมา 2 คืน 3 คืนแล้ว มันหมุนติ้วๆ เลย ทั้งวันเลย"

    "นั่นละ มันหลงสังขาร" ท่านอาจารย์มั่นว่า

    จึงโต้เหตุผลกับอาจารย์มั่นว่า

    "ไม่พิจารณามันก็ไม่รู้ ถ้าไม่พิจารณา มันก็ไม่รู้"

    "นั่นละ บ้าสังขาร บ้าหลงสังขาร..."

    ทีแรกนี้ท่านไม่เข้าใจคำว่า บ้าหลงสังขาร เพราะท่านอาจารย์มั่นก็ไม่ได้อธิบายถึงความหมายไว้ให้ ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะท่านรู้ถึงอุปนิสัยของลูกศิษย์ว่าเป็นคนผาดโผน จึงได้ใส่ปัญหาแบบผาดโผนให้ ต่อเมื่อผ่านไปแล้ว ท่านจึงเข้าใจความหมายดังนี้

    "...ความหมายท่านว่า ถ้าจะพูดให้พอเหมาะนะคือ เราจะใช้ทางด้านแก้กิเลสก็ตาม เรื่องของมรรคก็ตาม เรื่องของสมุทัยก็ตาม จะต้องเอาสังขารนี้ออกใช้ แต่เวลานี้สังขารมันใช้จนเลยเถิด มันเกินประมาณ มันเป็นสมุทัย ให้ใช้พอเหมาะพอดีมันจึงเป็นมรรคฆ่ากิเลส นี่มันเลยเถิดแล้ว จึงไม่ได้หลับได้นอน

    เพราะงั้นท่านถึงบอก มันหลงสังขารคือสังขาร มรรคที่แก้กิเลสนี้ มันเป็นสมุทัยอยู่ในตัวของมันนั้น นี้เราไม่รู้นี่ ท่านเหนือกว่า ท่านรู้นี่ เราถึงได้เถียงกับท่าน

    "ถ้าไม่พิจารณามันก็ไม่รู้"

    "นั่นแหละมันหลงสังขาร บ้าหลงสังขาร"

    ขนาบเลย ทิ้งหมดเลยปัญหานี้ท่านไม่เอาไว้เลยนะ ท่านโยนทิ้งหมด ให้เราหาใหม่..."
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    แบ่งพัก แบ่งสู้

    ถึงตอนนี้เมื่อท่านอาจารย์มั่นใส่ปัญหาให้ท่านได้ขบคิด ท่านจึงใคร่ครวญดูใหม่พบว่า

    "...จึงได้มายับยั้งชั่งตัว เวลามันไปเต็มเหนี่ยวของมันแล้วก็ลืมใต้จิต แล้วก็หลงสังขาร ก็เอาอันนั้นเข้ามาพิจารณาย้อนเข้ามา หักเอาไว้ เบรกเอาไว้ เบรกอย่างแรงเลย เมื่อมั่นไปเต็มเหนี่ยวแล้วมันเมื่อยมันเพลีย แต่จิตไม่ยอม สติปัญญาไม่ถอย รั้งเอาไว้ๆ ให้เข้าสู่สมาธิเพื่อความสงบพักงาน บีบบังคับให้เข้ามาๆ

    จนกระทั่งเอาคำบริกรรม พุทโธ มาบริกรรม พุทโธ พุทโธ...ให้มาอยู่กับ พุทโธ ไม่ให้มันออกไปทำงาน นี่มันจะเลยเถิดอีกให้มันรั้งเข้ามา ให้มันอยู่กับความสงบคือสมาธิของเรานั่นแหละ สมาธิมันเต็มภูมิอยู่แล้ว แต่ไม่ได้ใช้ เห็นว่าสมาธินี้เหมือนเรานอนตายว่างั้นเถอะ ติดสมาธินี้

    ทีนี้มันก็หมุนสติปัญญา ทีนี้มันจะเลยเถิดอีก รั้งเข้ามา ทีนี้เวลาจิตมันเข้าสู่ความสงบนะ แน่ว โอ้โห เหมือนถอดเสี้ยนถอดหนาม สงบเย็น...แต่กระนั้นยังต้องบังคับไว้นะ ไม่งั้นมันพุ่งออกทำงานอีก งานมันยังเหนืออันนี้อีก ต้องบังคับไว้ แต่จับเงื่อนได้ว่า เมื่อเข้าพักสงบแล้ว มันมีกำลังวังชาแล้วออกไปทำงานได้ เหมือนกับเราทำการทำงานมามากแล้วเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า เราก็มาพักผ่อนนอนหลับหรือรับประทานอาหารเสร็จแล้วก็มาพักผ่อนนอนหลับซะ

