หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง และพระคณาจารย์สายต่างๆ (ข้อมูลวัตถุมงคล หน้า 1-8)....

ในห้อง 'ประสบการณ์ เรื่องเล่า' ตั้งกระทู้โดย ทุเรียนทอด, 16 พฤษภาคม 2011.

  1. ทุเรียนทอด

    ทุเรียนทอด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,329
    ค่าพลัง:
    +57,981
    ได้ข่าวว่าเหรียญรุ่นแรก๒๑ เพิ่งมีประสบการณ์เรื่องอยู่ยงคงกระพันนะครับ ใครทราบบ้างครับเนี่ย..?
     
  2. ทุเรียนทอด

    ทุเรียนทอด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,329
    ค่าพลัง:
    +57,981

    โอ้โห.. แปลกดีครับ ภาพอัศจรรย์จริงๆ.. สวัสดีครับพี่ ธมฺมสิทโธ
     
  3. เฉียวฟง

    เฉียวฟง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    1,190
    ค่าพลัง:
    +4,913
    ขอทราบรายละเอียดเรื่องนี้ด้วยครับ.....คุณทุเรียนทอด:cool::cool:
     
  4. ทุเรียนทอด

    ทุเรียนทอด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,329
    ค่าพลัง:
    +57,981

    รายละเอียดก็ยังไม่ทราบเช่นกันครับ ทราบแต่ว่าน่าจะถูกยิงแต่ไม่เป็นไรครับ
     
  5. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    <a href="http://image.ohozaa.com/view2/vXH8W0UageLNrbgs" target="_blank"><img border="0" src="http://image.ohozaa.com/i/aac/OeTsA.JPG" /></a>

    สวัสดีครับทุกท่าน พึ่งได้กลับเข้าเมือง สบายกัะนดีนะครับ สําหรับท่านที่ทายเลขถูกผมขอส่งพระช้าหน่อยนะครับ คิดว่าประมาณปลายอาทิตย์หน้า วันนี้มาชมพระกันต่อกัน ในรูปเป็นพระสมเด็จเนื้อผสมขมิ้นเสกแถมองค์นี้ได้นําชุบนํ้าขมิ้นที่ใช้ย้อมจีวรพระด้วยครับ พระสีออกเหลืองอร่ามสวยงามไปอีกแบบ มวลสารที่ใช้จะมี ผงหลวงปู่ลบ ผงพุทธคุณต่างๆ ดอกไม้องค์หลวงปู่ไห้วพระ ว่านยา ไพรต่างๆ ผงธูปอธิฐาน เกศา แร่ต่างๆ พระผสมขมิ้นเจอที่ใหนเก็บไว้ดีๆนะครับ เท่าที่ทราบคณะสมัยนั้นหวงมาก

    พระเนื้อดินของท่าน เรียกว่า พระกสิน ครับ หลวงปู่ท่านสวดมนต์เดินจงกรมบริกรรมทั้งหมดครับถ้าดินสุกแล้วท่านจะนำมาไว้ที่ห้องสวดมนต์ท่านจะสวดลายลักษณ์ของพระพุทธเจ้าตลอดถึงพระคาถาและบทสวดต่างๆมากมายเลยครับสำหรับพระยุคแรกๆของท่าน

    นะมะภะทะจะภะกะสะนะโมพุทธายะนะชาลีติพุทธคุณังธัมมะคุณังสังฆคุณังสะระนังคัจฉามิ พระคาถาหลวงปู่พิศดู ไว้สวดเสกกำกับ พระกสิน. เวลาเราสวมใส่เห็นหน้าใครต้องการผูกมิตรทำจิตใจให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม. เมกะมุอุ. ครับ. หลวงปู่เคยกล่าวไว้ว่า การบูชาพระพุทธเจ้านำมาชื่งเดชเดชาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระธรรมเจ้านำมาซึ่งปัญญาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระสงฆ์เจ้านำมาซึ่งทรัพย์อันยิ่งใหญ่ ครับ. พระผงกรรมมัฏฐาน ยุคแรกๆของท่านสามารถใช้มือกำภาวนาได้ครับ คาถากำกับ พระขมิ้นเสกต่าง มิตติ จิตติ จิตติ มิตติ นะชาลีติ นโมพุทธายะ. (ทำไมหลวงปู่ถึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระครับ. เหตุผล. พระเวลาบวชต้องห่มเหลืองสมัยก่อนเขาใช้ขมิ้นย้อมผ้า. ขมิ้นเหลืองดั่งทองคำมิผันแปรเหมือนดั่งทองคำ. ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ท่านจึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระเสมอๆครับ. ) หลวงปู่เสกพระด้วยบทกรรมมัฏฐานทั้งสิ้น เช่นสวดพิจารณาอาการ32 เกสา โลมา.........มัตถะลุงคันติสาคะลังและอื่นๆ คาถาพระปัจเจกก็ใช้สวดด้วยสมัยก่อนท่านสวดทุกเช้าศิษย์เก่ารู้ดีครับ
    __________________
     
