เตโชกสิณ และคาถาตั้งธาตุ

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย ขง, 12 กันยายน 2015.

  1. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    เตโชกสิณ(กสิณไฟ)

    มาลองกันเลย (7วันแรกทำทุกวันนะครับ..อย่าให้ขาด) ไม่น่าจะนานแล้วแต่บุคคลครับ

    -อุปกรณ์

    1.เทียนไข เอาแท่งขนาดใหญ่หน่อย เราจะได้ไม่ปวดตา

    2.ของที่ใช้รองเทียนให้สูงขึ้นระดับสายตาเรา อย่าให้เทียนต่ำหรือสูงกว่าระดับสายตา
    (วางบนโต๊ะกินข้าวธรรมดาก็ได้)

    -สถานที่

    1.ทำในห้องที่มืด(ตอนกลางคืน) เพื่อที่จะได้เห็นแสงเทียนชัดเจน

    2.ห้องต้องไม่มีลมพัด (เพราะเปลวเทียน จะแกว่งไปมา ทำให้เราตั้งจิตไม่ได้)

    *****วิธีปฏิบัติ******

    1.อาบน้ำชำระร่างกาย สวดมนต์ไหว้พระให้เรียบร้อย เพื่อทำจิตให้สงบก่อนปฏิบัติ

    2.นั่งในท่าบาย เตรียมตั้งสมาธิและจิตให้สงบ

    3.-บทสวดประกอบการฝึกกสินไฟ

    ตั้งนะโม3จบ

    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปู ชะยามะ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปู ชะยามะ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปู ชะยามะ

    พุทธัง อาราธนานัง พระกัมมะฐานัง สะมาธิยามิ
    ธัมมัง อาราธนานัง พระกัมมะฐานัง สะมาธิยามิ
    สังฆัง อาราธนานัง พระกัมมะฐานัง สะมาธิยามิ

    มาตาปิตุนัง วันทามิหัง ภันเต
    คุรูอาจาริยัง วันทามิหัง ภันเต อุกาสะ

    การหนึ่งการใด ที่จิตสมาธิ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย
    ตั้งอยู่ด้วยเดชแห่งบารมี คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ คุณพระอริยะสงฆ์ คุณพระอรหันต์
    ขอบารมีใดๆ อันจะเกิดเป็นทักษะบารมี อฐิษฐานบารมี เนกขะมะบารมี ปัญญาบารมี ขันติบารมี
    ด้วยเดชเดชะบารมีใดก็ตาม ที่เกิดขึ้นในอัฐภาพร่างกายของตัวข้าพเจ้า
    ข้าพเจ้าขอน้อมถวาย อัฐภาพร่างกาย เพื่อเป็นพุทธบูชา แด่พระผู้มีพระพาสเจ้า คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ คุณกองพระกัมมะฐาน กสินเตโชธาตุ เอหิเจนะ เตโชมหาราชันย์ สัมปะติถธิ กัมมะฐานัง สมาธิยามิ
    การหนึ่งการใด ที่ข้าพเจ้าได้ศึกษา และอารธนา บารมีกองกัมมะฐาน จงเกิดขึ้น ในขันธะสันดาน ของตัวข้าพเจ้า และรู้แจ้ง แทงตลอดในอัถและธรรมทั้งปวง....สาธุ

    4.นั่งจ้องเปลวเทียน(ทั้งเปลวเทียนและไส้เทียน)แล้วหลับตา(การฝึกครั้งแรกจ้องประมาณ 3นาทีแล้วหลับตา)
    จะปรากฏนิมิตจุดแสงสีสันต่างๆ กันไป และจะเลือนหายไป แต่จะกลับมาอีกครั้งและก้หายไป
    และเราก็ลืมตาจ้องเทียนใหม่แบบเดิม ทำซ้ำๆเช่นนี้ จนจุดแสงนั้นนิ่งไม่หายไปไหน(แสงที่ถูกจะเป็นสีส้มๆเหลืองๆคล้ายสีเปลวไฟ)
     
  2. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    คาถาธาตุ ตอนที่ 1

    ******
    " อานาปานสติ " 

    จับลมหายใจ 3 ฐาน 
    หายใจเข้าลมกระทบจมูก แล้วมากระทบอก กระทบศูนย์เหนือสะดือนิดหน่อย 
    หายใจออกลมกระทบศูนย์อก และ ริมฝีปากบน 
    ให้เข้าฌานสมาบัติที่ 4 แล้วจึงออกจากฌานสมาบัติที่ 4 ลงมาที่อุปจารสมาธิ 
    แล้วจึงภาวนา " คาถาชุมนุมธาตุ", "คาถาตั้งแม่ธาตุใหญ่","ตั้งธาตุ" 
    ตามลำดับ แล้วจึง เจริญ "เจริญกายคตาสติกัมมัฏฐานโดยสังเขป " 
    คุณประโยชน์ ของการตั้งธาตุ ด้วยการภาวนาคาถาตั้งธาตุ ได้แก่ 
    " การตั้งธาตุ ช่วยให้ธาตุทั้ง4 ในร่างกายของเราสมบูรณ์ยิ่งขึ้น" 
    ******
    คาถาชุมนุมธาตุ 

    เอหิปะถะวีพรหมา เอหิอาโปอินทรา เอหิเตโชนารายะ เอหิวาโยอิสสะราฯ 

    คาถาตั้งแม่ธาตุใหญ่ 

    นะ อิ เพชชคง อะระหัง สุคะโต ภะคะวา 
    โม ติ พุทธะสัง อะระหัง สุคะโต ภะคะวา 
    พุท ปิ อิสะวาสุ อะระหัง สุคะโต ภะคะวา 
    ธา โส มะอะอุ อะระหัง สุคะโต ภะคะวา 
    ยะ ภะ อุอะมะ อะระหัง สุคะโต ภะคะวาฯ 