    ถึงจะเสียเวล่ำเวลาหน้าที่การงานไปในเวลานั้นก็ตาม แต่เสียไว้เพื่อสั่งสมกำลังในงานต่อไป อันนี้จิตของเรามันจะพุ่ง พุ่งเข้างานก็ตาม แต่การพักนี้เพื่อเป็นกำลังของจิตที่จะดำเนินงานต่อไป นี่มันถึงได้รู้ เวลาออกทางด้านปัญญานี่ โถ ! ไม่มีในตำรา ว่างั้นเถอะ เราก็เรียนมาเหมือนกัน เพราะฉะนั้น จึงกล้าพูดได้...ตามต้อนกิเลส กิเลสประเภทไหนเป็นยังไง สติปัญญานี้เหนือกว่าๆ ตามต้อนกันทัน เผากันไปเรื่อยๆ มันเป็นเอง นั่นละที่มันเพลิน มันไม่ได้หลับได้นอน มันเพลินฆ่ากิเลส เพราะมันเห็นอภัยอย่างสุดหัวใจแล้ว ถึงขนาดที่ว่า

    "ยังไงกิเลสไม่ตาย เราต้องตาย"
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    มวยคลุกวงใน

    เมื่อถึงขั้นนี้แล้ว ท่านว่ามันยิ่งเห็นโทษเห็นภัยของกิเลสอย่างหนัก ขณะเดียกวันก็เห็นคุณค่าของความหลุดพ้น มีน้ำหนักเท่าๆ กัน เมื่อเป็นเช่นนี้ การต่อสู้ห้ำหั่นระหว่างธรรมกับกิเลสจึงไม่มีวันที่จะยอมแพ้กันได้เลย ท่านเล่าอย่างถึงใจว่า

    "...มันก็พุ่งน่ะสิ มีแต่ว่าตายเท่านั้น เรื่องแพ้ไม่พูดเลย แพ้ก็ต้องแบกหามลงเปลไปเลย ที่จะให้ยกมือยอมแพ้นั้น ไม่มีซัดกันขนาดนั้น...ถ้าได้ลงทางจงกรมแล้ว มันไม่รู้จักหยุด ไม่ว่าเวล่ำเวลาร้อนหนาวมันไม่ได้สนใจ คือจิตมันอยู่ที่นี่ มันไม่ได้ออกนะ ออกไปตามดินฟ้าอากาศนี้ไม่ได้ ออกไปหาร่างกายนี้วันหนึ่งมันก็ไม่ได้ออก มันฟัดกันอยู่ภายในเหมือนนักมวยเข้าวงในว่างั้นเถอะนะ ใครจะไปสนใจเรื่องความเจ็บปวด มันไม่สนใจนะ

    อันนี้กิเลสมันเข้าวงในนะ ระหว่างธรรมกับกิเลสฟัดกันวงใน มันเป็นอย่างนี้หมุนติ้วๆ เดินจงกรมตั้งแต่ฉันอาหารเสร็จแล้ว จนกระทั่งถึวเวลาปัดกวาดตอนเย็นนะ มันเดินได้ยังไง คือมันไม่รู้เวล่ำเวลา

    จนกระทั่งเวลาหยุดจากทางจนงกรมแล้ว มองเห็นกาน้ำนี้มันจะตายเลย มันไม่ได้กินน้ำ โดดคว้ากาน้ำมารินนี้ กลืนนี่ โหกลืนไม่ทัน สำลัก กั๊กๆๆ เวลามันฟัดกันนี่ ไม่ได้สนใจกับสิ่งเหล่านี้นะ เวลาออกมาแล้วมาเห็นกาน้ำนี่สิ โอ้โห โดยใส่เลยเชียวนะ มันจะตาย แหมมันขนาดนั้นนะ

    เราไม่ถึงฝ่าเท้าแตกแต่ออกร้อน โอ้โหเหมือนไฟลนแหละ พอมาถึงที่พักถึงรู้นะ ตอนนั้นไม่รู้ แดดก็ไม่รู้ร้อน มันไม่สนใจกับแดดกับฝนอะไร แต่ไม่ได้เคยตากฝนเดินจงกรม แต่ตากแดดนี่เคยแล้ว เราเอาผ้าอาบน้ำมาพับครึ่ง แล้วก็มัดผูกบนศีรษะนี่ แล้วก็มาผูกใส่คางเหลือแต่ตา