  6. santaja

    santaja เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    154
    ค่าพลัง:
    +107

    สวัสดีครับ คุณทุเรียนทอด
     
  7. สันติภาพ999

    สันติภาพ999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    2,885
    ค่าพลัง:
    +2,229
    สวัสดี สมาชิกทุกท่าน เห็นพี่ทุเรียนทอดเล่าประสบการณ์ เรื่องยิงไม่เข้า เลยอยากเล่าให้ฟังบ้างครับ เรื่องนี้เกิดขึ้น มาประมาณ 4-5 ปีน่าจะได้ครับ มีน้องคนหนึ่งบ้านอยู่เเถวๆคลองนารายณ์ ไม่รู้ว่าน้องเค้าไปมีเรื่องกับใครมา เเต่ระหว่างที่น้องเค้ายืนเล่นอยู่หน้าบ้าน มีมอเตอร์ไซค์ ขี่มาหนึ่งในนั้นชักปืน ออกมาเเล้วยิงมา ถูกที่น้องบริเวณ ท้องน้อย คนในบ้านได้ยินเสียงก็รีบ ออกมาดู เห็นน้องยืนงงๆคลำท้องตัวเองก็ตกใจ เปิดเสื้อดูเห็นเป็นรอยเเดงๆมีเลือดออก ซิบๆ ก็รีบขับรถเข้าเมือง ไปโรงพยาบาลกรุงเทพ เเถวค่ายต่ากสิน หมอดูเเล้วก็เเค่ล้างเเผลให้ กันการติดเชื้อ เเล้วให้กลับบ้านได้ พอมีคนรู้เรื่อง ก็ไปสอบถาม ว่าเเขวนพระอะไร ที่บ้านน้องเค้า ตอบว่าเเขวนเหรียญเม็ดเเตงหลวงปู่พิศดูองค์เดียว เท่านั้นละครับ คนเเห่ไปหาเหรียญรุ่นนี้ กัน เเต่หลวงปู่เเจกไปหมดเเล้ว เเต่ผมโชคดีได้จากยาย สุพิศมา หนึ่งเหรียญ ตอนนี้เลี่ยมทอง เอาไว้ใช้เอง เเต่เเม่บ้านเห็นอย่ากได้เลยยึดไปใช้ ^9^เรื่องนี้พอมีคนไปเล่าให้หลวงปู่ฟัง หลวงปู่เลยบอกว่า เหรียญรุ่นอื่นต่อจากนี้ จะไม่ให้โดนตัวเเล้ว เพราะถึงไม่เข้าเเต่โดนก็จะเจ็บ เอาเเบบไม่โดนดีว่า (เเค้ลวคาด) นี้เป็นเพราะหลวงปู่รักเเละ สงสารลูกศิษย์ ท่านเมตตา พวกเรามาก ครับ...ขอกราบบูชาองค์หลวงปู่พิศดูเเละพระอรหันต์ ทุกพระองค์ครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 001.jpg
      001.jpg
      ขนาดไฟล์:
      8.5 KB
      เปิดดู:
      77
    • 002.jpg
      002.jpg
      ขนาดไฟล์:
      8.6 KB
      เปิดดู:
      73
  8. ปัทมินทร์

    ปัทมินทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    467
    ค่าพลัง:
    +1,393
    ถูกต้องตามที่พี่สันติภาพกล่าวเลยครับ

    หากหลายคนยังจำได้ ครั้งที่ผมเองพลาดท่าตกบันได ในคอผมมีเพียงภาพถ่ายหลวงปู่และเหรียญพระอุปคุตจิ๋ว พอมากองอยู่กับพื้น ลุกขึ้นก็รู้สึกช้ำๆอยู่ พอกลับไปนอน ตื่นขึ้นมารุ่งเช้าต้องประหลาดใจเลยว่า "ไม่มีแม้แต่อาการช้ำในด้วยซ้ำไป"

    อีกเรื่องหนึ่งที่ผมติดค้างเอาไว้ ถึงอานิสงค์ที่ผมได้รับจากการสวดมนต์ลายลักษณ์พุทธบาท คาถาพระอุปคุต คาถาวันโลกดับ และคาถาทิพยมนต์ปิ่นธรณี ผมขอพรให้ได้รับรถป้ายแดงไวไว เพราะที่ไปสั่งจองมา ต้องรอรับรถนานถึง 2-3 เดือน ด้วยแรงอธิษฐานและด้วยปัจจัยส่งเสริมหลายๆทาง ทำให้ผมเจอเหตุปัจจัยได้รถภายใน 10 วัน ทั้งที่อีกหลายต่อหลายคนก็ยังคงต้องนั่งเอามือเท้าคางรอรับรถกันนานอีกต่อไป