    ตั้งธาตุ 

    นะโมพุทธายะ นะมะพะธะ จะภะกะสะ 
    นะมะมะนะ นะอะอะนะ นะอุอุนะ 
    นะโมพุทธายะ มะพะธะนะ ภะกะสะจะ 
    มะนะนะมะ มะอะอะมะ มะอุอุมะ 
    นะโมพุทธายะ พะธะนะมะ กะสะจะภะ 
    อะนะนะอะ อะมะมะอะ อะอุอุอะ 
    นะโมพุทธายะ ธะนะมะพะ สะจะภะกะ 
    อุนะนะอุ อุมะมะอุ อุอะอะอุ
     
  3. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    คาถาธาตุ ตอนที่ 2 (ปฏิบัติเพื่อรักษาโรคเบื้องต้น - กรรมฐาน)

    วิธีนี้เคยเรียนกับพราหมณ์ท่านหนึ่ง ท่านว่าเป็นศิษย์สำนักเข้าอ้อ
    คาถาที่ใช้ในการรักษา

    คาถาธาตุน้ำ ::
    นะโมพุทธายะ นะมะพะธะ จะภะกะสะ
    นะมะมะนะ นะอะอะนะ นะอุอุนะ
    **********
    คาถาธาตุดิน ::
    นะโมพุทธายะ มะพะธะนะ ภะกะสะจะ
    มะนะนะมะ มะอะอะมะ มะอุอุมะ
    *******
    คาถาธาตุไฟ:::
    นะโมพุทธายะ พะธะนะมะ กะสะจะภะ
    อะนะนะอะ อะมะมะอะ อะอุอุอะ
    ********
    คาถาธาตุลม
    นะโมพุทธายะ ธะนะมะพะ สะจะภะกะ
    อุนะนะอุ อุมะมะอุ อุอะอะอุ
    **********
    วิธีปฏิบัติ
    นำมือทั้ง 2 ประสานยกขึ้นมาวางไว้ที่หน้าอก โดยนำมือขวาทับมือซ้าย เช่นเดียวกับพระพุทธรูปปางรำพึง
    พิจารณาให้เห็นชัดเจนว่าร่างกายของเราขาดธาตุอะไร ก็ให้เราภาวนาคาถาธาตุนั้นๆ จนกระทั่งเรารู้สึกว่า ธาตุในร่างกาย
    สมบูรณ์ยิ่งขึ้นแล้ว ก็ให้เลิกภาวนา และ เอามือที่ประสานกันบริเวณหน้าอก ลงมาไว้ที่ข้างลำตัวตามปกติ
    **********
    *********
    ภาค กรรมฐาน 
    ให้เราพิจารณาร่างกาย โดยการเจริญ " กรรมฐาน 5" ไปเรื่อยๆ
    จนกระทั่ง เห็นร่างกายของเราเป็นอสุภะ เมื่อเห็นร่างกายของเราเป็นอสุภะแล้ว ก็ให้พิจารณาร่างกาย โดยการเจริญ " กรรมฐาน5" ต่อไปอีกเรื่อยๆ
    จนกระทั่ง เห็นร่างกายของเราเป็นธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ เมื่อเห็นร่างกายของเราเป็น ธาตุทั้ง 4 แล้ว ก็ให้พิจารณาร่างกาย โดยการเจริญ " กรรมฐาน 5 " ต่อไปอีกเรื่อยๆ จนกระทั่งเห็น ว่า " ร่างกายของเรานี้เป็นเพียง ธาตุทั้ง 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
    เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา "
    เมื่อเห็นว่าร่างกายของเรา เป็นเพียงธาตุทั้ง 4 ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
    เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา เราจะไม่ยึดติดกับร่างกาย
    เพียงแต่ว่า ถ้าเรายังไม่หมดอายุขัย เพียงใด เราก็จะทรงร่างกาย
    นี้ต่อไปเพื่อประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
    ************
    บริกรรมกรรมฐาน 5
    เมื่อนั่งถนัดดีแล้วให้นำมือขวาทับมือซ้ายบนตัก แล้วนั่งตัวตรง อย่างอตัว หน้าตรง อย่าก้ม เพราะถ้าหลังงอจะนั่งได่ไม่ทน จะทำให้ปวดหลังปวดเอว เมื่อนั่งได้ถูกต้องแล้ว ให้เริ่มบริกรรมภาวนาโดยท่องในใจว่า “เกศา โลมา นขา ทันตา ตโจ” แล้วให้ท่องถอยหลัง “ตโจ ทันตา นขา โลมา เกศา” เรียกว่า กรรมฐาน 5
    ********
    กรรมฐาน 5 มีไรบ้าง
    เกสา ..........................ผมทั้งหลาย
    โลมา ..........................ขนทั้งหลาย
    นะขา ..........................เล็บทั้งหลาย
    ทันตา .......................... ฟันทั้งหลาย
    ตะโจ ..........................หนัง
    ************
    หมายเหตุ :::หลักการปฏิบัติ ของสายพระป่าจะไม่เน้นสมาธิมากนัก
    สำหรับอานาปานสติ ทำแค่ให้จิตนิ่งก็เพียงพอ 
    สิ่งที่ควรเสริม 1.) จิตใจผู้ปฏิบัติควรมั่นคงในพระรัตนตรัย 
    2.) ต้องพยาามทรงศีลบริสุทธิ์ อย่างน้อย ศีล 5 
    อ้างอิงหลัก การเจริญกรรมฐาน 
    http://www.dharma-gateway.com/m…/preach/lp_sao/lp-sao-03.htm