    เดินจงกรมกลางแจ้งทีเดียว บนไร่ร้างสวนร้าวเขา เอากันอยู่นั่น ไม่มีร่มเลย ร่มไม่ร่มช่างหัวมัน ฟาดลงนั้นเลย ทำได้นะไม่สนใจช่างหัวมัน ฟาดลงนั้นเลย ทำได้นะ ไม่สนใจกับร้อนกับหนาวอะไรเลย เพราะอันนี้มันรุนแรงภายในใจ

    นี่...แล้วไม่ใช่เดินอยู่วันหนึ่งวันเดียว นั่นซี มันเป็นประจำของมันอย่างนั้น พอเข้าทางจงกรมแล้ว เท่านั้นแหละ ไม่มีเวล่ำเวลานาทีมายุ่งกวน มีแต่อันนี้ฟัดกันอยู่ภายใน หมุนติ้วๆ เราก็เดิน ก็เดินไปยังงั้นล่ะ แต่ทางนี้ทำงานอยู่ตลอดเวลา เดินสะเปะสะปะไปตามเรื่องของมัน ที่นี้เดินไม่หยุดสิวันนี้ก็เดิน วันหน้าก็เดิน เดินหลายวันต่อหลายวัน...

    ...เดินจงกรมไม่รู้จักหยุด...ไม่รู้ว่าเหนื่อยว่าอะไร เพราะมันหมุนติ้วๆ อยู่นี่ งานอยู่นี้ เดินไปบางทีเดินจงกรมนี้ โน่นเซซัดเข้าไปในป่าโน่น โครมครามในป่าโน่น เพราะจิตมันไม่ออก ตาก็มืดมัวไปหมดละซี มีแต่ขาก้าวไปๆ ก็เข้าไปโน่น แล้วออกมาอีกที เอาอีกอยู่งั้น คำว่าทำน้ำท่าอะไรๆ ไม่สนใจทั้งนั้นเมื่อถึงขั้นตะลุมบอนกัน..."
     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    [​IMG]
    ครูบาอาจารย์พระป่ากรรมฐาน สานุศิษย์ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ
    จากภาพ..แถวยืนองค์ที่ ๒ จากขวามือ คือ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน



    ตอนที่ 7 ก้าวเดินทางปัญญา

    เครื่องประกอบครบ

    ในช่วง 5 ปีที่ติดสมาธิอยู่นั้น ท่านกล่าวว่า ผลแห่งสมาธิธรรมของท่านในระยะนั้นมีความแน่นหนาพอตัวแล้ว ถ้าเป็นประเภทอาหารก็เรียกว่า มีทั้งผัก ทั้งเนื้อ ปลา เครื่องปรุงอะไรต่างๆ ครบหมดแล้ว จะทำเป็นแกงก็ได้ หุงต้มก็ได้ ทอดก็ได้ เป็นแต่เพียงว่าเอามาแช่ไว้เฉยๆ ยังไม่ยอมแกงเท่านั้นเอง เพราะท่านว่ามัวแต่มากินสมาธิว่าเป็นมรรคผลนิพพาน มัวมากินผักกินหญ้าด้วยเข้าใจว่าเป็นแกง ต่อเมื่อเริ่มก้าวเดินทางด้านปัญญา จึงเท่ากับเอาอาหารประเภทต่างๆ เหล่านั้นมาแกงกิน ดังนี้

    "...พอออกจากสมาธิ ด้วยอำนาจธรรมอันเผ็ดร้อนของท่านอาจารย์มั่นเข่นเอาอย่างหนัก จึงออกพิจารณา พอพิจารณาทางด้านปัญญาก็ไปได้อย่างคล่องตัวรวดเร็วเพราะสมาธิพร้อมแล้ว เหมือนกับเครื่องทัพสัมภาระที่จะมาปลูกบ้านสร้างเรือนนี้มีพร้อมแล้ว เป็นแต่เราไม่ประกอบให้เป็นบ้านเป็นเรือนเท่านั้น มันก็เป็นเศษไม้อยู่เปล่าๆ ไม่เกิดประโยชน์อะไร

    นี่สมาธิก็เป็นสมาธิอยู่อย่างนั้น เมื่อไม่นำมาประกอบให้เป็นสติปัญญามันก็หนุนอะไรไม่ได้ จึงต้องพิจารณาตามอย่างที่ท่านอาจารย์มั่นท่านเข่นเอา พอท่านเข่นเท่านั้นมันก็ออก พอออกเท่านั้น มันก็รู้เรื่องรู้ราว ฆ่ากิเลสตัวนั้นได้ ตัดกิเลสตัวนี้ได้โดยลำดับๆ เกิดความตื่นเนื้อตื่นตัวขึ้นมา