    สวดเถอะครับบทลายลักษณ์ บทวันโลกดับ หลวงปู่ท่านทิ้งไว้ให้ลูกศิษย์ได้ใช้สอยเก็บเกี่ยวคุณประโยชน์มากมาย

    ส่วนบทปิ่นธรณี ได้มาจากหลวงปู่สนั่นครับ ผมยังจำคำสอนท่านได้ว่า "บทปิ่นธรณีนี้ เป็นบทของท่านพ่อลี ใช้สวดที่ไหน เป็นศิริมงคลที่นั่น สัตว์ป่ามาดื่มกินน้ำบริเวณนั้นจะมีอายุยืน ปลอดภัย เกิดศิริมงคล สวดในเรือกสวนไร่นา จะได้ผลผลิตดก ออกก่อนฤดูกาลอย่างน่าอัศจรรย์"
     
  9. ทุเรียนทอด

    ทุเรียนทอด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,329
    ค่าพลัง:
    +57,981
    สวัสดีทุกท่านครับ เป็นอย่างไรกันบ้างครับ
     
  10. ทุเรียนทอด

    ทุเรียนทอด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,329
    ค่าพลัง:
    +57,981

    สาธุ.. บททิพย์มนต์ปิ่นธรณี ท่านพ่อลีเป็นผู้นำมาเรียบเรียงเผยแพร่ หลวงปู่พิศดูท่านก็ใช้อยู่เช่นกันครับ เป็นบทปรับธาตุ และปรับภพภูมิ คล้ายบทมหาจักรพรรดิ์ของหลวงปู่ดู่ครับ เพียงแต่ทิพย์มนต์นั้นจะยาวกว่ามากครับ :cool:
     
  11. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    <a href="http://image.ohozaa.com/view2/vXOXCCQHVRBZmKkM" target="_blank"><img border="0" src="http://image.ohozaa.com/i/c80/2XblGv.JPG" /></a>

    ในภาพเป็นพระกสินพิมพ์พระรอดเนื้อขมิ้นครับ เป็นพระขนาดเล็กเหมือนทางเหนือ ถ้าสังเกตให้ดีตามองค์พระจะมีเศาแร่ต่างๆฝังตามเนื้อพระ ดําบ้างแดงบ้างครับ มวลสารที่ใช้ทําก็จะเหมือนพระที่แจกตอนนํ้าท่วมทุกประการ จะต่างตรงที่ไม่ได้ผสมและชุบขมิ้น ส่วนพระชุดนี้ก็เป็นพระที่แจกตอนนํ้าท่วมครับ


    พระเนื้อดินของท่าน เรียกว่า พระกสิน ครับ หลวงปู่ท่านสวดมนต์เดินจงกรมบริกรรมทั้งหมดครับถ้าดินสุกแล้วท่านจะนำมาไว้ที่ห้องสวดมนต์ท่านจะสวดลายลักษณ์ของพระพุทธเจ้าตลอดถึงพระคาถาและบทสวดต่างๆมากมายเลยครับสำหรับพระยุคแรกๆของท่าน


    นะมะภะทะจะภะกะสะนะโมพุทธายะนะชาลีติพุทธคุณังธัมมะคุณังสังฆคุณังสะระนังคัจฉามิ พระคาถาหลวงปู่พิศดู ไว้สวดเสกกำกับ พระกสิน. เวลาเราสวมใส่เห็นหน้าใครต้องการผูกมิตรทำจิตใจให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม. เมกะมุอุ. ครับ. หลวงปู่เคยกล่าวไว้ว่า การบูชาพระพุทธเจ้านำมาชื่งเดชเดชาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระธรรมเจ้านำมาซึ่งปัญญาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระสงฆ์เจ้านำมาซึ่งทรัพย์อันยิ่งใหญ่ ครับ. พระผงกรรมมัฏฐาน ยุคแรกๆของท่านสามารถใช้มือกำภาวนาได้ครับ คาถากำกับ พระขมิ้นเสกต่าง มิตติ จิตติ จิตติ มิตติ นะชาลีติ นโมพุทธายะ. (ทำไมหลวงปู่ถึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระครับ. เหตุผล. พระเวลาบวชต้องห่มเหลืองสมัยก่อนเขาใช้ขมิ้นย้อมผ้า. ขมิ้นเหลืองดั่งทองคำมิผันแปรเหมือนดั่งทองคำ. ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ท่านจึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระเสมอๆครับ. ) หลวงปู่เสกพระด้วยบทกรรมมัฏฐานทั้งสิ้น เช่นสวดพิจารณาอาการ32 เกสา โลมา.........มัตถะลุงคันติสาคะลังและอื่นๆ คาถาพระปัจเจกก็ใช้สวดด้วยสมัยก่อนท่านสวดทุกเช้าศิษย์เก่ารู้ดีครับ
    __________________
     