    หมายเหตุ ::::: พระอรหันต์ที่บรรลุมรรคผล ด้วยการเจริญธาตุสี่ ได้แก่ พระมหาโมคคัลลาน์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กันยายน 2015
  4. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    ควบคุมความร้อนด้วยเจริญสติ ยืนหนอ


    ยืนหนอ ๕ ครั้ง

    ยืนตรง มือไพล่หลัง เอามือขวาจับข้อมือซ้าย ตรงกระเบนเหน็บ ค่อยๆ หลับตาลงช้าๆ ตั้งสติพร้อมจิตตั้งมั่นด้วยสมาธิ (ตั้งใจ) ไว้ที่กระหม่อม จะเกิดความรู้สึกที่กระหม่อม (ครั้งแรกจะไม่ค่อยชัด แต่จะค่อยๆ ชัดขึ้นเรื่อยในครั้งต่อไป) กำหนด ยืน............พร้อมกับค่อยๆ ลากความรู้สึกสัมผัสจากกระหม่อม ผ่านหน้าผาก คิ้ว จมูก ปาก คาง คอ หน้าอก ถึงสะดือ (จะสัมพันธ์กับลมหายใจ หรือ ไม่ใช้ลมหายใจก็ได้) ... กำหนด หนอ........... พร้อมกับค่อยๆ ลากความรู้สึกสัมผัสจากสะดือ ลงไปผ่านไปทางขวา หน้าขา หัวเข่า หน้าแข้ง ข้อเท้า ใต้เท้าจากส้น ถึงปลายเท้า (หรือจะมโนภาพพร้อมความรู้สึกสัมผัสลงไปพร้อมๆ กันทั้งสองเท้าก็ได้แต่ถ้าลงผ่านด้านขวา ก็จะสามารถกำหนดเดินจงกรมได้อย่างต่อเนื่อง) จบการกำหนดยืนหนอครั้งที่ ๑ (เปลี่ยนความรู้สึกสัมผัสจากปลายเท้าขวา ไปยังปลายเท้าซ้าย) กำหนดยืน........... พร้อมกับลากความรู้สึกสัมผัสจากปลายเท้าซ้าย สวนขึ้นมาอย่างช้าๆ ไปจบที่สะดือ.. แล้วจึงกำหนดหนอ............ จากสะดือ ไปจบที่กระหม่อม จบการกำหนดยืนหนอครั้งที่ ๒ (ส่วนการกำหนดยืนหนอครั้งที่ ๓ และ ๕ กำหนดเหมือนกับครั้งที่ ๑ - ส่วนการกำหนดยืนหนอครั้งที่ ๔ กำหนดเหมือนกับครั้งที่ ๒)

    ที่มา
    พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม) วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี
     
  5. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    ควบคุมโทสะ (ความโกรธ /ความหงุดหงิด)ที่เกิดจากการเพ่งกสิณไฟโดยการแผ่เมตตา

    สัพเพ สัตตา

    สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

    อะเวรา โหนตุ

    จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย

    อัพพะยาปัชฌา โหนตุ

    จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

    อะนีฆา โหนตุ

    จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย

    สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ

    จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด
     
  6. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    ผลกระทบอีกอย่าง ของการเพ่งกสิณไฟ คือปัญหาเรื่องตาแพ้แสง /จอประสาทตาเสื่อม

    วิธีป้องกัน คือใช้สมุนไพร กับคาถา ในที่นี้ขอพูดแต่เรื่องพระคาถา


     พึงบูชาครูด้วยธูป 3 ดอก เทียนขาว 1 เล่ม ดอกไม้ 3 ดอก  3 สี บูชาครูก่อนจึงขลัง ฉมังนักแล



    คาถาเป่าตาต้อตาแดง

    สะ หัส สะ เนต โต เท วิน โท ทิพ พะ จัก ขุง วิ โส ธะ ยิ ฯ

                    คาถาบทนี้ ใช้เสกใบพลูสดเคี้ยว เป่าตาต้อ ตาแดง ตาเจ็บ ตาฟาง ได้ผลดีนัก หรือจะใช้เสกน้ำเปล่า ๆ

    ที่สะอาด ๆ ใช้ล้างหน้าล้างตาทุก ๆ วันก็ทำให้ตาสว่างไสวใครเห็นใครทักมักชมดีนักแล
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กันยายน 2015
  7. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    พระคาถาที่ใช้ร่วมกับ เตโชกสิณ

    คาถาสนองกลับผู้กระทำไสยศาสตร์

    "สัมปจิตฉามิ"

    คาถาบทนี้  มาบอกหลวงพ่อในขณะที่หลวงพ่อพักอยู่ที่เมือง ประเทศ เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๒๙ เวลา ๐๕.๐๐ น.