    "โธ่ ! เราอยู่ในสมาธิ เรานอนตายอยู่เฉยๆ มากี่ปีกี่เดือนแล้ว ไม่เห็นได้เรื่องได้ราวอะไร"

    คราวนี้ก็เร่งทางปัญญาใหม่ หมุนติ้วทั้งกลางวันกลางคืนไม่มีห้ามล้อบ้างเลย แต่ผมมันนิสัยโลดโผนน่ะ ถ้าไปแง่ไหนมันไปแง่เดียว พอดำเนินทางปัญญาแล้ว มันก็มาตำหนิสมาธิว่า

    "มานอนตายอยู่เปล่าๆ"

    ความจริงสมาธิก็เป็นเครื่องพักจิต ถ้าพอดีจริงๆ ก็เป็นอย่างนั้น นี่มันกลับมาตำหนิสมาธิว่ามานอนตายอยู่เปล่าๆ กี่ปีไม่เห็นเกิดปัญญา..."

    บ้าหลงสังขาร

    โดยปกติท่านอาจารย์มั่นจะพูดกับท่านแบบธรรมดาคล้ายพ่อแม่พูดกับลูก แต่หากเป็นเรื่องเกี่ยวกับการภาวนาแล้ว จะไม่พูดแบบธรรมดาเลย แต่จะจริงจังเด็ดขาดและพูดอย่างคึกคักเต็มที่ ซึ่งถูกกับจริตนิสัยที่ผาดโผนจริงจังของท่านมาก คราวนี้ก็เช่นกัน หลังจากที่เพลินกับการพิจารณาทางด้านปัญญาถึงกับลืมหลับลืมนอน จนกระทั่งท่านอาจารย์มั่นต้องได้ใส่ปัญหาแก่ท่าน ดังนี้

    "...เวลามันออกทางด้านปัญญาแล้วนะ

    "โห ! มันพิจารณาทั้งวันทั้งคืน ไม่ได้หลับได้นอน นี่ก็ไม่ได้นอนมา 2 คืน 3 คืนแล้ว มันหมุนติ้วๆ เลย ทั้งวันเลย"

    "นั่นละ มันหลงสังขาร" ท่านอาจารย์มั่นว่า

    จึงโต้เหตุผลกับอาจารย์มั่นว่า

    "ไม่พิจารณามันก็ไม่รู้ ถ้าไม่พิจารณา มันก็ไม่รู้"

    "นั่นละ บ้าสังขาร บ้าหลงสังขาร..."

    ทีแรกนี้ท่านไม่เข้าใจคำว่า บ้าหลงสังขาร เพราะท่านอาจารย์มั่นก็ไม่ได้อธิบายถึงความหมายไว้ให้ ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะท่านรู้ถึงอุปนิสัยของลูกศิษย์ว่าเป็นคนผาดโผน จึงได้ใส่ปัญหาแบบผาดโผนให้ ต่อเมื่อผ่านไปแล้ว ท่านจึงเข้าใจความหมายดังนี้

    "...ความหมายท่านว่า ถ้าจะพูดให้พอเหมาะนะคือ เราจะใช้ทางด้านแก้กิเลสก็ตาม เรื่องของมรรคก็ตาม เรื่องของสมุทัยก็ตาม จะต้องเอาสังขารนี้ออกใช้ แต่เวลานี้สังขารมันใช้จนเลยเถิด มันเกินประมาณ มันเป็นสมุทัย ให้ใช้พอเหมาะพอดีมันจึงเป็นมรรคฆ่ากิเลส นี่มันเลยเถิดแล้ว จึงไม่ได้หลับได้นอน

    เพราะงั้นท่านถึงบอก มันหลงสังขารคือสังขาร มรรคที่แก้กิเลสนี้ มันเป็นสมุทัยอยู่ในตัวของมันนั้น นี้เราไม่รู้นี่ ท่านเหนือกว่า ท่านรู้นี่ เราถึงได้เถียงกับท่าน

    "ถ้าไม่พิจารณามันก็ไม่รู้"

    "นั่นแหละมันหลงสังขาร บ้าหลงสังขาร"

    ขนาบเลย ทิ้งหมดเลยปัญหานี้ท่านไม่เอาไว้เลยนะ ท่านโยนทิ้งหมด ให้เราหาใหม่..."

