อเมริกา กำลังจะล้มละลายภายใน 3 ปีนี้ี เพื่อชดใช้กรรมแล้ว (แต่การทหารยังคงแข็งแกร่ง)

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย Premsuda (May), 14 กุมภาพันธ์ 2010.

  1. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,912
    ค่าพลัง:
    +7,320
    ยุโรปเข้มบีบกรีซคุมวิกฤตหนี้

    15 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 19:37 น.

    <!-- end articleDetailPanel -->ที่ประชุมรัฐมนตรีคลังยุโรปประชุมแก้ปัญหากรีซรอบใหม่ คาดกดดันกรีซแก้งบขาดดุลแลกความช่วยเหลือ

    [​IMG]ฌอง โคลด ตริเชต์ ผู้ว่าการธนาคารกลางยุโรป
    เอเอฟพี รายงานอ้างหนังสือพิมพ์ฮันเดลส์บลัต ในเยอรมนี ว่า ที่ประชุมรัฐมนตรีคลังสหภาพยุโรป (อียู) นัดพิเศษวันที่ 15-16 ก.พ. เพื่อถกหามาตรการช่วยเหลือกรีซจากวิกฤตการณ์หนี้นั้น จะมีการกดดันอย่างหนักให้กรีซดำเนินการลดงบประมาณขาดดุลให้มากขึ้นอีก เพื่อแลกกับความช่วยเหลือของประเทศสมาชิกอียู
    หนังสือพิมพ์ดังกล่าวซึ่งอ้างว่ามีเอกสารรายละเอียดของการประชุมนัดใหม่ ระบุว่า ฌอง โคลด ตริเชต์ ผู้ว่าการธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) ต้องการให้รัฐมนตรีคลังยุโรปร่วมกันกดดันให้กรีซ ยอมตกลงที่จะลดงบประมาณขาดดุลให้ได้มากกว่าเดิม ซึ่งมีทั้งข้อเสนอให้ขึ้นภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับผู้บริโภค ขึ้นภาษีสินค้าฟุ่มเฟือยและพลังงาน
    ตริเชต์ ย้ำว่าการลดงบประมาณรายจ่ายให้มากขึ้น เป็นหนทางเดียวที่กรีซจะสามารถลดงบขาดดุลให้ลงมาอยู่ที่ 8.7% ในปีนี้ ขณะที่กรีซให้คำมั่นก่อนหน้านี้ว่าจะลดงบขาดดุลให้ลงมาต่ำกว่า 3% ภายในปี 2012 ซึ่งเป็นมาตรฐานของกลุ่มยูโรโซน
    อย่างไรก็ตาม รัฐมนตรีหลายคนไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอดังกล่าว และยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจนว่าการประชุมจะมีการตกลงเพื่อหาทางช่วยเหลือกรีซจากวิกฤตการณ์หนี้ท่วมประเทศ อย่างไร
    วันเดียวกัน ตริเชต์ได้เปิดเผยก่อนการประชุม โดยกระตุ้นให้กรีซเพิ่มกระบวนการตรวจสอบทางบัญชี รวมถึงวินัยทางการคลังให้เข้มงวดมากขึ้น เพื่อควบคุมวิกฤตการณ์หนี้ในประเทศ และย้ำความคาดหวังว่า กรีซจะมีการประกาศแผนฟื้นฟูออกมาโดยเร็ว
    “กรีซต้องเพิ่มการตรวจสอบทางบัญชีให้รัดกุมกว่านี้ การปล่อยให้มีตัวเลขหลุดออกมาโดยไม่ได้รับการตรวจสอบที่ดีพอ เป็นเรื่องที่ไม่อาจยอมรับได้” ตริเชต์ กล่าว
    ทั้งนี้ ปัญหางบขาดดุลของกรีซพุ่งขึ้นไปถึง 12.7% ของจีดีพีประเทศ ขณะที่ปัญหาหนี้สาธารณะก็ทะยานไปถึง 3 แสนล้านยูโร (ราว 13.5 ล้านล้านบาท) หรือ 113% ของจีดีพี ซึ่งเป็นที่คาดกันว่าการประชุมนัดล่าสุด ซึ่งต่อเนื่องมาจากนัดแรกเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว จะมีการตกลงในมาตรการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือกรีซ และเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพของค่าเงินยูโร
    วันเดียวกัน กระทรวงการคลังกรีซแถลงพบเอกสารหลายชุด ที่กรีซและสถาบันการเงินชั้นนำหลายแห่ง ได้ทำข้อตกลงแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งอาจถือเป็นช่องทางสำคัญช่วยให้กรีซสามารถยืดเวลาการชำระหนี้ออกไป
    แม้จะไม่มีการเปิดเผยชื่อสถาบันการเงิน ทว่า คริสโตโฟรอส ซาร์เดลิส อดีตผู้อำนวยการสำนักหนี้ของกรีซ กล่าวกับบลูมเบิร์กว่า กรีซเคยทำข้อตกลงสวอปกับธนาคารโกลด์แมน แซคส์ เมื่อปี 2002

    ยุโรปเข้มบีบกรีซคุมวิกฤตหนี้

    ปล.ขอขอบคุณที่มาของข้อมูลจากคุณ Cool Kid
    [​IMG] http://jimmysiri.blogspot.com/2010/02/physical-future_16.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กุมภาพันธ์ 2010
  2. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,912
    ค่าพลัง:
    +7,320
    สหรัฐฯเพิ่มเพดานขาดดุลงบประมาณขึ้นไปที่ 14.3 ล้านล้านดอลลาร์ฯ

    สมาชิกสภาล่างลงมติเพิ่มเพดานหนี้ให้ขึ้นไปที่ 14.3 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งถือเป็นเพดานที่ประวัติการณ์เพื่อให้รัฐบาลกลางสามารถกู้ยืมเงินได้อีก 1.9 ล้านล้านดอลลาร์...

    แกนนำสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ นายสเตนีย์ โฮเยอร์ เปิดเผยว่า สมาชิกสภาล่างได้ลงมติรับรองการเพิ่มเพดานหนี้ของประเทศให้ขึ้นไปอยู่ที่ 14.3 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งแตะระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์เพื่อให้รัฐบาลกลางสามารถกู้ยืมเงินได้อีก 1.9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ สภาล่างและสภาสูงของสหรัฐฯ ต่างก็เห็นพ้องที่จะให้มีการเพิ่มเพดานการก่อหนี้เป็นการชั่วคราวจำนวน 290,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพื่อรับประกันว่ารัฐบาลจะสามารถดำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจและการใช้จ่ายต่างๆได้อย่างต่อเนื่อง

    อย่างไรก็ตาม นายทิโมธี ไกธ์เนอร์ รมว.คลัง เตือนว่า การตั้งงบ ประมาณขาดดุลเป็นระยะเวลานาน จะเป็นผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ และจำเป็นต้องมีการควบคุมตัวเลขขาดดุลในทันทีที่เศรษฐกิจสหรัฐฯฟื้นตัวจากภาวะถดถอยครั้งเลวร้ายที่สุดนับแต่ยุคเกรทดีเพรสชั่นนี้

    สหรัฐฯเพิ่มเพดานขาดดุลงบประมาณขึ้นไปที่ 14.3 ล้านล้านดอลลาร์ฯ - ข่าวไทยรัฐออนไลน์

    ปล.ขอขอบคุณที่มาของข้อมูลจากคุณ Cool Kid
    [​IMG] http://jimmysiri.blogspot.com/2010/02/physical-future_16.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กุมภาพันธ์ 2010
  3. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,912
    ค่าพลัง:
    +7,320
    กับดักเงินยูโร ( 15/2/53)
    ประวิทย์ เรืองศิริกูลชัย นักเศรษฐศาสตร์นอกกรอบ อดีตนักเรียนทุนญี่ปุ่น กรุงเทพธุรกิจ วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