    ก่อนนอนหลวงพ่อนอนภาวนาเป็นปกติ ตื่นขึ้นมามีอาการปากขยับไม่ได้ มือขยับไม่ได้ รู้สึกอึดอัด คล้ายเป็นอัมพาต แต่ใจสบาย มาบอกว่า

    "เวลานี้มีคนคิดทำให้เธอเป็นแบบนี้"

    และท่านให้เห็นตัวผู้ทำชัดเจน  ให้ภาวนาว่า  จึงคลายตัว คาถาบทนี้ไม่ได้ให้ใช้เฉพาะหลวงพ่อเท่านั้น อนุญาตให้พุทธบริษัทศิษยานุศิษย์และลูกหลานหลวงพ่อใช้ได้ด้วย

    ก่อนนอนภาวนา ให้ตั้ง  และต่อด้วย 

    ธัมมัง สรณัง คัจฉามิและสวด  จึงภาวนาเรื่อย ๆ ในขณะที่ภาวนาให้ทำใจสบาย ๆ ผลของคาถาบทนี้ จะมีผลต่อผู้สั่ง ผู้รับคำสั่ง ผู้ร่วมมือ และผู้กระทำไสยศาสตร์มายังเราโดยฉับพลัน

    ผลพิเศษ ถ้าตั้งใจรักษาศีล ๕ บริสุทธิ์ หรือ ตั้งใจรักษากรรมบถ ๑๐ ได้ครบถ้วน สามารถระงับนิวรณ์ได้ ภาวนาวันละ ๑ ชั่วโมงเป็นเวลา ๓ เดือนติดต่อกัน จะมีผลคล้าย "อภิญญา"  อ่านว่า  คาถาบทนี้ใช้ได้เฉพาะผู้ที่เป็นเท่านั้น ไม่มีผลสำหรับผู้เป็น พระโมคคัลลาน์ท่านมายืนยันว่า คาถาบทนี้เป็นคาถาอภิญญา บอกว่าคนที่ได้อภิญญามาในชาติก่อน ถ้าใช้คาถาบทนี้ของเก่าจะรวมตัว คือว่า ทำไป ๆ ถ้าเข้าถึงผรณาปีติจะรู้สึกว่าตัวไม่มีเหลือแต่หน้า ต่อไปก็ไม่มีอะไรเหลือเลย หน้าก็ไม่มี ถ้าทำได้เช่นนี้บ่อย ๆ ไม่ช้าก็รวมตัวจะไปไหนก็ได้ เที่ยวต่างประเทศเรื่องเล็ก ฆราวาสทำได้ทุกอย่าง แต่พระห้ามแสดงต่อหน้าคน

     อย่าง เป็นต้นบัญญัติ ถูกห้ามเพราะอะไร เพราะถ้าไปทำอย่างนั้น คนก็ไม่ต้องการธรรมะ ต้องการพระแสดงปาฏิหาริย์ ถ้าขอให้พระแสดงปาฏิหาริย์ พระทำให้ คนนั้นตายแล้วเกิดใหม่ต้องไปเป็นทาสเขา ๕๐๐ ชาติ ถ้าพระไม่ทำให้แล้วโกรธก็เลยลงนรก

    พระพุทธเจ้าจึงทรงห้าม แต่ว่าพระที่อยู่ในป่าท่านมีความจำเป็นก็ใช้ได้ แต่ต้องไม่ให้คนเห็น อย่างพระที่เข้านิโรธสมาบัติ ออกมาแล้วปั๊บร่างกายต้องการอาหารก็ต้องดู เราจะไปหาที่ไหน เห็นหน้าคนที่จะให้ปั๊บก็เหาะไปทันที แต่ต้องไม่ให้คนเห็น พอเห็นว่าคนจะเห็นก็ต้องลงเดิน ถ้าเหาะจริง ๆ แล้วไวมาก ตามบาลีว่าที่พระโมคคัลลาน์ขึ้นไปดาวดึงส์ในคราวนั้น บอกว่า ความจริงไวกว่านั้น แต่ศัพท์ภาษาไทยไม่รู้จะใช้อะไร ความจริงนึกก็ถึงเลย ..
     
  8. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    คาถาพ่นตาแดงตาเจ็บ (อีกบท)

    สะหัสสะเนตโต เทวินโท
    ทิพพะจักขุง วิโสธะยิ
    อิกะวิติ พุทธสังมิ โลกะวิทู ฯ


    คาถานี้ ใช้เสกน้ำพ่นตาแดงตาต้อ เสกน้ำล้างหน้า
    ทุกวัน จะไม่เป็นโรคตา เสกน้ำมนต์หยอดตาแก้เจ็บตาก็ได้ ฯ
     
  9. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    การเพ่งกสิณนี้ ไม่ใช่การนั่งจ้อง การเพ่งกสิณนี้ คือการจำภาพ

    สมมติเพ่งกสิณไฟ ให้ทำการจุดเทียน แล้วให้เรามองภาพไฟ

    เมื่อเราจำภาพไฟได้แล้ว ให้หลับตานึกภาพไฟ เมื่อภาพไฟ

    เลือนหายไป ให้ลืมตามองภาพไฟใหม่ เมื่อจำภาพไฟได้

    ก็หลับตานึกภาพไฟ ต่อไป ให้ทำเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆจนกระทั่ง

    เราสามารถ นึกภาพไฟได้ตลอดเวลา ไม่ว่า ยามเดิน นอน นั่ง ยืน

    หลับตา หรือ ลืมตา โดยที่ไม่ต้องมองภาพไฟอีก และนานเท่าไหร่ก็ได้ตามที่เราต้องการ

    ###############

    ถ้าจะเจริญพุทธานุสสติร่วม กับกสิณ ก็ ให้จำภาพพระพุทธรูปแทน

    และพยายามนึกภาพพระให้ได้ตลอดเวลา พระพุทธรูปรูป สีทอง หรือสีเหลือง

    เป็นกสิณสีเหลือง(ปีตกสิณ) พระพุทธรูปสีขาว เป็น โอทาตกสิณ(กสิณสีขาว)

    พระพุทธรูปสีเขียว/ดำ ก็เป็น นีลกสิณ พระพุทธรูปเป็นแก้วใส เป็น อาโลกกสิณ(กสิณแสงสว่าง)