    แบ่งพัก แบ่งสู้

    ถึงตอนนี้เมื่อท่านอาจารย์มั่นใส่ปัญหาให้ท่านได้ขบคิด ท่านจึงใคร่ครวญดูใหม่พบว่า

    "...จึงได้มายับยั้งชั่งตัว เวลามันไปเต็มเหนี่ยวของมันแล้วก็ลืมใต้จิต แล้วก็หลงสังขาร ก็เอาอันนั้นเข้ามาพิจารณาย้อนเข้ามา หักเอาไว้ เบรกเอาไว้ เบรกอย่างแรงเลย เมื่อมั่นไปเต็มเหนี่ยวแล้วมันเมื่อยมันเพลีย แต่จิตไม่ยอม สติปัญญาไม่ถอย รั้งเอาไว้ๆ ให้เข้าสู่สมาธิเพื่อความสงบพักงาน บีบบังคับให้เข้ามาๆ

    จนกระทั่งเอาคำบริกรรม พุทโธ มาบริกรรม พุทโธ พุทโธ...ให้มาอยู่กับ พุทโธ ไม่ให้มันออกไปทำงาน นี่มันจะเลยเถิดอีกให้มันรั้งเข้ามา ให้มันอยู่กับความสงบคือสมาธิของเรานั่นแหละ สมาธิมันเต็มภูมิอยู่แล้ว แต่ไม่ได้ใช้ เห็นว่าสมาธินี้เหมือนเรานอนตายว่างั้นเถอะ ติดสมาธินี้

    ทีนี้มันก็หมุนสติปัญญา ทีนี้มันจะเลยเถิดอีก รั้งเข้ามา ทีนี้เวลาจิตมันเข้าสู่ความสงบนะ แน่ว โอ้โห เหมือนถอดเสี้ยนถอดหนาม สงบเย็น...แต่กระนั้นยังต้องบังคับไว้นะ ไม่งั้นมันพุ่งออกทำงานอีก งานมันยังเหนืออันนี้อีก ต้องบังคับไว้ แต่จับเงื่อนได้ว่า เมื่อเข้าพักสงบแล้ว มันมีกำลังวังชาแล้วออกไปทำงานได้ เหมือนกับเราทำการทำงานมามากแล้วเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า เราก็มาพักผ่อนนอนหลับหรือรับประทานอาหารเสร็จแล้วก็มาพักผ่อนนอนหลับซะ

    ถึงจะเสียเวล่ำเวลาหน้าที่การงานไปในเวลานั้นก็ตาม แต่เสียไว้เพื่อสั่งสมกำลังในงานต่อไป อันนี้จิตของเรามันจะพุ่ง พุ่งเข้างานก็ตาม แต่การพักนี้เพื่อเป็นกำลังของจิตที่จะดำเนินงานต่อไป นี่มันถึงได้รู้ เวลาออกทางด้านปัญญานี่ โถ ! ไม่มีในตำรา ว่างั้นเถอะ เราก็เรียนมาเหมือนกัน เพราะฉะนั้น จึงกล้าพูดได้...ตามต้อนกิเลส กิเลสประเภทไหนเป็นยังไง สติปัญญานี้เหนือกว่าๆ ตามต้อนกันทัน เผากันไปเรื่อยๆ มันเป็นเอง นั่นละที่มันเพลิน มันไม่ได้หลับได้นอน มันเพลินฆ่ากิเลส เพราะมันเห็นอภัยอย่างสุดหัวใจแล้ว ถึงขนาดที่ว่า

    "ยังไงกิเลสไม่ตาย เราต้องตาย"

    มวยคลุกวงใน

    เมื่อถึงขั้นนี้แล้ว ท่านว่ามันยิ่งเห็นโทษเห็นภัยของกิเลสอย่างหนัก ขณะเดียกวันก็เห็นคุณค่าของความหลุดพ้น มีน้ำหนักเท่าๆ กัน เมื่อเป็นเช่นนี้ การต่อสู้ห้ำหั่นระหว่างธรรมกับกิเลสจึงไม่มีวันที่จะยอมแพ้กันได้เลย ท่านเล่าอย่างถึงใจว่า

    "...มันก็พุ่งน่ะสิ มีแต่ว่าตายเท่านั้น เรื่องแพ้ไม่พูดเลย แพ้ก็ต้องแบกหามลงเปลไปเลย ที่จะให้ยกมือยอมแพ้นั้น ไม่มีซัดกันขนาดนั้น...ถ้าได้ลงทางจงกรมแล้ว มันไม่รู้จักหยุด ไม่ว่าเวล่ำเวลาร้อนหนาวมันไม่ได้สนใจ คือจิตมันอยู่ที่นี่ มันไม่ได้ออกนะ ออกไปตามดินฟ้าอากาศนี้ไม่ได้ ออกไปหาร่างกายนี้วันหนึ่งมันก็ไม่ได้ออก มันฟัดกันอยู่ภายในเหมือนนักมวยเข้าวงในว่างั้นเถอะนะ ใครจะไปสนใจเรื่องความเจ็บปวด มันไม่สนใจนะ