    ถ้าคิดว่าผมจะเขียนเรื่อง “วิกฤติการคลังของยุโรป” นั้นก็อาจถูกเพียงครึ่งเดียว นั่นเป็นเรื่องปลายเหตุ EU ย่อมไม่สามารถแก้ไขปัญหาของกรีซ โปรตุเกส และสเปน ไปได้ หากมองไม่เห็นถึงต้นตอของปัญหาอย่างแท้จริง นักเศรษฐศาสตร์จำนวนมากได้มองข้ามปัญหาของระบบเงินยูโร

    เงินยูโร เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1999 คือ สกุลเงินที่ประเทศในเขตยูโรโซนปัจจุบันมี 16 ประเทศจากสมาชิก EU 27 ประเทศ ตัดสินใจนำใช้เพื่อซื้อขายแลกเปลี่ยนร่วมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกต่อการค้าขายโดยไม่ต้องแลกเปลี่ยนเงินตราสกุลต่างๆ ในเขตยูโรโซน และเพื่อช่วยให้อัตราดอกเบี้ย และเงินเฟ้ออยู่ในระดับต่ำ สกุลเงินนี้ครอบคลุมประชากรถึง 327 ล้านคนในยุโรป อีก 175 ล้านคนนอกเขตยุโรป นอกจากนี้ ยูโรโซนมีขนาดของเศรษฐกิจเป็นอันดับ 2 รองจากสหรัฐอเมริกา และหากรวมเศรษฐกิจทั้ง EU จะมีขนาดถึง 18 ล้านล้านดอลลาร์ ซึ่งใหญ่กว่า สหรัฐอเมริกาเสียอีก อย่างไรก็ดี เมื่อใช้เงินสกุลนี้มาได้ราว 10 ปีเราเริ่มได้เห็นถึง “ด้านมืด” ของการใช้เงินสกุลเดียวได้เด่นชัดยิ่งขึ้น

    เมื่อฟิทช์ได้ลดอันดับความน่าเชื่อถือของ “กรีซ” ลงสู่ระดับ BBB- จากระดับ A- เป็นการลดระดับความน่าเชื่อถือในรอบ 10 ปี และเป็นครั้งแรกของกรีซที่ถูกลดระดับลงต่ำกว่า A นอกจากนี้ S&P ยังให้มุมมอง “เชิงลบ” จาก “ทรงตัว” ต่อประเทศสเปนอีกด้วย หลังจากปรับลดเครดิตจาก AAA เป็น AA+ มาตั้งแต่ต้นปีเดือน มกราคม 2009

    ทำไมประเทศที่ดูเหมือนแข็งแกร่งเหล่านี้จึงได้ประสบปัญหาในเรื่องของเครดิตได้ หากมองว่าเป็นเพราะ ขาดวินัยทางการคลัง นั่นก็คงเป็นที่ปลายเหตุ กรีซ ขาดดุลการคลัง 12.7% GDP ขณะที่สเปน ขาดดุลการคลังราว 11% GDP ซึ่งก็นับว่าอยู่ในระดับเดียวกันกับ อเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่น แล้วเหตุใดการลามของวิกฤติจึงไปที่สเปน โปรตุเกส แทนที่จะไปที่อิตาลี ซึ่งมีหนี้สินสาธารณะต่อ GDP สูงกว่า 100% ซึ่งเป็นระดับอันตรายเช่นเดียวกับ กรีซ

    เมื่อมองย้อนหลังไปดูก็จะพบว่าวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศไม่ใหญ่นัก มักจะมีต้นเหตุหลักมาจาก “ระบบอัตราแลกเปลี่ยน” นั่นเอง โดยเฉพาะการปล่อยให้ค่าเงินมีค่าสูงกว่าที่ควรจะเป็นนานเกินไป ทำให้เกิดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูงและต่อเนื่องหลายปี และ ในที่สุดความเชื่อมั่นก็ถดถอยจนเกิดการถอนเงินตราต่างประเทศออกอย่างเร็ว ซึ่งเหตุการณ์แบบนี้เคยเกิดกับประเทศเม็กซิโก ในปี ค.ศ.1994 ประเทศไทย (วิกฤติต้มยำกุ้ง) ในปี ค.ศ.1997 และ ประเทศอาร์เจนตินา ในปี 2002

    ค่าเงินยูโรได้แข็งขึ้นอย่างเร็วจากระดับ 1 ยูโร ราว 0.8 ดอลลาร์ในปี ค.ศ.2002 เป็น 1.6 ดอลลาร์ ในปี 2008 ได้เพิ่ม GDP ของประเทศในกลุ่มนี้ให้สูงขึ้นอย่างมาก โดยประเทศกรีซ และ สเปน มี GDP ที่สูงขึ้นกว่า 150% คิดตามดอลลาร์ ในระยะเวลา 7 ปี จนถึงปี 2008 ซึ่งนับว่าเป็นระดับที่สูงมากๆ เมื่อเทียบกับประเทศสหรัฐอเมริกานั้นเติบโตขึ้นราว 40% เท่านั้นเอง อย่างไรก็ดี ค่าเงินที่แข็งค่าอย่างเร็วนี้ได้ทำให้ความสามารถแข่งขันในการส่งออก และท่องเที่ยวลดลงอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็ประชาชนมีกำลังซื้อสูงขึ้นเกิดการนำเข้าสินค้าต่างๆ เข้ามามากมาย จนทำให้ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลอย่างหนักเป็นสัดส่วนถึงกว่า 10% GDP สำหรับประเทศกรีซ ตั้งแต่ปี 2006 มาแล้ว และ สำหรับประเทศสเปน ก็ขาดดุลมากกว่า 7% มานาน 4 ปีแล้วเช่นกันกลายเป็นประเทศที่ขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูงสุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา ตรงข้ามกับเยอรมันที่ได้ดุลเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากจีน และญี่ปุ่นในปี 2008

    ประเทศริมขอบของเขตยูโร อย่าง กรีซ ไอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปนและอิตาลี (PIIGS) ต่างก็ต้องประสบกับปัญหาการที่ต้องพยายามประคองเศรษฐกิจให้ได้ ภายใต้สภาวะที่ค่าเงินยูโรแข็งค่า แข่งขันอย่างไรก็แพ้ กลายเป็น “หมู” สำหรับประเทศเยอรมันอยู่ดี ประเทศเหล่านี้ได้ติด “กับดักเงินยูโร” เข้าแล้วด้วยความมุ่งหวังให้ต้นทุนการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยต่ำลง จึงโดดสู่ระบบเงินยูโร แต่ต้องประสบกับปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดอย่างสูงกว่า 10% สำหรับกรีซ บางประเทศอย่างสเปน มีอัตราการว่างงานสูงถึง 19% บางประเทศอย่างอิตาลี ก็มีหนี้สาธารณะต่อ GDP สูงกว่า 100% ค่าเงินยูโรนี้จะเคลื่อนไหวอิงตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ใหญ่กว่าอย่าง เยอรมัน และ ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นเศรษฐกิจใหญ่อันดับ 4 และ 5 ของโลกเป็นหลัก นอกจากนี้ค่าเงินยูโรยังถูกซื้อเพื่อนำไปเป็นเงินทุนสำรองระหว่างประเทศจำนวนมากในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เพื่อทดแทนเงินดอลลาร์ซึ่งมีความเสี่ยงของการอ่อนค่า แต่แนวโน้มนี้กำลังกลับทิศ