    หมายเหตุ :กสิณแสงสว่าง กสิณสีขาว กับเตโชกสิณ(กสิณไฟ) เป็นกสิณพื้นฐาน

    สำหรับสร้างทิพยจักษุญาณโดยตรง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กันยายน 2015
  10. choksila58

    choksila58 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    631
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +1,059
    ..สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ.. ดีมากๆเลย นะคร๊าบบบ ขอรับ

    ^________^
     
  11. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    ขอบคุณครับ
     
  12. choksila58

    choksila58 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    631
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +1,059
    ..อย่าลืมอธิฐานด้วยเน้ออ อยากได้กระสิณไฟก้อเอาไฟไปทำบุญ จุดไฟประทีป
    บูชาพระรัตนตรัย หมั่นทำบุญเป็นธรรมมาธิฐาน ขอข้าพเจ้าจงเป็นผู้ชำนาญ
    ในเตโชกสิณด้วยเทอญ จะเป็นอัศจรรย์เกิดขึ้นกับผู้ชอบเพ่งฌาน
    ไม่ใช่เราจะมาตะบี้ตะบันนั่งเพ่งดวงไฟกสิณอย่างเดียว ทำบุญอธิฐานลงไปด้วย
    จะช่วยเป็นกำลังเกื้อหนุน..

    อยากได้กสิณอะไรพิจารณาเอาสิ่งนั้นไปเป็นธรรมาธิฐาน ดิน,น้ำ,ไฟ,ลม
     
  13. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    ขอบคุณครับ

    ท่านผู้ที่ได้อภิญญาใหญ่ ในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งๆ มีเพียง ๔ ท่านเท่านั้น ส่วนพระสาวกที่เหลือทั้งหมด
    จะระลึกชาติในอดีตได้เพียงหนึ่งแสนกัปเท่านั้น ไม่อาจระลึกได้เกินไปกว่านี้

    แม้ในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าของเราทั้งหลาย ก็มีพระสาวกผู้มีอภิญญาใหญ่ระลึกชาติก่อนได้ "๑ อสงไขยกัป"
    กับอีก "๑ แสนกัป" มีอยู่เพียง ๔ ท่าน คือ


    พระอัครสาวกทั้ง ๒ ท่าน ได้แก่ พระสารีบุตรเถระกับพระมหาโมคคัลลานะเถระ พระพากุลเถระ และพระนาง
    ภัททากัจจานาเถรี (พระนางยโสธราเถรี หรือพระนางพิมพาเถรี)



    พระภิกษุเอตทัคคะ ด้านต่างๆที่เนื่องด้วยฤทธิ์

    พระมหาโมคคัลลานะเถระ (อัครสาวกฝ่ายซ้าย) เอตทัคคะในทางผู้มีฤทธิ์
    พระสาคตเถระ เอตทัคคะ ในทางผู้ชำนาญเตโชสมาบัติ
    พระอนุรุทธเถระ เอตทัคคะในทางผู้มีทิพยจักษุญาณ
    พระจูฬปันถกเถระ เอตทัคคะในทางผู้ชำนาญในมโนมยิทธิ
    พระโสภิตเถระ เอตทัคคะในทางระลึกปุพเพนิวาสานุสติญาณ

    พระภิกษุณี ด้านต่างๆที่เนื่องด้วยฤทธิ์

    พระมหาอุบลวรรณาเถรี เอตทัคคะในฝ่าย ผู้มีฤทธิ์
    พระมหาภัททกาปิลานีเถรี เอตทัคคะในฝ่าย ผู้มีปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ระลึกชาติได้)
    พระภัททากัจจานาเถรี หรือพระนามเดิม พระนางยโสธรา เอตทัคคะเป็นเลิศกว่าภิกษุณีสาวิกาผู้บรรลุอภิญญาใหญ่
    พระมหาสกุลาเถรี เอตทัคคะในฝ่าย ผู้มีทิพยจักษุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กันยายน 2015
  14. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    ขออนุญาตปล่อยของหน่อยครับ

    การที่จะได้ทิพยจักษุญาณที่ดีจริงๆนั้น ต้องทำโคมไฟ
    เป็นต้นหลายพันดวง หากว่าท่านต้องการได้ทิพยจักษุญาณจริงๆ
    ก็ต้องบูชาพระรัตนตรัยด้วยประทีปโคมไฟ

    นี่ความจริงเราจะทำบ้าง ก็ไม่ต้องไปทำอย่างเขาเพียงให้ค่ากระแสไฟฟ้า ให้แสงสว่าง ถ้าไม่ได้สร้างดวงโคม ก็ช่วยเรื่องกระแสไฟฟ้า ช่วยโคมไฟ ซื้อน้ำมันตะเกียง ซื้อตะเกียง ซื้ออุปกรณ์เกี่ยวกับแสงสว่าง ถวายพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาก็ได้ ช่วยค่ากระแสไฟฟ้า ช่วยค่าตะเกียง ช่วยค่าน้ำมันตะเกียง

    บูชาพระรัตนตรัยด้วยประทีปโคมไฟตลอดชีวิต

    ประวัติพระสกุลาเถรี

    ประวัติพระอนุรุทธ

    <!--[if gte mso 9]><xml> <o:OfficeDocumentSettings> <o:RelyOnVML/> <o:AllowPNG/> </o:OfficeDocumentSettings> </xml><![endif]--> [FONT=&quot]คาถาเเจ้งส่อง[/FONT] [FONT=&quot]จากตําราธรรมพ่อขาว[/FONT]

    [FONT=&quot]สุสีสุสัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ[/FONT]