  12. เด็กไทรน้อย

    เด็กไทรน้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 เมษายน 2008
    โพสต์:
    3,259
    ค่าพลัง:
    +4,327
    น่าจะนำลงเป็นวิทยาทานให้คนที่ยังไม่รู้ไว้สวดภาวนาด้วยนะครับ...อนุโมทนาด้วยนะครับ_/\_:cool:
     
  13. kang_som

    kang_som เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    11,853
    ค่าพลัง:
    +27,800
    กราบหลวงปู่พิศดู หลวงปู่ทองดำ ครูบากฤษฏา

    ตามอ่านอยู่ตลอดครับแต่ไม่รูจะเอาอะไรมาเล่า แหะๆๆ.... รอเก็บข้อมูลจากพี่ๆ ครับผม......
     
  14. เด็กไทรน้อย

    เด็กไทรน้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 เมษายน 2008
    โพสต์:
    3,259
    ค่าพลัง:
    +4,327
    ท่านแฝงจันทร์ห่างหายจากหน้าจอไปซะหลายวันนำของดีมีคุณค่ามาให้ชมกันอีกแล้วนะครับ...พระห้าเหลี่ยมองค์เป็นพระพิมพ์อะไรเหรอครับสวยงามดี...พระชุดนี้คงจะองค์จ้อยนะครับ...
     
  15. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    ที่ผ่านมาต้องเดินทางครับ เลยไม่ได้เข้ามาหน้าจอ แต่มีเวลาก็จะนํารูปมาลงเหมือนเดิมครับ เนื้อหาอาจจะจําเจหน่อยนะครับ เพราะต้องการลงไว้เป้นข้อมูลให้ท่านที่สนใจ เผื่อจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย พระพิมพ์ห้าเหลี่ยมไม่แน่ใจว่าเรียกพิมพ์อะไรเดี๋ยวรอท่านที่ทราบมาตอบดีกว่าครับ :)
     
  16. เด็กไทรน้อย

    เด็กไทรน้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 เมษายน 2008
    โพสต์:
    3,259
    ค่าพลัง:
    +4,327
    ไม่จำเจหรอกครับ เป็นวิทยาทาน
     
  17. สันติภาพ999

    สันติภาพ999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    2,885
    ค่าพลัง:
    +2,229
    สวัสดี ครับ พี่ๆทุกๆท่าน วันนี้มีเรื่องเเปลกๆเกี่ยวกับ องค์หลวงปู่มาเล่าให้ฟังอีกเรื่อง เมื่อหลายปีก่อน หลังปี 40 ตอนนั้นผู้คน เริ่มได้รู้จักหลวงปู่พิศดู กันมากขึ้น มีน้องคนหนึ่งใน จันทบุรี มีงานอดิเรกรับเช่าบูชา พระเครื่อง เอารถยนต์ไปให้หลวงปู่เจิมรถให้ หลวงปุ๋ท่านเมตตา ลงมาจากกุฎิหลังเดิม จะเจิมให้ เมื่อท่านลงมาที่รถ ท่านพิจารณาดูที่รถ เเล้วท่านก็บอกกับพี่ท่านนั้น ว่ารถคันนี้ดีเเล้ว ไม่ต้องเจิม ท่านว่าอย่างนั้น เเล้วขึ้นกุฎิไปพวกที่ไปด้วยกันก็งง ถามเจ้าของรถว่า ไปให้อาจารย์ที่ไหนเจิม มาก่อนเหรือเปล่า เจ้าของก็งง บอกว่ายังไม่ได้ให้อาจารย์ องค์อื่นเจิมเลย นึกไปนึกมา ก็เปิดเข้าไปดูในรถ เจ้าของเเขวนเหรียญรุ่นเเรก ไว้หน้ารถ ถึงได้ถึงบางอ้อ ตั้งเเต่นั้นมา พี่คนนี้ตามเก็บตามเช่าบูชาหลวงปู่ไว้ตลอด ท่านนี้ก็เป็นสายตรง หลวงปู่อีกคนหนึ่ง ครับ.....^0^
     
  18. สันติภาพ999

    สันติภาพ999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    2,885
    ค่าพลัง:
    +2,229
    พระอรหันต์นิพพานแล้วไปไหน <!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc--><!--/colorc-->

    <!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--><!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->

    <!--coloro:#000080-->
    <!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->คนธรรมดาตายแล้วย่อมเกิดในภพต่าง ๆ ตามกรรม ส่วนพระอรหันต์ผู้สิ้นกรรมแล้วไปเกิดที่ไหน<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc--><!--/colorc--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->?