    หากเป็นประเทศอย่าง เม็กซิโก ไทย หรืออาร์เจนตินา ก็คือ การปล่อยให้ค่าเงินอ่อนลงอย่างเร็ว และ ดึงสมดุลการค้าให้กลับคืนมา เศรษฐกิจจะตกต่ำไปราว 1-2 ปี จากนั้นก็เริ่มยืนได้และเดินหน้าต่อไป แต่สำหรับประเทศริมขอบยูโรโซนเหล่านี้ ใช้ค่าเงินยูโรอยู่แล้ว จะลดค่าเงินลงมาก็ไม่ได้ จะมีทางออกที่สวยงามสำหรับประเทศเหล่านี้หรือไม่

    1. ระยะสั้นๆ ที่ควรแก้ไขด่วนก็คือ นำเศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก มาใช้เร็วที่สุด ซึ่งวิธีนี้จะเป็นการยืมพลัง แทนที่จะใช้งบประมาณโดยตรง ทำให้สามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจ และแก้ไขวิกฤติการคลังไปได้พร้อมๆ กัน ซึ่งต่างกับ กรีซที่ทำในปัจจุบันด้วยการลดการขาดดุลการคลัง ทำให้พนักงานรัฐจำนวนหนึ่งไม่พอใจ อาจก่อให้เกิดสารพัดม็อบขึ้นได้

    2. ในระยะ 1 ปีข้างหน้า ประเทศเหล่านี้มีความจำเป็นต้องออกจากระบบ “ยูโร” เพื่อเพิ่มการแข่งขันทางการส่งออก และ ท่องเที่ยว น่าจะมีรวมตัวกันจัดตั้งเงินสกุลใหม่ ผมขอใช้ชื่อ “ยูร่า” (EURA) ก็แล้วกัน เป็นค่าเงินที่จะอ่อนค่ากว่า “ยูโร” ตอนแรกอาจปรับค่าให้ต่ำกว่า ยูโร ราว 10% จากนั้นก็อาจใช้ระบบ crawling peg เพื่อเกาะค่ากับ “ยูโร” แต่ยอมให้อ่อนค่าลงทีละน้อย ประเทศที่แข็งแกร่งทีม A ก็ใช้ “ยูโร” กันไป ส่วนประเทศที่พื้นฐานไม่ค่อยไหวอยู่ทีม B ก็อาจเลือกมาใช้ “ยูร่า” แทน โดยประเทศอังกฤษก็น่าจะสนใจเข้าร่วมในเครือข่ายนี้ด้วยก็เป็นได้ ในที่สุดแล้วยุโรปก็จะมีเงิน 2 สกุลเท่านั้น ซึ่งครอบคลุมขนาดเศรษฐกิจใหญ่ราวๆ 9 ล้านล้านดอลลาร์ พอๆ กัน และ สามารถใช้เป็นเงินตราสำรองระหว่างประเทศได้อย่างดี

    ระบบเงินสกุลเดียวที่เคยดูเหมือนจะสดใสในอดีต เมื่อใช้มาย่างเข้าปีที่ 10 เริ่มพบว่ามี “ด้านมืด” แล้ว สำหรับเอเชียก็เช่นกัน ไม่ควรนำแนวคิดเงินสกุลเดียวมาใช้เลย เพราะ พื้นฐานทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศแตกต่างกันอย่างมาก ทั้งอัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย และดุลบัญชีเดินสะพัด



    ปล.ขอขอบคุณที่มาของข้อมูลจากคุณ Cool Kid
    [​IMG] http://jimmysiri.blogspot.com/2010/02/physical-future_16.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กุมภาพันธ์ 2010
  4. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,912
    ค่าพลัง:
    +7,320
    ประเมินการขาดดุลงบประมาณของสหรัฐ

    โดย : ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ

    <!-- Begin Media Content --><SCRIPT type=text/javascript>$(function() {$('#media-content').tabs();});</SCRIPT>ในช่วงที่ผ่านมา นักลงทุนแสดงความกังวลเกี่ยวกับหนี้สิน ที่ภาครัฐจะต้องรับผิดชอบสำหรับประเทศขนาดเล็ก อาทิเช่น ดูไบ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์

    <!--<iframe scrolling="no" src="fullURLmain/include/adsense/indetail.php" frameborder="0" height="266" width="250"></iframe>--><SCRIPT type=text/javascript> google_ad_channel = '8724309246'; //slot number google_ad_type = 'text'; //media image, text, html, flash google_max_num_ads = '3'; //amount Ads //google_image_size = '338X280'; //google_skip = '3'; var ads_ID = 'Google-adsense-indetail'; // set ID for main Element div var displayBorderTop = false; // default = false; //var displayLandScape = true; // false=Default, true=landscape *** if set Landscape not arrow ad type image var position_ad_detail ='in'; // ''=Default, in=Intext, under=TextUnderDetail </SCRIPT><SCRIPT src="http://www.bangkokbiznews.com/home/main/js/adsense/AdsenseJS.js" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript1.1 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-1044823792492543&output=js&lmt=1266286322&num_ads=3&channel=8724309246&ad_type=text&adtest=off&ea=0&feedback_link=on&flash=9.0.115.0&url=http%3A%2F%2Fwww.bangkokbiznews.com%2Fhome%2Fdetails%2Fbusiness%2Fceo-blogs%2Fsupavut%2F20100215%2F100243%2F%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2590.html&dt=1266286322000&correlator=1266286322000&frm=0&ga_vid=2038098380.1238053350&ga_sid=1266286322&ga_hid=1032160512&ga_fc=1&u_tz=420&u_his=10&u_java=1&u_h=768&u_w=1024&u_ah=738&u_aw=1024&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1007&bih=603&fu=0&ifi=1&dtd=32"></SCRIPT>และล่าสุด คือ ประเทศกรีก ซึ่งเหตุการณ์หลังนี้เป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้ราคาหุ้นในยุโรปและหุ้นในตลาดอื่นๆ ทั่วโลกปรับลดลง 3-4% ในสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยปัญหาจะต้องถูกจัดการแก้ไขโดยการปรับลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ (ภาษี) ของประเทศกรีกอย่างชัดเจนและรวดเร็ว ทั้งนี้ รัฐบาลกรีกได้ให้คำมั่นกับนักลงทุนและสหภาพยุโรป ว่า จะปรับลดการขาดดุลงบประมาณปีนี้ที่เดิมคาดการณ์ว่าจะสูงถึง 12% ของจีดีพีมาเป็น 8% ของจีดีพี และปรับลดการขาดดุลอย่างรวดเร็วให้เหลือเพียง 2-3% ของจีดีพีในปี 2012

    ความจำเป็นที่จะต้องรีบจัดการปัญหาการขาดดุลงบประมาณ สืบเนื่องมาจากความเข้มงวดของตลาดทุน ซึ่งสะท้อนว่าหากรัฐบาลกรีกจะขาดดุลงบประมาณเป็นจำนวนมากเช่นนี้ ก็ต้องยอมจ่ายดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลให้คุ้มความเสี่ยงของนักลงทุนที่ยอมปล่อยกู้ให้รัฐบาลกรีก ซึ่งอยู่ในสภาวะที่ขาดวินัยทางการคลัง กล่าวคือ ดอกเบี้ยพันธบัตร 10 ปีของรัฐบาลกรีกปรับตัวสูงขึ้นถึง 7% ต่อปี ทำให้มีส่วนต่างสูงกว่าพันธบัตรรัฐบาลเยอรมนีถึง 4% ซึ่งสูงเป็นประวัติการณ์ แม้ในช่วงที่วิกฤติเศรษฐกิจโลกมีความรุนแรงสูงสุด (ครึ่งหลังปี 2008 ถึงครึ่งแรกปี 2009) ส่วนต่างระหว่างดอกเบี้ยพันธบัตรกรีกกับพันธบัตรเยอรมนีก็เท่ากับ 3% เท่านั้น