    [FONT=&quot]ใช้ภาวนาครับถ้าสมาธิดีรับรองได้ผล[/FONT] [FONT=&quot]ทางที่ดีควรนั่งอยู่ป่าช้า[/FONT] [FONT=&quot]หรือวัด[/FONT] [FONT=&quot]จะได้ผลดีมาก [/FONT][FONT=&quot]เราสามารถเห็นสิ่งที่เป็นกลายทิพย์ ทั้งผี เเละเทพพรหมเทวา ต่างก็เป็นกายทิพย์ [/FONT][FONT=&quot]ต้องอธิษฐานก่อนครับ แล้วค่อยภาวนา

    [/FONT]

    [FONT=&quot] เมฆจิต ของท่านอาจารย์เกษม

    เมฆจิต
    หรือ ทิพยจักษุญาณของท่านอาจารย์เกษมนี้ เป็นแบบปฏิบัติที่ให้ผลง่าย ๆ มีมากรายที่ฝึกตามแบบนี้แล้วได้รับผลเบื้องต้นภายใน ๗ วัน บ้าง ๑๕ วันบ้าง แต่ที่ไม่ได้เรื่องก็ไม่น้อยเหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่แก่ความฉลาดและความกล้าของแต่ละบุคคล ที่ท่านทำได้ง่าย ๆ
    นั้น ท่านเหล่านั้นเล่าให้ฟังว่า ท่านทำดังนี้

    ท่านเริ่มทำสมาธิด้วยการกำหนดนิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น รูปพระพุทธเป็นต้น แล้วภาวนาคาถาบริกรรมไปด้วย กำหนดรูปด้วย วันหนึ่ง หรือคราวหนึ่ง ท่านไม่เอามาก ใช้เวลาคราวละ ๕ นาที บังคับว่าคาถาให้ครบถ้วน พร้อมด้วยกำหนดให้เห็นรูปไปด้วย ถ้าจิตพลาดนิดหนึ่งท่านตั้งต้นเวลาใหม่ ท่านทำอย่างนี้เพื่อบังคับอารมณ์ตนเอง เพื่อไม่ให้จิตส่ายไปในอารมณ์ภายนอกแล้วทดลองความรู้จากอารมณ์ คือ กำหนดรู้ทางใจ โดยกำหนดรู้เรื่องราวต่าง ๆ ตามที่จะหาได้ เช่น เห็นรถแล่นมาแต่ไกลก็กำหนดจิตเพื่อรู้ว่า คนในรถมีกี่คน เป็นชายเท่าไร หญิงเท่าไร แล้วเชื่ออารมณ์ที่รู้อารมณ์แรกโดยจิตคิดว่า มีคนกี่คน หญิงกี่คน ชายกี่คน ก็เชื่อตามอารมณ์แรก ความรู้นั้นจะถูกต้องตามความเป็นจริงเสมอเป็นวิชชาฝึกทิพยจักษุญาณระยะต้นดีมาก คาถาภาวนาว่าดังต่อไปนี้
    คาถาเมฆจิต

    พุทธัง เมฆะนิมิตต์ จิตตัง มะอะอุ
    ธัมมัง เมฆะนิมิตต์ จิตตัง อุอะมะ
    สังฆัง เมฆะนิมิตต์ จิตตัง อะมะอุ
    (คาถาของท่านมีเท่านี้)

    ฝึกทิพยจักษุญาณแบบโบราณ


    ท่านวางแบบของท่านไว้ว่า ให้จัดธูป ๗ ดอก เทียนหนัก ๑ บาท ๗ เล่ม ดอกไม้
    ๗ กระทง ข้าวตอก ๗ กระทง บาตรใส่น้ำเต็ม ๑ ใบ ท่านให้ภาวนาด้วยคาถานี้ตามแต่
    จะสบาย

    [/FONT]
    คาถาภาวนา

    นะมะพะทะ พุทโธ โลกทีปัง อาโลกกสิณัง วิโสธายิ
    ธัมโม โลกทีปัง อาโลกกสิณัง วิโสธายิ
    สังโฆ โลกทีปัง อาโลกกสิณัง วิโสธายิ


    เมื่อภาวนาจนจุใจแล้ว ท่านให้เอาน้ำมนต์ในบาตรนั้นอาบทุก ๆ วัน ตามตำราท่านว่า ทำอย่างนี้ ๗ วัน ของท่านได้ทิพยจักษุญาณ จงรักษาสมาธิให้ดี ดูของท่านแล้วก็อาโลกกสิณ ดี ๆ นั่นเอง ถ้าว่าคาถาเป็นนกแก้วนกขุนทองไม่มีหวังแน่ ต้องตั้งอารมณ์ตามแบบกสิณ มีหวังแน่ตามที่ท่านบอกไว้

    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]-->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กันยายน 2015
  15. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    การทำเทียนสะเดาะเคราะห์

    ให้เตรียมเทียน ขนาดหนัก 1 บาท หรือมากกว่า ได้ 3 บาท ดีที่สุด ถามที่ร้านสังฆภัณฑ์ได้ หากจะสะเดาะเคราะห์ ให้ใช้เทียนสีเหลือง หรือ แดง การทำ นั้น ให้ เขียนชื่อ สกุล วันเดือนเกิดลงไป บนกระดาษ แล้ว เอากระดาษมาพัน เทียนไว้ ในส่วนด้านล่างเทียน
    จากนั้น ไหว้พระสวดมนต์ปรกติ จากนั้นชุมนุมเทวดา

    แล้วสวดคาถาชุมนุมเทวดา จากนั้นให้ สวดคาถาบูชาดวงชะตา
    นะโมเม สัพพะเทวานังฯลฯ
    เมื่อจบแล้ว