    พุทธดำรัสตอบ<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc-->“....ดูก่อนวัจฉะ คำว่า จะเกิดดังนี้ไม่ควรเลย....คำว่า ไม่เกิดดังนี้ ก็ไม่ควร.... คำว่าเกิดก็มี ไม่เกิดก็มี ดังนี้ก็ไม่ควร.... คำว่าเกิดก็มิใช่ ไม่เกิดก็มิใช่ ดังนี้ก็ไม่ควร<!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000080--><!--/coloro-->“.....<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000080--><!--/coloro-->ธรรมนี้เป็นธรรมลุ่มลึก ยากที่จะเป็น ยากที่จะรู้ สงบระงับประณีตไม่ใช่ธรรมที่จะหลั่งถึงได้ด้วยความตรึกละเอียดบัณฑิตจึงจะรู้ได้ ธรรมนั้นอันท่านผู้มีความเห็นเป็นอย่างอื่นมีความพอใจเป็นอย่างอื่น มีความชอบใจเป็นอย่างอื่น มีความเพียรในทางอื่น อยู่ในสำนักของอาจารย์อื่น รู้ได้โดยยาก ดูก่อนวัจฉะ......เราจักย้อนถามท่านในข้อนี้..... ถ้าไฟลุกโพลงอยู่ต่อหน้าท่านท่านจะพึงรู้หรือไม่ว่าไฟนี้ลุกโพลงอยู่ต่อหน้าเรา<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->”

    วัจฉะ<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc-->“ข้าพเจ้าพึงรู้ว่า ไฟนี้ลุกโพลงอยู่ต่อหน้าเรา<!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->”

    พุทธะ<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc-->“...... ไฟที่ลุกโพลงอยู่ต่อหน้าท่านนี้อาศัยอะไรจึงลุกเล่า ท่านถูกถามอย่างนี้แล้ว จะพึงพยากรณ์ว่าอย่างไร<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->?

    วัจฉะ<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc-->“......ข้าพเจ้าถูกถามอย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์อย่างนี้ว่าไฟที่ลุกโพลงอยู่ต่อหน้าเรานี้ อาศัยเชื้อคือหญ้าและไม้จึงลุกอยู่<!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->”

    พุทธะ<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc-->“......ถ้าไฟนั้นพึงดับไปต่อหน้าท่าน ท่านพึงรู้หรือว่าไฟนี้จะดับไปต่อหน้าเราแล้ว<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->?”

    วัจฉะ<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc-->“ ...... ข้าพเจ้าพึงรู้ว่าไฟนี้ดับไปต่อหน้าเราแล้ว.....<!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->”

    พุทธะ<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc-->“......ไฟที่ดับไปต่อหน้าท่านแล้วนั้นไปยังทิศไหนจากทิศนี้....ท่านถูกถามอย่างนี้แล้ว จะพึงพยากรณ์ว่าอย่างไร<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->?”

    วัจฉะ<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc-->“...... ข้อนั้นไม่สมควร เพราะไฟนั้นอาศัยเชื้อคือหญ้าและไม้จึงลุกแต่เพราะเชื้อนั้นสิ้นไปและเพราะไม่มีของอื่นเป็นเชื้อ ไฟนั้นจึงถึงความนับว่า ไม่มีเชื้อดับไปแล้ว<!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--coloro:#000080--><!--/coloro--><!--sizeo:4--><!--/sizeo-->”

    พุทธะ<!--fonto:Times New Roman--><!--/fonto--> <!--fontc--><!--/fontc-->“......ฉันนั้นเหมือนกัน วัจฉะ บุคคลเมื่อบัญญัติว่าเป็นสัตว์พึงบัญญัติเพราะรูปใด...... เพราะเวทนาใด....... เพราะสัญญาใด........เพราะสังขารใด เพราะวิญญาณใด รูป...... เวทนา...... สัญญา.....สังขาร.....วิญญาณนั้น ตถาคตละได้แล้ว มีมูลรากอันขาดแล้ว ทำให้เห็นดุจตาลยอดด้วนถึงความมี มีความไม่เกิดขึ้นต่อไปเป็นธรรมดา ตถาคตพ้นจากการนับว่ารูป.......เวทนา...... สัญญา.... สังขาร...... วิญญาณ มีคุณอันลึกอันใครๆ ประมาณไม่ได้ หยั่งถึงได้โดยยาก เปรียบเหมือนมหาสมุทรฉะนั้นไม่ควรจะกล่าวว่าเกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าไม่เกิด ไม่ควรจะกล่าวว่าเกิดก็มีไม่เกิดก็มีไม่ควรจะกล่าวว่าเกิดก็หามิได้ ไม่เกิดก็หามิได้”