    ความตื่นตัวเกี่ยวกับวินัยทางการคลังนั้น มิได้เฉพาะเจาะจงกับประเทศกรีกเพียงประเทศเดียว แต่กำลังลามไปสู่ประเทศอื่นๆ ในสหภาพยุโรป ยกตัวอย่างเช่นวันที่ 4 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ราคาหุ้นในประเทศโปรตุเกสปรับลดลง 5% เป็นเพราะรัฐบาลต้องลดจำนวนพันธบัตร 1 ปีลงจาก 500 ล้านยูโรมาเหลือเพียง 300 ล้านยูโร (หมายความขายไม่ออก) ในวันเดียวกัน หุ้นสเปนปรับลดลง 5.9% เพราะพันธบัตรรัฐบาลสเปนอายุ 3 ปีต้องขายที่ดอกเบี้ยสูงถึง 2.63% ซึ่งสูงกว่าพันธบัตรอายุเดียวกันที่ขายในวันที่ 3 ธันวาคม 2009 ที่ดอกเบี้ย 2.14%

    ในวันเดียวกัน บริษัทจัดอันดับความเสี่ยง Moodys เตือนว่าอันดับความน่าเชื่อถือระดับ AAA ของสหรัฐนั้นอาจปรับลดลงได้ใน 10 ปีข้างหน้า หากรัฐบาลสหรัฐไม่มีมาตรการที่จะลดการขาดดุลงบประมาณมากกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ หรือถ้าเศรษฐกิจสหรัฐไม่สามารถฟื้นตัวดีกว่าที่คาดการณ์ไว้ แปลว่านโยบายการคลังของประธานาธิบดีโอบามาที่ประกาศออกมา ซึ่งเป็นการมองภาพวินัยทางการคลังไป 10 ปีจาก 2010-2019 นั้น Moodys สรุปว่าแผนนโยบายการคลังของรัฐบาลสหรัฐขาดวินัยที่จะทำให้สามารถรักษาความน่าเชื่อถือระดับ AAA เอาไว้ได้ในอนาคต ซึ่งเท่าที่ผมจำได้ยังไม่เคยเห็นปรากฏการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นกับประเทศที่เป็นเงินสกุลหลักของโลกมาก่อน แต่ในระยะสั้นดูเสมือนว่ายังไม่ได้ส่งผลให้ตลาดตื่นตระหนกแต่อย่างใด เพราะเงินดอลลาร์ก็ยังแข็งค่าขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับเงินสกุลหลักเช่นยุโรปและเยน ทั้งนี้ เพราะประเทศทั้งสองกำลังเผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจเฉพาะหน้าที่หนักหน่วงกว่าสหรัฐเสียอีก

    อย่างไรก็ดี นักลงทุนควรระมัดระวังและติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด เพราะความกังวลเกี่ยวกับวินัยทางการคลังของสหรัฐนั้นอาจเกิดขึ้นในปี 2013 หรือ 2015 หรือ 2011 ก็เป็นได้ขึ้นอยู่กับแนวโน้มการขาดดุลงบประมาณของสหรัฐ ปัจจุบันนั้นตัวเลขอย่างเป็นทางการของสหรัฐประเมินว่าหนี้สาธารณะมีสัดส่วน 51% ของจีดีพีในปี 2009 หรือ 7.2 ล้านล้านดอลลาร์ ซึ่งดูไม่สูงมากนัก แต่อาจเป็นการคำนวณที่ต่ำกว่ามาตรฐานสากล ด้วยเหตุผลอย่างน้อย 3 ประการ คือ

    1. หนี้ส่วนหนึ่งประมาณ 3 ล้านล้านดอลลาร์ (21% ของจีดีพี) ซึ่งถือโดยสำนักงานประกันสังคมสหรัฐไม่ได้ถูกนับรวมกับพันธบัตรรัฐบาลที่ถือโดยสาธารณชน แต่เมื่อชัดเจนว่าในอีก 30 ปีข้างหน้าจะเริ่มติดลบ ดังนั้น จึงสมควรที่จะบวกส่วนนี้กลับเข้าไปในตัวเลขหนี้สาธารณะ

    2. หนี้สาธารณะที่กล่าวถึงข้างต้นเป็นหนี้ของรัฐบาลกลางเพียงส่วนเดียวไม่รวมหนี้สาธารณะของรัฐบาลในระดับมลรัฐและระดับท้องถิ่น

    3. รัฐบาลสหรัฐได้เข้าเพิ่มทุนและรับภาระในฐานะเป็นเจ้าของ Fannie Mae และ Freddie Mac ซึ่งเป็นสถาบันที่ปล่อยกู้และค้ำประกันหนี้อสังหาริมทรัพย์ มูลค่ารวมทั้งสิ้นประมาณ 5 ล้านล้านดอลลาร์ ซึ่งน่าจะได้รับความเสียหายจากวิกฤติภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ผ่านมา

    ด้วยเหตุผลทั้ง 3 ข้างต้นจึงน่าสรุปได้ว่าหนี้สาธารณะของสหรัฐน่าจะสูงกว่า 51% ของจีดีพีค่อนข้างมาก ดังนั้น หากใช้มาตรฐานสากลเช่นที่ไอเอ็มเอฟใช้คำนวณ ก็จะทำให้หนี้สาธารณะของสหรัฐคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 94% ของจีดีพีในปี 2010

    ประมาณการขาดดุลงบประมาณของสหรัฐ 2010-2019
    <TABLE class=MsoTableGrid style="BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-yfti-tbllook: 480; mso-padding-alt: 0in 5.4pt 0in 5.4pt; mso-border-insideh: .5pt solid windowtext; mso-border-insidev: .5pt solid windowtext" cellSpacing=0 cellPadding=0 border=1><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    (พันล้านเหรียญ)




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    การประมาณการโดยรัฐบาล ในปี 2009




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    การประมาณการโดยรัฐบาล ในปี 2010




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    การประมาณการโดยHeritage Foundation




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2010




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,258




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,556




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,389




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2011




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    929




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,267




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,259




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2012




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    557




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    829




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,044




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 4"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2013




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    512




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    727




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,002




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 5"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2014




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    536




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    706




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,025




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 6"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2015




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    528




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    752




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,112




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 7"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2016




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    645




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    778




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,248




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 8"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2017




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    675




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    778




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,352




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 9"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2018




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    688




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    785




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,474




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 10"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    2019




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    779




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    908




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    1,704




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 11; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0in; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 68.75pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=92>
    รวม




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.5pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    7,107




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    9,086




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-LEFT: 5.4pt; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0in; WIDTH: 106.55pt; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0in; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=top width=142>
    12,609



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    ประเด็นปัญหาหนี้สาธารณะของสหรัฐ จะสืบเนื่องมาจากการขาดดุลงบประมาณ ซึ่งจะเพิ่มหนี้สาธารณะในอนาคต 10 ปีข้างหน้า ดังเห็นได้จากตารางว่า รัฐบาลได้ปรับประมาณการขาดดุลงบประมาณเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ในปีที่แล้วค่อนข้างมาก โดยประมาณการขาดดุลรวมระหว่างปี 2010-2019 เพิ่มขึ้นจาก 7.1 ล้านล้านดอลลาร์ มาเป็น 9.1 ล้านล้านดอลลาร์ มากกว่าหนี้สาธารณะทั้งหมดที่ก่อขึ้นตั้งแต่การก่อตั้งประเทศสหรัฐอเมริกากว่า 230 ปีที่ผ่านมา

