อาสวสัมปยุตตทุกะ ปัจจยวาร

ในห้อง 'พระไตรปิฎก เสียงอ่าน' ตั้งกระทู้โดย vilawan, 22 มิถุนายน 2010.

  1. vilawan

    vilawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    836
    ค่าพลัง:
    +1,432
    ปัจจยวาร<O:p</O:p
    [๓๗๕] อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับ ปฏิจจวาร<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม อาศัยอาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย คือ <O:p</O:p
    ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาสววิปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย <O:p</O:p
    ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑<O:p</O:p
    จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย<O:p</O:p
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม<O:p</O:p
    อาศัยหทัยวัตถุ โมหะที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยอาสววิปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    อาศัยหทัยวัตถุ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยโทมนัส<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม<O:p</O:p
    อาศัยอาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย<O:p</O:p
    อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และโมหะ อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัส<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    และมหาภูตรูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ<O:p</O:p
    โมหะที่สหรคตด้วยโทมนัส อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส <O:p</O:p
    และหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม<O:p</O:p
    อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    และมหาภูตรูปทั้งหลาย<O:p</O:p
    ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัส<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัส และหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    [๓๗๖] อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม อาศัยอาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ<O:p</O:p
    อารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    จักขุวิญญาณอาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ<O:p</O:p
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ โมหะ<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยอาสววิปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปยุตตธรรม อาศัยอาสววิปปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา <O:p</O:p
    สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา<O:p</O:p
    ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย<O:p</O:p
    ฯลฯ เพราะอนันตรปัจจัย<O:p</O:p
    ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย<O:p
    [๓๗๗]
    ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙<O:p</O:p
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙<O:p
    ในกัมมปัจจัย มี " ๙<O:p
    ในวิปากปัจจัย มี " ๑
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
    อนุโลม จบ<O:p</O:p
    [๓๗๘] อาสววิปปยุตตธรรม อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม อาศัยอาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์<O:p</O:p
    จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลาย<O:p</O:p
    ที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ โมหะ ที่สหรคต
    ด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม อาศัยอาสวสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    อาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    และหทัยวัตถุ ฯลฯ<O:p</O:p
    [๓๗๙]
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓<O:p</O:p
    การนับทั้งสองนี้ แม้นอกนี้ พึงกระทำอย่างนี้<O:p</O:p
    แม้นิสสยวาร ก็เหมือนกับ ปัจจยวาร

    [MUSIC]http://audio.palungjit.org/attachment.php?attachmentid=54270[/MUSIC]


    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๖๕๐๐ - ๖๖๒๓. หน้าที่ ๒๖๖ - ๒๗๑.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php?B=42&A=6500&Z=6623&pagebreak=0
    <O:p</O:p
     
  2. J.Sayamol

    J.Sayamol เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2008
    โพสต์:
    6,190
    ค่าพลัง:
    +21,530
    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...