    <!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc-->
     
  19. ทุเรียนทอด

    ทุเรียนทอด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,329
    ค่าพลัง:
    +57,981
    ทิพย์มนต์-ปิ่นธรณี

    หนังสือ บทสวดมนต์ฉบับมณีนพรัตน์ "ทิพย์มนต์-ปิ่นธรณี" ได้รวบรวมพระคาถาทิพย์มนต์มาแต่โบราณกาล โดยพระโพธิสัตว์ที่ชื่อ กบิลฤาษี เป็นชาติหนึ่งของพระพุทธเจ้า ได้เจริญฌานธาตุ ๖ หรือเจริญทิพย์มนต์อยู่ในป่าไม้สักที่ประเทศอินเดีย ทำให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุข มหามงคลในสถานที่ที่ประชาชนร่วมมือกันเจริญทิพย์มนต์นี้ จากนั้นท่านพ่อลี วัดอโศการาม ได้นำพระคาถานี้มารวบรวมแต่งขึ้นใหม่ โดยเพิ่มการบูชาขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และอาการ ๓๒ ของมนุษย์ และธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ และมีบททิพย์มนต์-ปิ่นธรณีบูชารอยพระพุทธบาทและพระบรมสารีริกธาตุทุกส่วนของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระอรหันต์จึงเป็นมงคลอันยิ่งใหญ่ทั้งแผ่นดินและทั้งโลก


    นะโมตัสสะ ภะคะวะโตอะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    พุทธัง อายุ วัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานังสะระนังคัจฉามิ
    ธัมมัง อายุ วัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานังสะระนังคัจฉามิ
    สังฆัง อายุ วัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานังสะระนังคัจฉามิ

    ทุติยัมปิ พุทธัง อายุ วัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานังสะระนังคัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง อายุ วัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานังสะระนังคัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง อายุ วัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานังสะระนังคัจฉามิ

    ตติยัมปิ พุทธัง อายุ วัฑฒะนัง ชีวิตังยาวะ นิพพานัง สะระนังคัจฉามิ
    ตติยัมปิ ธัมมัง อายุ วัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระนังคัจฉามิ
    ตติยัมปิ สังฆัง อายุ วัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานังสะระนังคัจฉามิ

    • วาโยจะพุทธะคุนัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธวิชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตะโร ปุริสะทัม มะสาระถิ สัตถา เทวะมนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

    วาโย จะ ธัมเมตัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพวิญญูหีติ

    วาโย จะ สังฆานัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย
    อะนุตตะรังปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ


    ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะสัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา
    วิมุจจันติอิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะยายะ สัพพาวัน
    ตังโลกัง เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา
    จะตุตะทิสัง ผะริตตะวา วิระหะติ สุขังสุปะติ สุขัง ปะฎิพุชฌะติ
    นะปาปะกังสุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโย โหติ อะมะนุสสานัง
    ปิโย โหติ เทวะตา รักขันตินาสสะ อัคคี วา วิสัง วา สัตถัง วา
    กะมะติ ตุวะฎัง จิตตัง สะมาธิ ยะติ มุขวัณโนวิปปะสีทะติ อะสัมมุฬะโห
    กาลังกะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโล กูปะโตโหคิ อิติ
    อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญังมัยหัง
    สัพเพภาคี ภะวันตุเม

    ภะวันตุสัพพะมังคะลังรักขันตุ สัพพะเทวตา สัพพะพุทธานุภาวนะ
    สัพพะธัมมานุภาวนะ สัพพะสังฆานุภาวนะโสตถี โหนตุ นิรันตะรัง
    อะระหัง พุทโธ อิคิปิโส ภะคะวา นะมามิหัง๚ะ๛

    • เตโชจะ พุทธะคุนัง อะระหังพุทโธอิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู
    อะนุตะโร ปุริสะทัม มะสาระถิ สัตถา เทวะ มนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ


    เตโช จะ ธัมเมตัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    เตโช จะสังฆานัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโยปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตังโลกัสสาติ

    ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะสัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา
    วิมุจจันติอิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะยายะ สัพพาวัน
    ตังโลกัง เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา
    จะตุตะทิสัง ผะริตตะวา วิระหะติ สุขังสุปะติ สุขัง ปะฎิพุชฌะติ
    นะปาปะกังสุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโย โหติ อะมะนุสสานัง
    ปิโย โหติ เทวะตา รักขันตินาสสะ อัคคี วา วิสัง วา สัตถัง วา
    กะมะติ ตุวะฎัง จิตตัง สะมาธิ ยะติ มุขวัณโนวิปปะสีทะติ อะสัมมุฬะโห
    กาลังกะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโล กูปะโตโหคิ อิติ
    อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญังมัยหัง
    สัพเพภาคี ภะวันตุเม
    ภะวันตุสัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตาสัพพะพุทธานุภาวนะ
    สัพพะธัมมานุภาวนะ สัพพะสังฆานุภาวนะ โสตถี โหนตุนิรันตะรัง
    อะระหัง พุทโธ อิคิปิโส ภะคะวา นะมามิหัง๚ะ๛

    • อาโป จะ พุทธะคุนัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู
    อะนุตะโร ปุริสะทัม มะสาระถิ สัตถา เทวะ มนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ

    อาโป จะ ธัมเมตัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    อาโป จะสังฆานัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโยปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตังโลกัสสาติ

    ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะสัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา
    วิมุจจันติอิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะยายะ สัพพาวัน
    ตังโลกัง เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา
    จะตุตะทิสัง ผะริตตะวา วิระหะติ สุขังสุปะติ สุขัง ปะฎิพุชฌะติ
    นะปาปะกังสุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโย โหติ อะมะนุสสานัง
    ปิโย โหติ เทวะตา รักขันตินาสสะ อัคคี วา วิสัง วา สัตถัง วา
    กะมะติ ตุวะฎัง จิตตัง สะมาธิ ยะติ มุขวัณโนวิปปะสีทะติ อะสัมมุฬะโห
    กาลังกะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโล กูปะโตโหคิ อิติ
    อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญังมัยหัง
    สัพเพภาคี ภะวันตุเม

    ภะวันตุสัพพะมังคะลังรักขันตุ สัพพะเทวตา สัพพะพุทธานุภาวนะ
    สัพพะธัมมานุภาวนะ สัพพะสังฆานุภาวนะโสตถี โหนตุ นิรันตะรัง
    อะระหัง พุทโธ อิคิปิโส ภะคะวา นะมามิหัง๚ะ๛


    • ปะฐะวี จะ พุทธะคุนัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู
    อะนุตะโร ปุริสะทัม มะสาระถิ สัตถา เทวะ มนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ

    ปะฐะวี จะ ธัมเมตัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโกปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    ปะฐะวี จะ สังฆานัง อะระหังพุทโธ อิติปิโสภะคะวา นะมามิหัง

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย
    อะนุตตะรังปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะสัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา
    วิมุจจันติอิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะยายะ สัพพาวัน
    ตังโลกัง เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา
    จะตุตะทิสัง ผะริตตะวา วิระหะติ สุขังสุปะติ สุขัง ปะฎิพุชฌะติ
    นะปาปะกังสุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโย โหติ อะมะนุสสานัง
    ปิโย โหติ เทวะตา รักขันตินาสสะ อัคคี วา วิสัง วา สัตถัง วา
    กะมะติ ตุวะฎัง จิตตัง สะมาธิ ยะติ มุขวัณโนวิปปะสีทะติ อะสัมมุฬะโห
    กาลังกะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโล กูปะโตโหคิ อิติ
    อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญังมัยหัง
    สัพเพภาคี ภะวันตุเม

    ภะวันตุสัพพะมังคะลังรักขันตุ สัพพะเทวตา สัพพะพุทธานุภาวนะ
    สัพพะธัมมานุภาวนะ สัพพะสังฆานุภาวนะโสตถี โหนตุ นิรันตะรัง
    อะระหัง พุทโธ อิคิปิโส ภะคะวา นะมามิหัง๚ะ๛


    • อากาสา จะ พุทธะคุนัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู
    อะนุตะโร ปุริสะทัม มะสาระถิ สัตถา เทวะ มนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ

    อากาสา จะ ธัมเมตัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพวิญญูหีติ

    อากาสา จะ สังฆานัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย
    อะนุตตะรังปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะสัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา
    วิมุจจันติอิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะยายะ สัพพาวัน
    ตังโลกัง เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา
    จะตุตะทิสัง ผะริตตะวา วิระหะติ สุขังสุปะติ สุขัง ปะฎิพุชฌะติ
    นะปาปะกังสุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโย โหติ อะมะนุสสานัง
    ปิโย โหติ เทวะตา รักขันตินาสสะ อัคคี วา วิสัง วา สัตถัง วา
    กะมะติ ตุวะฎัง จิตตัง สะมาธิ ยะติ มุขวัณโนวิปปะสีทะติ อะสัมมุฬะโห
    กาลังกะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโล กูปะโตโหคิ อิติ
    อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญังมัยหัง
    สัพเพภาคี ภะวันตุเม