    ให้สวดคาถาอาการกาย 32 ประการ

    แล้วอธิษฐาน ให้สิ่งที่ไม่ดี ในร่างกาย ในจิตใจเรา เผาไหม้ไปให้หมดกับเทียน

    จากนั้น จึงจุด ตอนจุดอธิษฐาน บูชาคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์

    แต่เราจะลุกหนีไปไหนไม่ได้ จนเทียนดับ ต้องนั่งเฝ้าจนกว่าเทียนจะดับ ทั้งเล่ม ห้ามลุก จนกว่าเทียนจะหมด และดับลง

    ขณะนั่งเฝ้า ให้สวดมนต์ นั่งสมาธิไปเรื่อยๆ เมื่อไหม้หมดแล้วจึง ไปกรวดน้ำให้เจ้ากรรมนายเวร ถือว่าเป็นอันเสร็จพิธี

    การทำเทียนรับโชค จะบอกกล่าวในคราต่อไป

    คาถาบูชาดวงชะตา (คาถาพิชัยสงคราม)

    นะโม เม สัพพะเทวานัง
    สัพพะคะระหะ จะ เทวานัง
    สุริยัญจะ ปะมุญจะถะ
    สะสิ ภุมโม จะ เทวานัง
    วุโธ ลาภัง ภะวิสสะติ
    ชีโว สุกะโร จะ มะหาลาภัง
    โสโร ราหูเกตุ จะ มะหาลาภัง
    สัพพะ ภะยัง วินาสสันติ
    สัพพะทุกขัง วินาสสันติ
    สัพพะโรคัง วินาสสันติ
    ลักขะณา อะหัง วันทามิ สัพพะทา
    สัพเพเทวา มัง ปาละยันตุ สัพพะทา
    เอเตนะ มังคะละเตเชนะ สัพพะโสตถี ภะวันตุ เมฯ


    *************

    ทวัตติงสาการปาฐะ

    (นำ) หันทะ มะยัง ท๎วัตติงสาการะปาฐัง ภะณามะ เส.
    (รับ) อะยัง โข เม กาโย, .........กายของเรานี้แล,
    อุทธัง ปาทะตะลา,............ เบื้องบน แต่พื้นเท้าขึ้นมา,
    อะโธ เกสะมัตถะกา,............เบื้องต่ำ แต่ปลายผมลงไป,
    ตะจะปะริยันโต,............มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ,
    ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน,........ เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ,
    อัตถิ อิมัส๎มิง กาเย,........มีอยู่ในกายนี้,
    เกสา .........คือผมทั้งหลาย,
    โลมา..........คือขนทั้งหลาย,
    นะขา...........คือเล็บทั้งหลาย
    ทันตา...........คือฟันทั้งหลาย,
    ตะโจ.............หนัง,
    มังสัง.............เนื้อ,
    นะหารู.........เอ็นทั้งหลาย,
    อัฏฐี.............กระดูกทั้งหลาย,
    อัฏฐิมิญชัง.........เยื่อในกระดูก
    วักกัง.............ม้าม
    หะทะยัง.........หัวใจ,
    ยะกะนัง........... ตับ,
    กิโลมะกัง...........พังผืด,
    ปิหะกัง........ไต,
    ปัปผาสัง..........ปอด,
    อันตัง..........ไส้ใหญ่,
    อันตะคุณัง..............ไส้น้อย
    อุทะริยัง...........อาหารใหม่,
    กะรีสัง..........อาหารเก่า,
    ปิตตัง...........น้ำดี,
    เสมหัง...........น้ำเสลด,
    ปุพโพ..........น้ำเหลือง,
    โลหิตัง ............ น้ำเลือด,
    เสโท.............. น้ำเหงื่อ,
    เมโท............ น้ำมันข้น,
    อัสสุ .............. น้ำตา,
    วะสา..........น้ำมันเหลว
    เขโฬ ......... น้ำลาย,
    สิงฆาณิกา ......... น้ำมูก,
    ละสิกา ......... น้ำมันไขข้อ,
    มุตตัง......... น้ำมูตร,
    มัตถะเก มัตถะลุงคัง ........... เยื่อในสมอง ในกะโหลกศีรษะ,
    เอวะ อะยัง เม กาโย.......... กายของเรานี้ อย่างนี้,
    อุทธัง ปาทะตะลา, ......... เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา,
    อะโธ เกสะมัตถะกา, ............ เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงไป,
    ตะจะปะริยันโต, ......... มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ,
    ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน ........... เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ อย่างนี้แล,


    สวดแต่ภาษาบาลี

    ที่มา

    ขอวิธีทำเทียนสะเดาเคระห์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 กันยายน 2015
  16. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    วิธีวางอารมณ์

    อนึ่งในการเล่าเรียนศึกษาวิชาเวทมนต์คาถาเหล่านี้จุดใหญ่ที่จะก่อให้เกิดความขลังศักดิ์สิทธิ์ขึ้นได้นั้น สำคัญอยู่ที่ใจของผู้ยึดมั่นเชื่อถือเวลาบริกรรม หรือปลุกเสกกระทำพิธีใดๆต้องพยายามสำรวมใจให้แน่วแน่เป็นจุดเดียวให้ตัดความระแวงลังเลสงสัยออกไปให้สิ้น เพราะสิ่งอันนี้แหละจะเป็นอุปสรรคบั่นทอนอย่างสำคัญ ต้องปลงใจเชื่อจริงถือจริงในสรรพวิชานั้นๆเคารพมั่นในคุณครูบาอาจารย์ และขณะที่บริกรรมคาถาอาคม จงอย่าให้ดวงจิตไประแวงคิดถึงเรื่องอื่น ให้เพ่งเล็งอยู่ในอักขระเวทมนต์ อย่าว่าให้อักขระนั้นเคลื่อนคลาดวิปลาสไปเป็นอันขาด ต้องทำให้เป็นสมาธิจริงๆจึงจะได้ผลสมปรารถนา