    อันนี้กิเลสมันเข้าวงในนะ ระหว่างธรรมกับกิเลสฟัดกันวงใน มันเป็นอย่างนี้หมุนติ้วๆ เดินจงกรมตั้งแต่ฉันอาหารเสร็จแล้ว จนกระทั่งถึวเวลาปัดกวาดตอนเย็นนะ มันเดินได้ยังไง คือมันไม่รู้เวล่ำเวลา

    จนกระทั่งเวลาหยุดจากทางจนงกรมแล้ว มองเห็นกาน้ำนี้มันจะตายเลย มันไม่ได้กินน้ำ โดดคว้ากาน้ำมารินนี้ กลืนนี่ โหกลืนไม่ทัน สำลัก กั๊กๆๆ เวลามันฟัดกันนี่ ไม่ได้สนใจกับสิ่งเหล่านี้นะ เวลาออกมาแล้วมาเห็นกาน้ำนี่สิ โอ้โห โดยใส่เลยเชียวนะ มันจะตาย แหมมันขนาดนั้นนะ

    เราไม่ถึงฝ่าเท้าแตกแต่ออกร้อน โอ้โหเหมือนไฟลนแหละ พอมาถึงที่พักถึงรู้นะ ตอนนั้นไม่รู้ แดดก็ไม่รู้ร้อน มันไม่สนใจกับแดดกับฝนอะไร แต่ไม่ได้เคยตากฝนเดินจงกรม แต่ตากแดดนี่เคยแล้ว เราเอาผ้าอาบน้ำมาพับครึ่ง แล้วก็มัดผูกบนศีรษะนี่ แล้วก็มาผูกใส่คางเหลือแต่ตา

    เดินจงกรมกลางแจ้งทีเดียว บนไร่ร้างสวนร้าวเขา เอากันอยู่นั่น ไม่มีร่มเลย ร่มไม่ร่มช่างหัวมัน ฟาดลงนั้นเลย ทำได้นะไม่สนใจช่างหัวมัน ฟาดลงนั้นเลย ทำได้นะ ไม่สนใจกับร้อนกับหนาวอะไรเลย เพราะอันนี้มันรุนแรงภายในใจ

    นี่...แล้วไม่ใช่เดินอยู่วันหนึ่งวันเดียว นั่นซี มันเป็นประจำของมันอย่างนั้น พอเข้าทางจงกรมแล้ว เท่านั้นแหละ ไม่มีเวล่ำเวลานาทีมายุ่งกวน มีแต่อันนี้ฟัดกันอยู่ภายใน หมุนติ้วๆ เราก็เดิน ก็เดินไปยังงั้นล่ะ แต่ทางนี้ทำงานอยู่ตลอดเวลา เดินสะเปะสะปะไปตามเรื่องของมัน ที่นี้เดินไม่หยุดสิวันนี้ก็เดิน วันหน้าก็เดิน เดินหลายวันต่อหลายวัน...

    ...เดินจงกรมไม่รู้จักหยุด...ไม่รู้ว่าเหนื่อยว่าอะไร เพราะมันหมุนติ้วๆ อยู่นี่ งานอยู่นี้ เดินไปบางทีเดินจงกรมนี้ โน่นเซซัดเข้าไปในป่าโน่น โครมครามในป่าโน่น เพราะจิตมันไม่ออก ตาก็มืดมัวไปหมดละซี มีแต่ขาก้าวไปๆ ก็เข้าไปโน่น แล้วออกมาอีกที เอาอีกอยู่งั้น คำว่าทำน้ำท่าอะไรๆ ไม่สนใจทั้งนั้นเมื่อถึงขั้นตะลุมบอนกัน..."

    มองดูคน...เนื้อหนังแดงโร่

    ย้อนกล่าวถึงอุบายวิธีพิจารณาด้านปัญญาที่ท่านดำเนินเป็นลำดับมานี้ ท่านเคยกล่าวไว้ในคราวอบรมพระเณรเสมอๆ เพราะเป็นสิ่งที่ท่านเน้นหนักมาก เฉพาะอย่างยิ่งแก่นักบวช จะได้รู้จักวิธีพิจารณาอันนำมาซึ่งความสงบร่มเย็นภายในใจ ดังนี้

    "...ก็เร่งทางด้านปัญญา เร่งทางกายนี้ก่อน ตอนอสุภะ นี่สำคัญอยู่มากนะ สำคัญมากจริงๆ พิจารณาอสุภะนี่มันคล่องแคล่งแกล้วกล้า มองดูอะไรทะลุไปหมด ไม่ว่าจะหญิงจะชายจะหนุ่มจะสาวขนาดไหน