    แต่ที่น่ากังวลมากกว่า คือ การคาดการณ์ของ Heritage Foundation (ซึ่งเป็นสถาบันวิจัยที่มีอุดมการณ์อนุรักษนิยมและต่อต้านการสร้างหนี้สาธารณะและเพิ่มขนาดของรัฐบาล) โดยอาศัยตัวเลขของสำนักงานงบประมาณของรัฐสภา (Congressional Budget Office) ซึ่งเป็นตัวเลขที่สะท้อนความเป็นจริงทางการเมืองและภาคปฏิบัติมากกว่า อาทิเช่น สะท้อนว่าเมื่อสามารถลดรายจ่ายที่ใดที่หนึ่งได้นักการเมืองก็มักจะนำเอาส่วนดังกล่าวไปใช้จ่ายในส่วนอื่น และการคาดการณ์ว่าจะปรับลดการใช้จ่ายหรือเพิ่มรายได้ของภาครัฐมักจะไม่ได้ผลดีเลิศดังที่รัฐบาลคาดการณ์เอาไว้ ทำให้ตัวเลขประมาณการของ Heritage Foundation ดูน่ากลัวอย่างยิ่ง เพราะหากเป็นจริงหนี้สาธารณะของสหรัฐจะเพิ่มขึ้นจาก 7 ล้านล้านดอลลาร์ เป็นเกือบ 20 ล้านล้านดอลลาร์ ใน 10 ปีข้างหน้า ทั้งนี้ ภาระดอกเบี้ยจะเพิ่มขึ้นจาก 1.3% ของจีดีพี (หรือประมาณ 7.4% ของรายได้จากการเก็บภาษี) มาเป็น 4.6% ของจีดีพี (หรือประมาณ 26% ของงบประมาณ)

    ที่สำคัญ คือ การขาดดุลงบประมาณ จะมีแนวโน้มลดลงถึงปี 2013 (ปีของการเลือกตั้งประธานาธิบดี) และปรับเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ทำให้การขาดดุลงบประมาณเพิ่มขึ้นเป็นสัดส่วนประมาณ 7-8% ของจีดีพีในปี 2019 ซึ่งผมสงสัยว่ากลไกตลาดอาจไม่ยอมให้รัฐบาลสหรัฐใช้จ่ายเกินตัวได้มากมายและยาวนานถึงปี 2019 แต่ระหว่างทางคงจะต้องมีการตั้งคำถาม (อาทิเช่น ที่ขณะนี้ ตั้งคำถามกับรัฐบาลกรีก) เกี่ยวกับวินัยทางการคลังครับ



    ปล.ขอขอบคุณที่มาของข้อมูลทั้งหมดจากคุณ Cool Kid
    [​IMG] http://jimmysiri.blogspot.com/2010/02/physical-future_16.html
    <DD class=comment-footer>

    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript1.1 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-1044823792492543&output=js&lmt=1266286447&adtest=off&ea=0&feedback_link=on&flash=9.0.115.0&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff2%2F%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2-%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99-3-%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%B5-%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7-%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87-227464.html&dt=1266286447638&correlator=1266286447638&frm=0&ga_vid=85119922.1259213612&ga_sid=1266286448&ga_hid=228235252&ga_fc=1&u_tz=420&u_his=11&u_java=1&u_h=768&u_w=1024&u_ah=738&u_aw=1024&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1003&bih=599&ifk=3835128578&fu=0&ifi=1&dtd=141"></SCRIPT>
    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript1.1 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-1044823792492543&output=js&lmt=1266286591&channel=8724309246&adtest=off&ea=0&feedback_link=on&flash=9.0.115.0&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff2%2F%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2-%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99-3-%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%B5-%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7-%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87-227464.html&dt=1266286591351&correlator=1266286591351&frm=0&ga_vid=85119922.1259213612&ga_sid=1266286591&ga_hid=1086395236&ga_fc=1&u_tz=420&u_his=11&u_java=1&u_h=768&u_w=1024&u_ah=738&u_aw=1024&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1003&bih=599&ifk=3835128578&fu=0&ifi=1&dtd=141"></SCRIPT></DD>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กุมภาพันธ์ 2010
  5. NARKA

    NARKA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +4,562
    เมื่อเช้าฟังข่าวเศรษฐกิจ โลกกำลังเกิดpigs คือ โปรตุเกส ไอร์แลนด์ กรีส และ สเปน กำลังเผชิญปัญหา หนี้สาธารณะท่วมจีดีพี100% (ทั่วไปไม่เกิน40-60%GDP)
    สหรัฐฯก็เช่นกัน
    วิกฤตครานี้ อาจจะเป็นครั้งแรกของโลก ที่รัฐบาลของประเทศใหญ่ๆมัวแต่ทุ่มงบประมาณไปโป๊ะวิกฤติแฮมเบอร์เก้อ จนหนี้สาธารณะท่วมท้น และจะทำให้ภายใน3-5ปีข้างหน้าจะขาดงบลงทุนอย่างสิ้นเชิง พอขาดงบลงทุนก็ต้องกู้ ยิ่งกู้ก็ยิ่งใกล้ล้มละลายเป็นโดมิโน ใครล้มก่อนฉุดประเทศอื่นตายไปตามกัน
    มีสติและหันมาปรับใช้เศรษฐกิจพอเพียงเฉพาะตนและครอบครัวได้แล้ว ณ บัดนี้
     
  6. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,912
    ค่าพลัง:
    +7,320
    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 เวลา 08:00:56 น. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ <!--[อ่านล่าสุด คน]-->


    <CENTER>
    </CENTER>
    อ่านภูมิทัศน์โลกใหม่ผ่านมุมมอง"ดร.โกร่ง" ทำไมวิกฤตรอบนี้จึงแรงกว่าปี 1929 !!

    "ดร.โกร่ง" วีรพงษ์ รามางกูร ออกโรงปาฐกถาพิเศษมุมมองศก.อีกครั้งหลังจากห่างหายไปถึง2ปี มารอบบี้ดร.โกร่งก็ยังฟันธงว่าศก.ยังไม่ฟื้นดี พร้อมให้จับตาสหรัฐฯว่าจะถอยกลับไปมีวิกฤตอีกหรือไม่ เชื่อยุโรปยังอ่อนแอ เหลือแต่เอเชีย ที่มี จีน อินเดีย เป็นหัวหอกจะเป็นหลักให้กับเศรษฐกิจโลก ส่วนในเอเชียแนะจับตาแหนมเนืองไครซิสในเวียดนาม