    ภะวันตุสัพพะมังคะลังรักขันตุ สัพพะเทวตา สัพพะพุทธานุภาวนะ
    สัพพะธัมมานุภาวนะ สัพพะสังฆานุภาวนะโสตถี โหนตุ นิรันตะรัง
    อะระหัง พุทโธ อิคิปิโส ภะคะวา นะมามิหัง๚ะ๛

    • วิญญาณัง จะ พุทธะคุนัง อะระหังพุทโธอิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตะโร ปุริสะทัม มะสาระถิ สัตถา เทวะ มนุสสานังพุทโธ ภะคะวาติ

    วิญญาณัง จะ ธัมเมตัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหัง
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    วิญญาณังจะ สังฆานัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโยปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตังโลกัสสาติ

    ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะสัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา
    วิมุจจันติอิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะยายะ สัพพาวัน
    ตังโลกัง เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา
    จะตุตะทิสัง ผะริตตะวา วิระหะติ สุขังสุปะติ สุขัง ปะฎิพุชฌะติ
    นะปาปะกังสุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโย โหติ อะมะนุสสานัง
    ปิโย โหติ เทวะตา รักขันตินาสสะ อัคคี วา วิสัง วา สัตถัง วา
    กะมะติ ตุวะฎัง จิตตัง สะมาธิ ยะติ มุขวัณโนวิปปะสีทะติ อะสัมมุฬะโห
    กาลังกะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโล กูปะโตโหคิ อิติ
    อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญังมัยหัง
    สัพเพภาคี ภะวันตุเม

    ภะวันตุสัพพะมังคะลังรักขันตุ สัพพะเทวตา สัพพะพุทธานุภาวนะ
    สัพพะธัมมานุภาวนะ สัพพะสังฆานุภาวนะโสตถี โหนตุ นิรันตะรัง
    อะระหัง พุทโธ อิคิปิโส ภะคะวา นะมามิหัง๚ะ

    __________________________________________





    นอกจากนี้แล้ว หากเราจะใช้ในทางปรับธาตุ ร่างกาย ก็สามารถเปลี่ยนคำที่ขีดเส้นใต้นี้เป็น ส่วนของขันธ์ 5 ก็ได้อีก เช่น
    • รูปัญ
    • เวทนัญ
    • สัญญา
    • สังขาร
    • วิญญานัญ
    หรือจะใช้อาการ 32 ก็ได้อีกเช่นกัน เช่น
    • เกศา (ผม)
    • โลมา (ขน)
    • นขา (เล็บ)
    • ทันตา (ฟัน)
    • ตโจ (หนัง)
    • มังสัง (เนื้อ)
    • นหารู (เอ็น)
    • อัฏฐิ (กระดูก)
    • อัฏฐิมิญชัง (เยื่อในกระดูก)
    • วักกัง (ม้าม)
    • หทยัง (หัวใจ)
    • ยกนัง (ตับ)
    • กิโลมกัง (ผังผืด)
    • ปิหกัง (ไต)
    • ปับผาสัง (ปอด)
    • อันตัง (ลำไส้เล็ก)
    • อันตคุณัง (ลำไส้ใหญ่)
    • อุทริยัง (อาหารใหม่)
    • กรีสัง (อาหารเก่า)
    • ปิตตัง (น้ำดี)
    • เสมหัง (เสลด)
      [*]บุพโพ (น้ำหนอง)
      [*]โลหิตัง (เลือด)
      [*]เสโท (เหงื่อ)
      [*]เมโท (มันข้น)
      [*]วสา (มันเหลว)
      [*]อัสสุ (น้ำตา)
      [*]เขโฬ (น้ำลาย)
      [*]สิงคาณิกา (น้ำมูก)
      [*]ลสิกา (น้ำไขข้อ)
      [*]มุตตัง (น้ำปัสสาวะ)
    • มัตถเกมัตถลุงคัง (สมอง)
    หรือจะใช้เป็นคำอื่นนอกจากที่กล่าวมานี้แล้วก็ได้ ทั้งนี้ก็เพียงเปลี่ยนแต่ตัวหน้า(ที่ขีดเส้นสีแดง)เพียงอย่างเดียว บทสวดที่เหลือเหมือนกันทั้งหมด ตามแต่จะใช้เถิดครับ.. สาธุ



    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มีนาคม 2012
  20. นายน้ำ5

    นายน้ำ5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    1,159
    ค่าพลัง:
    +7,282
     

แชร์หน้านี้

Loading...