    เอ้า พูดให้เต็มตามความจริงที่จิตมันกล้าหาญน่ะ ไม่ต้องให้มีผู้หญิงเฒ่าๆ แก่ๆ ละ ให้มีแต่หญิงสาวๆ เต็มอยู่ในชุมนุมนั้นน่ะ เราสามารถจะเดินบุกเข้าไปในที่นั่นได้ โดยไม่ให้มีราคะตัณหาอันใดแสดงขึ้นมาได้เลย นั่นความอาจหาญของจิตเพราะอสุภะ

    มองดูคนมีแต่หนังห่อกระดูก มีแต่เนื้อแต่หนังแดงโร่ไปหมด มันเห็นความสวยความงามที่ไหน เพราะอำนาจของอสุภะมันแรง มองดูรูปไหนมันก็เป็นแบบนั้นหมด แล้วมันจะเอาความสวยงามมาจากไหนพอให้กำหนัดยินดี เพราะฉะนั้น มันจึงกล้าเดินบุก เอ้า ! ผู้หญิงสาวๆ สวยๆ นั้นแหละ บุกไปได้อย่างสบายเลยถึงครามมันกล้า เพราะเชื่อกำลังของตัวเอง

    แต่ความกล้านี้ก็ไม่ถูกกับจุดที่จิตอิ่มตัวในขั้นกามราคะ จึงได้ตระหนักตัวเองเมื่อจิตผ่านไปแล้ว ความกล้านี้มันก็บ้าอันหนึ่งเหมือนกัน แต่ตอนที่ดำเนินก็เรียกว่าถูกในการดำเนิน เพราะต้องดำเนินอย่างนั้น เหมือนการตำหนิอาหารในเวลาอิ่มแล้วนั่นแล จะผิดหรือถูกก็เข้าในทำนองนี้

    การพิจารณาอสุภะอสุภัง พิจารณาไปจนกระทั่งว่าราคะนี้ไม่ปรากฏเลย ค่อยหมดไปๆ และหมดไปเอาเฉยๆ ไม่ได้บอกเหตุบอกผล บอกกาลบอกเวลาบอกสถานที่ บอกความแน่ใจเลยว่า ราคะความกำหนัดยินดีในรูปหญิงรูปชายนี้ได้หมดไปแล้ว ตั้งแต่ขณะนั้น เวลานั้น สถานที่นั้น ไม่บอก จึงต้องมาวินิจฉัยกันอีก ความหมดไปๆ เฉยๆ นี้ไม่เอา คือจิตมันไม่ยอมรับ

    ถ้าหมดตรงไหนก็ต้องบอกว่าหมดให้รู้ชัดว่า หมดเพราะเหตุนั้น หมดในขณะนั้น หมดในสถานที่นั้น ต้องบอกเป็นขณะให้รู้ซิ ฉะนั้น จิตต้องย้อนกลับมาพิจารณาหาอุบาย วิธีต่างๆ เพื่อแก้ไขกันอีก เมื่อหมดจริงๆ มันทำไมไม่ปรากฏชัดว่าหมดไป ในขณะนั้นขณะนี้นะ

    พอมองเห็นรูป มันทะลุไปเลย เป็นเนื้อเป็นกระดูกไปหมดในร่างกายนั่น ไม่เป็นหญิงสวยหญิงงาม คนสวยคนงามเลย เพราะอำนาจของอสุภะมีกำลังแรง เห็นเป็นกองกระดูกไปหมด มันจะเอาอะไรไปกำหนัดยินดีเล่าในเวลาจิตเป็นเช่นนั้น ทีนี้ก็หาอุบายพลิกใหม่ว่า

    "ราคะนี้มันสิ้นไปจนไม่มีอะไรเหลือนั้น มันสิ้นในขณะใดด้วยอุบายใด ? ทำไมไม่แสดงบอกให้ชัดเจน"

    จึงพิจารณาพลิกใหม่ คราวนี้เอาสุภะเข้ามาบังคับ พลิกอันที่ว่าอสุภะที่มีแต่ร่างกระดูกนั้นออก เอาหนังหุ้มห่อให้สวยให้งาม นี่เราบังคับนะ ไม่งั้นมันทะลุไปทางอสุภะทันที เพราะมันชำนาญนี่ จึงบังคับให้หนังหุ้มกระดูกให้สวยให้งาม แล้วนำเข้ามาติดแนบกับตัวเอง นี่วิธีการพิจารณาของเรา เดินจงกรมก็ให้ความสวยความงามรูปอันนั้นน่ะติดแนบกับตัว ติดกับตัวไปมาอยู่อย่างนั้น