    <STYLE> P { margin: 0px; } </STYLE> ดร.วีรพงษ์ รามางกูร ประธานกรรมการ บริษัท แอ๊ดวานซ์อะโกร จำกัด (มหาชน) อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวปาฐกถาพิเศษเรื่อง "ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลก หลังวิกฤตซับไพรม และผลกระทบต่อประเทศไทย" จัดโดยศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซึ่ง ดร.วีรพงษ์ได้วิเคราะห์การเคลื่อนย้าย "จุดรวมศูนย์โลกใหม่" ว่า
    ผมเงียบมาเป็นเวลาเกือบ 2 ปี วันนี้เกรงใจจริง ๆ เพราะคนเชิญคุ้นเคยกันมาก วันนี้อาจจะพูดไม่คล่องเหมือนเมื่อก่อนเพราะได้ว่างเว้นการพูดในที่สาธารณะมานาน หัวข้อที่ตั้งให้เป็นหัวข้อที่ผู้จัดเป็นคนตั้ง ผู้จัดถามว่า อยากจะพูดเรื่องอะไร ก็บอกว่า อยากจะฟังเรื่องอะไรให้ตั้งมา ทางผู้จัดได้ตั้งหัวข้อว่า "ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลกและผลที่อาจจะกระทบต่อประเทศไทย"
    เป็นที่ทราบดีว่า ตั้งแต่เกิดปัญหาซับไพรมในสหรัฐอเมริกาลุกลามไปยังยุโรปและภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก วิกฤตการณ์ครั้งนี้ใหญ่มากและก็ลึกอย่างมาก อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน แม้จะเทียบกับวิกฤตเศรษฐกิจถดถอย Recession ปี 1929 วิกฤตการณ์ครั้งนี้อาจจะใหญ่กว่าเสียด้วยซ้ำ ทั้งนี้เพราะสถานการณ์โลกได้เชื่อมต่อกันหมด ทั้งด้านการค้า สินค้าและบริการ และทางด้านการเงิน ดังนั้นเมื่อเกิดวิกฤตการณ์ที่กระทบกระเทือนต่อสถาบันการเงินในสหรัฐอเมริกาและยุโรปแล้ว สถานการณ์ก็ได้แพร่กระจายไปทั่วโลก
    อาการของวิกฤตการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นกับสถาบันการเงินและลุกลามไปที่ภาคเศรษฐกิจที่แท้จริง ทำให้เกิดการว่างงานเพิ่มขึ้น ทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ เที่ยวนี้เป็นเที่ยวที่แปลกกับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ ทั้งโลกพร้อมใจกันใช้นโยบายอย่างเดียวกัน ซึ่งเป็นครั้งแรกที่มีปรากฏการณ์เช่นนี้ เมื่อก่อนนั้นเมื่อเกิดวิกฤตการณ์ในประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือในภูมิภาคใดภูมิภาคหนึ่งจะใช้นโยบายการเงินเฉพาะภูมิภาคนั้น ส่วนที่อื่นที่ไม่เกิดก็จะดำเนินนโยบายเศรษฐกิจไปพร้อม ๆ กัน
    ข้อที่น่าสังเกตเที่ยวนี้คือ การประกาศใช้นโยบายเหมือนกันหมด คือนโยบายการขาดดุลงบประมาณ ไม่ว่าจะที่สหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย และประเทศอื่น ๆ แม้กระทั่งประเทศจีนและอินเดีย สิ่งที่น่าสนใจคือ ประกาศว่านโยบายที่ใช้ขณะนี้เป็นนโยบายที่ทำตามความเห็นของจอห์น เมนาร์ดเคนส์
    แต่ถ้าให้ดูลึกลงไปจะเห็นว่ามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ stimulation package ไม่ว่าจะของสหรัฐ ยุโรป มาตรการทางด้านการเงิน มาตรการการคลังขาดดุลอย่างมาก จะหยุดอยู่แค่การช่วยเหลือสถาบันการเงิน บริษัทใหญ่ไม่ให้ล้มละลายเท่านั้น ในสหรัฐจะเห็นได้ชัดเจนว่า มาตรการทั้งหมดที่ใช้ 1.2 ล้านล้านเหรียญ เป็นมาตรการด้านการเงินที่ใช้ช่วยเหลือสถาบันการเงินและบริษัทใหญ่ ๆ เช่น บริษัทรถยนต์ให้รอดพ้นจากการล้มละลาย ในกรณีของยุโรปก็เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่แล้วเงินช่วยเหลือที่นำมากระตุ้นเศรษฐกิจก็หยุดแค่การช่วยสถาบันการเงินและบริษัทใหญ่ ๆ ที่มีปัญหาทางด้านการเงิน
    ดังนั้นตามความเห็นของผมนโยบายที่ใช้อยู่ไม่ใช่มาตรการหรือนโยบายตามทฤษฎีของจอห์น เมนาร์ดเคนส์ หากเป็นไปตามที่ทฤษฎีของเคนส์ เงินที่นำมาใช้ในนโยบายที่จะต้องต้านการตกต่ำเศรษฐกิจน่าจะไปที่ภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงมากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่เกิดเศรษฐกิจซบเซาหลังที่เกิดวิกฤตการณ์ ในช่วงที่เอกชนไม่สามารถลงทุนได้ อัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับที่ต่ำสุด หากท่านเรียนเศรษฐศาสตร์ก็คงอยู่ในช่วงที่เส้น LM ขนานกับแกนนอน เพราะส่วนที่จะลงทุนได้ก็จะเป็นภาครัฐบาล แต่เราไม่ได้ยินโปรแกรมการลงทุนจากภาครัฐทั้งในสหรัฐหรือยุโรป
    การใช้จ่ายเงินที่ได้จากการขาดดุลงบประมาณมุ่งไปรักษาเสถียรภาพสถาบันการเงินและบริษัทใหญ่ ๆ เท่านั้นเอง ด้วยเหตุนี้จึงมีเสียงบ่นว่า หลังจากที่ใช้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมา 2 ปี ทั้งในสหรัฐและยุโรปอัตราการว่างงานไม่ได้ลดลง จึงไม่น่าแปลกใจ เพราะการใช้เงินในการบรรเทาวิกฤตการณ์ไม่ได้มุ่งไปที่การลงทุน การสร้างงาน เป็นแต่เพียงพยายามพยุงฐานะของภาคการเงินไม่ให้เกิดภาวะล้มละลายเท่านั้นเอง ภาวะเศรษฐกิจซบเซาจึงดำเนินต่อไปและยังอยู่ทั้งที่สหรัฐและยุโรป ผลคือหนี้ภาครัฐบาลเพิ่มขึ้น ในขณะที่ผลผลิตประชาชาติยังไม่เพิ่มหรือเพิ่มในอัตราที่ไม่มาก
    ส่วนที่เปลี่ยนแปลงและเห็นชัดคือ ภาคตลาดทุนและตลาดเงินที่ได้อานิสงส์จากมาตรการที่ใช้ในอเมริกาและยุโรป เมื่อเศรษฐกิจเริ่มซบเซาลง มีผลให้ราคาน้ำมันและราคาโภคภัณฑ์ต่าง ๆ ลดลงในช่วงแรก ราคาน้ำมันที่เคยถีบตัวที่ 120 เหรียญต่อบาร์เรล ลดลงอย่างฮวบฮาบ เพราะเงินที่จะใช้ในการเก็งกำไรมีน้อยลง ในช่วงแรกของวิกฤตการณ์ค่าเงินดอลลาร์ในเอเชียหรือที่อื่นก็ดีมีค่าแข็งขึ้นเพราะมีมาตรการที่จะช่วยสถาบันการเงินและบริษัทต่าง ๆ ไม่ให้ล้ม บริษัทพวกนั้นต้องเรียกทรัพย์สินจากประเทศอื่น ๆ กลับเพื่อปรับปรุงบัญชีของตัวเองให้ดีขึ้น เงินดอลลาร์จึงไหลกลับสหรัฐค่อนข้างสูง จึงทำให้เงินดอลลาร์ในภูมิภาคอื่นแข็งขึ้น ขณะที่ราคาน้ำมันและสินค้าโภคภัณฑ์อื่นต่ำลง อัตราดอกเบี้ยต่ำลงเพราะปริมาณมีมากขึ้น ราคาหุ้นถีบตัวสูงขึ้น ทั้ง ๆ ที่รายได้จีดีพีหดตัวลง ทั้ง ๆ ที่การขายของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์อเมริกา ยุโรป มีอัตราการขายลดลงแต่กำไรกลับเพิ่มขึ้น สาเหตุเพราะต้นทุนการผลิตลดลง ไม่ใช่เกิดจากดีมานด์ที่เพิ่มขึ้น คือต้นทุนดอกเบี้ยและราคาโภคภัณฑ์ลดลง
    ปีที่ 2 เราจึงเห็นราคาหุ้นในเอเชีย ยุโรป สหรัฐมีราคาสูงขึ้น ซึ่งเป็นภาพลวง ทำให้คนเข้าใจผิดคิดว่าเศรษฐกิจในสหรัฐและยุโรปดีขึ้น ที่บอกว่า เป็นภาพลวง เพราะว่าเศรษฐกิจทั้งในสหรัฐและยุโรปยังง่อนแง่นเต็มที เพราะล่าสุดมีข่าวว่า จะมีวิกฤตการณ์การเงินขึ้นเกิดในกรีซ สเปน โปรตุเกส สถานการณ์เช่นนี้สะท้อนว่า สิ่งที่เห็นในปีที่แล้ว (2552) ว่าเศรษฐกิจยุโรปฟื้นตัวไม่ใช่ของจริง เป็นการฟื้นตัวของภาคการเงินมากกว่าเศรษฐกิจที่แท้จริง ที่น่าเป็นห่วงว่าสถานการณ์วิกฤตการเงินที่กรีซ โปรตุเกส สเปน อาจจะลุกลามไปทั่วสหรัฐ ยุโรปได้ เมื่อสถานการณ์นี้ค่อย ๆ ลุกลามขึ้น เงินยูโรเดิมที่เราคาดว่าจะแข็งค่าขึ้นเรื่อยเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐก็เปลี่ยนทิศทาง เงินยูโรเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐจะอ่อนตัวลงอย่างรวดเร็ว
    สรุปคือ ในความเห็นของผมการฟื้นตัวในสหรัฐ ยุโรป เป็นภาพลวงทางด้านการเงินที่มีปริมาณเงินมากขึ้นอันเกิดจากมาตรการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น แต่มีปัญหาเพิ่มขึ้นคือ ยอดหนี้สาธารณะของประเทศในสหรัฐและยุโรปมีมากขึ้น ส่วนดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดในยุโรปยังไม่ได้กระเตื้องขึ้น ยังมีฐานะย่ำแย่เหมือนเดิม ก็กลับมาเรียกร้องเหมือนเดิม คือให้จีนเพิ่มค่าเงินหยวน เพราะตัวเอง (สหรัฐ) ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้
    ในขณะที่สหรัฐ ยุโรปมีปัญหาค่อนข้างรุนแรง จีนและอินเดียกลับได้รับผลกระทบจากวิกฤตของสหรัฐและยุโรปน้อยกว่าภูมิภาคอื่น สำหรับละตินอเมริกา มีบราซิล ส่วนเอเชียมีจีน อินเดีย รัสเซีย โดยจีน อินเดียได้รับผลกระทบบ้างในช่วงแรก แต่ด้วยการดำเนินนโยบายที่ถูกต้องกว่า คือขยายการลงทุนในประเทศอย่างรวดเร็วเพื่อชดเชยผลกระทบจากการส่งออกและการท่องเที่ยวจากสหรัฐและยุโรป ในไม่ช้าเพียง 1 ปีหลังวิกฤต เศรษฐกิจจีน อินเดีย กลับมาขยายตัวในอัตราที่สูงในระดับก่อนหน้านี้
    ทั้งสองประเทศหากดูนโยบายเป็นการใช้ทฤษฎีของเคนส์อย่างแท้จริง คือเร่งใช้การลงทุนภาครัฐในโครงสร้างพื้นฐานเพื่อชดเชยการอ่อนตัวจากการส่งออก รักษาอัตราแลกเปลี่ยนไม่ให้ค่าเงินแข็งตัวจนเกินไป ที่จะเป็นปัจจัยซ้ำเติมการส่งออก จะเห็นว่าปี 2552 จีนได้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้คงที่กับเงินดอลลาร์สหรัฐ และถือโอกาสเกาะหลังดอลลาร์ เมื่อดอลลาร์อ่อนตัวลงไปด้วย คือกำหนดไว้ในอัตรา 6.8 หยวนต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ ทั้งปี 2552 และ 2 เดือนแรกในปีนี้ด้วย ทำให้ประเทศตะวันตกโจมตีจีนว่า อาศัยความได้เปรียบที่ไม่ยอมปล่อยให้ค่าเงินของตัวแข็งขึ้น ดุลการค้าและดุลการชำระเงินจึงค่อย ๆ ปรับขึ้นมาแข็งแรงตามเดิม ทุนสำรองระหว่างประเทศของจีนยังขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทั้ง ๆ ที่รัฐบาลได้ใช้จ่ายในการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานอย่างมหาศาล
    ด้วยเหตุนี้แบบแผนทางการค้าการลงทุนจึงเปลี่ยนทิศทาง จากที่มีศูนย์ที่สหรัฐ ยุโรป มาทางฝั่งเอเชีย นโยบายเศรษฐกิจมหภาคของจีนได้รับการกล่าวขวัญถึงในทางบวกอย่างมาก ในขณะที่เกิดวิกฤตที่ว่านี้ การที่จีนถือทุนสำรองไว้มากที่สุดในโลก คือประมาณ 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ จีนจึงเป็นประเทศสำคัญที่เกี่ยวกับความผันผวนทางการเงินในโลกเป็นอย่างมาก
    สถานการณ์เช่นว่านี้ทำให้อิทธิพลของกองทุนต่าง ๆ ที่เรียกว่า เฮดจ์ฟันด์ลดบทบาทลงไปมาก เพราะสภาพคล่องของกองทุนต่าง ๆ นี้ลดลง แต่ในขณะเดียวกันธนาคารกลางของจีนและกระทรวงการคลังของจีนกลับมีบทบาทมากขึ้นในเวทีการเงินและเงินทุนระหว่างประเทศ ถ้าสังเกตให้ดีขณะนี้นักเก็งกำไรที่เป็นกองทุนต่าง ๆ ของเฮดจ์ฟันด์สงบและเงียบลงไปมาก เพราะหลายครั้งถูกตอบโต้จากจีน ราคาน้ำมันที่ขึ้นลงไม่ได้ขึ้นอยู่กับกองทุนเฮดจ์ฟันด์ในตลาดสหรัฐก็ได้ แต่ขึ้นอยู่กับจีน พอจีนชะลอการซื้อก็ลง พอจีนเร่งสต๊อกน้ำมัน ถ่านหิน ทองแดงหรือโภคภัณฑ์อย่างอื่น ราคาก็ขึ้น หรือถ้าจีนซื้อทองคำ ราคาทองคำก็ขึ้น ถ้าจีนหยุดซื้อราคาก็ลง
    ดังนั้นราคาการเก็งกำไรหลังวิกฤตดังกล่าวเปลี่ยนไปมาก เราจะได้ยินเรื่องของพวกเฮดจ์ฟันด์ พวกโซรอสน้อยลง แต่มีความสงสัยมากขึ้นว่า จีนทำอะไรอยู่ในเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมัน อัตราดอกเบี้ยก็ดี ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ก็ดี ตลาดการเก็งกำไรจึงมีความสมดุลมากขึ้น พวกนักเก็งกำไรทั้งหลายหากไม่ดูตาม้าตาเรืออาจจะโดนจีนตีกบาลได้ง่าย ๆ จึงสงบเงียบลงไปค่อนข้างมาก
    ในข้างหน้านี้ผมเชื่อว่าเศรษฐกิจที่แท้จริงยังคงอ่อนแออยู่ต่อไป อัตราดอกเบี้ยคงอยู่ในระดับต่ำต่อไป อัตราเงินเฟ้อเป็นตัวที่ต้องคอยจับตา เพราะการแก้ไขวิกฤตครั้งนี้ทำพร้อมกันทั้งโลก จึงเป็นเหตุให้ปริมาณเงินทั้งโลกเพิ่มขึ้น ไม่เฉพาะเงินดอลลาร์ แต่เงินทุกสกุลมีปริมาณเพิ่มขึ้น แม้ว่าเงินจะเพิ่มขึ้นทั่วโลก รวมทั้งเงินบาทแต่เงินเฟ้อยังไม่ขึ้นเพราะความต้องการในสินค้าบริการยังต่ำ เพราะเศรษฐกิจยังอ่อนแอ ยังไม่ฟื้นตัวมาก แต่หากเมื่อไหร่เศรษฐกิจฟื้นตัวอย่างจริงจัง อัตราเงินเฟ้อจะถีบตัวสูงขึ้นทันทีตามปริมาณเงิน สิ่งแรกที่จะขึ้นคือ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ คือน้ำมัน ทองคำ แร่ธาตุ ตัวละครที่สำคัญในเวทีตลาดโลกที่สำคัญคือจีน ผู้ที่มีบทบาทสำคัญอย่างมาก
    สถานการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจของโลกเป็นอย่างนี้ ภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงย้ายมาอยู่ที่เอเชียมากขึ้น อเมริกา ยุโรปจะกลายเป็นปัญหาของโลก ของเรามากขึ้น ต้องจับตาอเมริกาว่าจะถอยกลับไปมีวิกฤตอีกหรือไม่ และยุโรปจะอ่อนแอ ยังป่วยอยู่ เหลือแต่เอเชีย ได้แก่ จีน อินเดีย และประเทศในภูมิภาคเอเชียที่จะเป็นหลักให้กับเศรษฐกิจโลก
    ไทยก็คงจะต้องตามผลกระทบดังกล่าว ปีแรกเศรษฐกิจเราโดนผลกระทบอย่างแรง ทั้งด้านการส่งออกสินค้าและบริการ กระทบการท่องเที่ยว การเดินทาง ทำให้เศรษฐกิจหดตัวในอัตราที่ค่อนข้างมาก ในปี 2553 คงมีการปรับปรุงตัวขึ้น แต่หากดูตามทฤษฎีภาวะเศรษฐกิจตกต่ำคงไม่ได้อยู่ปีเดียว แม้จะฟื้นตัวขึ้นมาก็มาได้ครึ่งทาง เช่น ลงไป 7 ขึ้นมา 3 จากฐานที่เล็กกว่า ตอนตกไปที่ 7 ด้วยเหตุนี้เราจึงต้องระมัดระวัง ระบบการผลิตยังแพง การว่างงานยังไม่น่าไว้วางใจ นโยบายดอกเบี้ยของทางการยังไว้ในระดับต่ำ แต่ตัวที่ต้องระวังคือ อัตราเงินเฟ้อ หากดูไม่ดี หรือทำไม่ดี อาจจะเกิดภาวะ Stagflation ได้ คือมีเงินเฟ้อแต่ขณะเดียวกันเกิดภาวะเศรษฐกิจซบเซาด้วย อันนี้เป็นภาวะน่าห่วงอย่างยิ่งในยุโรป และในภูมิภาคของเราแสดงอาการที่เวียดนาม ซึ่งเวียดนามพยายามทำอย่างจีน แต่การส่งออกเวียดนามยังไม่ได้ขยายตัวสูงเท่าจีน เวียดนามเริ่มมีปัญหา การลดค่าเงินลดไม่เพียงพอ ค่อย ๆ ลดทีละน้อย ต้องดูต่อไปว่าสถานการณ์เวียดนามจะส่งผลลุกลามมาที่ลาว เขมร และของเราหรือไม่ แต่ที่น่าเบาใจอันหนึ่งคือ ทุนสำรองระหว่างประเทศเรามีสูง โอกาสที่จะมีปัญหาแบบปี 2540 จะไม่ค่อยมี แต่ความฝันที่ว่าเศรษฐกิจจะฟื้นตัวอย่างยั่งยืนยังน่าสงสัยอยู่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ฟื้นตัวตามตลาดโลกอาจจะสูงสุดแล้ว ข้างหน้าอาจจะอ่อนตัวลงก็ได้
    ก็มีความเห็นเท่านี้ !!!!