    "เอ้า มันจะกินเวลานานสักเท่าไร ? หากยังมีอยู่มันจะต้องแสดงขึ้นมา หากไม่มีก็ให้รู้ว่าไม่มี..."
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    เหมือนว่าหมดกามราคะ

    หลังจากเอาวิธีการนี้มาปฏิบัติได้ 4 วันเต็มๆ ก็ไม่แสดงความกำหนัดยินดีขึ้นมาแต่อย่างใด ถึงจุดนี้ท่านกล่าวว่า

    "...ทั้งๆ ที่รูปนี้สวยงามที่สุดมันก็ไม่แสดง มันคอยแต่จะหยั่งเข้าหนังห่อกระดูก แต่เราบังคับไว้ให้จิตอยู่ที่ผิวหนังนี่ พอถึงคืนที่ 4 น้ำตาร่วงออกมา บอกว่า "ยอมแล้วไม่เอา" คือมันไม่ยินดีนะ มันบอกว่า

    "ยอมแล้ว"

    ด้านทดสอบก็ว่า "ยอมอะไร ถ้ายอมว่าสิ้น ก็ให้รู้ว่าสิ้นซิ ยอมอย่างนี้ ไม่เอา ยอมชนิดนี้ ยอมมีเล่ห์เหลี่ยม เราไม่เอา"

    กำหนดไป กำหนดทุกแง่ทุกมุมนะ แง่ไหนมุมใดที่มันจะเกิดความกำหนัดยินดี เพื่อจะรู้ว่าความกำหนัดยินดีมันจะขึ้นขณะใด เราจะจับเอาตัวแสดงออกมานั้นเป็นเครื่องพิจารณาถอดถอนต่อไป พอดึกเข้าไปๆ กำหนดเข้าไปๆ แต่ไม่กำหนดพิจารณาอสุภะนะ ตอนนั้นพิจารณาแต่สุภะอย่างเดียวเท่านั้น 4 วันเต็มๆ เพราะจะหาอุบายทดสอบหาความจริงมันให้ได้

    พอสัก 3-4 ทุ่มล่วงไปแล้ว ในคืนที่ 4 มันก็มีลักษณะยุบยับเป็นลักษณะเหมือนจะกำหนัดในรูปสวยๆ งามๆ ที่เรากำหนดติดแนบกับตัวเป็นประจำในระยะนั้น มันมีลักษณะยุบยับชอบกล สติทันนะ เพราะสติมีอยู่ตลอดเวลานี่ พอมีอาการยุบยับก็กำหนดเสริมขึ้นเรื่อยๆ

    "นั่นมันมีลักษณะยุบยับเห็นไหม จับเจ้าตัวโจรหลบซ่อนได้แล้วที่นี่ นั่นเห็นไหม มันสิ้นยังไง ถ้าสิ้นทำไมจึงต้องเป็นอย่างนี้"

    กำหนดขึ้นๆ คือ คำว่า ยุบยับนั้นเป็นแต่เพียงอาการของจิต แสดงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ไม่ได้ทำอวัยวะให้ไหวนะ มันเป็นอยู่ภายในจิต พอเสริมเข้าๆ มันก็แสดงอาการยุบยับๆ ให้เป็นที่แน่ใจว่า

    "เอ้อ นี่มันยังไม่หมด เมื่อยังไม่หมดจะปฏิบัติยังไง ?"

    ทีนี้ ต้องปฏิบัติด้วยอุบายใหม่โดยวิธีสับเปลี่ยนกัน ทั้งนี้เพราะทางไม่เคยเดิน สิ่งไม่เคยรู้ จึงลำบากต่อการปฏิบัติอยู่มาก พอเรากำหนดไปทางอสุภะนี้ สุภะมันดับพึบเดียวนะ มันดับเร็วที่สุดเพราะความชำนาญทางอสุภะมาแล้ว

    พอกำหนดอสุภะมันเป็นกองกระดูกไปหมดทันที ต้องกำหนดสุภะ ความสวยงามขึ้นมาแทนที่ สับเปลี่ยนกันอยู่นั้น นี่ก็เป็นเวลานานเพราะหนทางไม่เคยเดิน มันไม่เข้าใจก็ต้องทดสอบด้วยวิธีการต่างๆ จนเป็นที่แน่ใจ จึงจะตัดสินใจลงทางใดทางหนึ่งได้ที่นี้..."
     

แชร์หน้านี้

Loading...