    .....................



    ล้อมกรอบ

    ถาม-ตอบเศรษฐกิจไทย

    - ที่รัฐบาลบอกว่า จะเริ่มลดการกระตุ้นเศรษฐกิจ (exit strategy) เหมาะสมหรือไม่อย่างไร

    คำตอบ ผมเชื่อว่า การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและของบ้านเรายังไม่ใช่การฟื้นตัวแท้จริงที่ยั่งยืน ดังนั้นมาตรการต่าง ๆ ที่รัฐบาลทำมาอย่างที่ไม่ใช่โครงการประชานิยม หมายความว่ามาตรการลงทุนต่าง ๆ น่าจะทำต่อไป แต่เท่าที่เห็นรัฐบาลหาโครงการที่พร้อมยังไม่ได้ ดังนั้นรัฐบาลน่าจะรีบเร่งการเตรียมโครงการพื้นฐานต่าง ๆ อย่างที่ประเทศจีนทำ

    แต่สิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ ความเชื่อมั่นของนักลงทุน โดยเฉพาะกรณีมาบตาพุด ซึ่งรัฐบาลได้ให้ความสนใจน้อยไป รัฐบาลไม่ได้รู้สึกถึงความเดือดร้อนของเอกชนผู้ลงทุนเท่าที่ควร ยังไม่เห็นว่าการแก้ไขในเรื่องนี้จะไปในทิศทางใด หรือรัฐบาลอาจจะทำงานอย่างมากเงียบ ๆ ไม่มีใครรู้ แต่ภาพที่ออกมาเหมือนกับว่าให้ความสนใจเรื่องนี้น้อยไป จนญี่ปุ่น เยอรมนี สภาหอการค้าไทย และสภาอุตสาหกรรมฯ รวมถึงสื่อออกมาโอดครวญเป็นระยะ ๆ

    - โครงการไทยเข้มแข็ง เพียงพอช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจหรือไม่

    เห็นว่าโครงการไทยเข้มแข็งหมดแล้ว ควรหาโครงการอื่น ๆ ที่สำคัญ โครงการใหญ่ ๆ ควรเดินหน้า เช่น กรณีมาบตาพุด หรือที่เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ น่าจะเร่งออกกฎหมายลูก และจัดตั้งองค์กรอิสระ เพราะเอกชนอยากเห็นรูปธรรมที่นำมาปฏิบัติได้ ไม่ได้อยากเห็นนามธรรม ซึ่งที่พูดมาเป็นนามธรรมควรเลิกพูดได้แล้ว

    - มีโอกาสที่นักลงทุนจะย้ายฐานการลงทุนหรือไม่

    กรณีมาบตาพุด ทำให้เสียความมั่นใจ เสียความเชื่อมั่น เป็นไปได้ทำให้เอกชนย้ายฐานการลงทุนออกไปข้างนอก แต่น่าจะเป็นจีน มากกว่าเวียดนาม

    - นโยบายการเงินควรลดการผ่อนคลายในปีนี้ เหมาะสมหรือไม่
    เงินเฟ้อยังไม่น่าห่วง แต่ต้องเตรียมพร้อมระวังไว้ ทั้งนี้เรื่องดอกเบี้ยเป็นเรื่องระยะสั้น ส่วนปีนี้อีกนาน แต่ค่าเงินต้องดูแลไม่ให้แข็งเร็วกว่าประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะเงินหยวน การที่บอกว่าค่าเงินบาทเคลื่อนไหวระดับกลางไปตามภูมิภาคต้องรวมจีนด้วย ไม่ใช่ตัดออก


    - ห่วงสถานการณ์การเมืองหรือไม่
    เป็นห่วงเป็นอย่างยิ่ง เหมือนที่ทุกคนเป็นห่วง

    http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1265976061&grpid=00&catid=no

    ปล.ขอขอบคุณแหล่งเชื่อมโยงข้อมูล http://jimmysiri.blogspot.com/2010/02/1929.html
     
  7. fernezzo

    fernezzo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +616
    ขอบคุนมากครับคุณ blackangel เยี่ยมมากครับ การ์ดฉบับเต็ม ผมหามานานแระ ^_<
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กุมภาพันธ์ 2010

แชร์หน้านี้

Loading...