    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการที่จะปัดเป่าให้โรคภัยไข้เจ็บสูญหายไปนั้น ต้องวางจิตให้เป็นอุเบกขา อย่าเพ่งเล็งไปในทางโลภ เห็นแก่เงินทองลาภสักการเป็นอันขาด มิฉะนั้นความโลภนี้แหละจะเป็นเหตุให้เกิดความเสื่อม เช่น ตัวอย่างจะทำน้ำมนต์ให้เขาสักขันหนึ่ง เพื่อจะปัดเป่าโรคภัยไข้เจ็บให้เขา เมื่อได้สักการบูชาครูบาอาจารย์ ทำกิจพิธีส่วนตัวดังกล่าวมาเรียบร้อยแล้ว พึงปลงอารมณ์ของตนให้เห็นว่า มนุษย์เราทุกคนนี้ย่อมจักต้องผ่านการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งนั้น ใครๆก็หลีกหนีไม่พ้น แต่ถ้ายังไม่ถึงกาลเวลา ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย มีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เป็นประธาน ตลอดจนกระทั่งอำนาจเทพยดา ครูบาอาจารย์ ขอให้มาช่วยปัดเป่าโรคภัยไข้เจ็บนั้นๆให้หายไป เสร็จแล้วให้สำรวมกำลังใจวางเป็นจุดนึงอยู่ที่ขันน้ำมนต์อันนั้น หะแรกให้ลืมตาเพ่งเล็งบริกรรมไปเมื่อเห็นจิตใจเที่ยงแน่วแน่แล้วให้หลับตาเสีย พยายามสำรวมใจให้แน่เห็นภาพขันน้ำมนต์นั้นเหมือนยังลืมตาอยู่จนกระทั่งกระแสจิตเยือกเย็นได้ที่เกิดปีติขนพองสยองเกล้า หรือเห็นนิมิตที่ตนพึงปรารถนานั้น การกระทำนั้นจึงจะศักดิ์สิทธิ์ได้ผลเต็มที่ทีเดียว

    และในทำนองเดียวกัน ถ้าจะพยายามทำให้เป็นปาฏิหาริย์อยู่คงชาตรีอะไรเหล่านั้น พึงวางอารมณ์ให้แข็งแกร่งไม่ย่นย่อเครื่องศัสตราอาวุธทั้งปวง ยิ่งกำลังใจเหี้ยมเกรียมได้เท่าไรความสำเร็จก็ยิ่งเพิ่งขึ้นเท่านั้น ถ้าจะเป็นทางเมตตามหานิยมนั้นต้องปรุงใจให้อ่อนหวานเยือกเย็น มองไปรอบๆตัวเราล้วนแต่เป็นสิ่งเจริญใจทั้งนั้น พยายามข่มใจอย่าให้เกิดโทสจริตหรืออาการหงุดหงิดทั้งปวงขึ้นได้ วางใจให้ตั้งพรหมวิหาร 4 ประการ ถ้าจะมุ่งประสงค์ให้ท่านผู้ใดเกิดเมตตาในตัว ก็จงพยายามโน้มน้าวให้เกิดมโนภาพท่านผู้นั้น ปรากฏในห้วงนึกของเรา บังคับกระแสจิตของเรา อธิษฐานให้เขามีความปรานีรักใคร่ในตัวเรา การที่มุ่งปรารถนาก็จะสำเร็จผล

    ที่มา หนังสือ คัมภีร์พุทธมนต์โอสถ โดยอาจารย์เทพย์ สาริกบุตร
     
  17. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    อารมณ์สมาธิในเตโชกสิณ

    ลำดับฌานต้องควบคู่กับอานาปานสติ ( จับลมหายใจ ) มี วิตก วิจารณ์ ปีติ เอกัคตา สุข เหมือนกัน แต่องค์กสิณที่เริ่มต้น เรียกว่า อุคหนิมิต เทียบเท่ากับ ขณิกสมาธิ หากเป็นไฟ ก็เริ่มจับเป็นดวงไฟได้แล้ว

    1. เมื่อเข้าขั้นปฏิภาคนิมิตเบื้องต้น กสิณจะนิ่งคงที่และค่อยๆเปลี่ยนสีไปจาก สีไฟ สีส้มแดง เป็นสีขาว เหมือนเครื่องเซรามิคมาจากมณฑลกังไส( เจียงซี ) ของจีน หรือเทียบเท่ากับ อุปจารสมาธิ ของอานาปานสติ

    2. เมื่อกสิณเข้าสู่ฌานสมาบัติ ที่ 1 จะเป็นลูกแก้วกลมใส

    3. เมื่อกสิณเข้าสู่ฌานสมาบัติ ที่ 2 ความใสของลูกแก้วนั้นเหมือนน้ำมันมาทาชักเงาทั้งลูกแก้ว

    4.เมื่อเข้าสู่ฌานสมาบัติที่ 3 ดังนำน้ำสบู่ละลายน้ำ แล้วนำหลอดไปจุ่ม และเป่าสู่อากาศ ความโปร่งใสของลูกแก้ว จะขอบเขตบางมองทะลุได้

    5. เมื่อเข้าถึงฌานสมาบัติที่ 4 เหมือนนำเพชรไปใส่ในโหลแก้วบาง แล้วใช้ไฟสปอร์ตไลท์ส่องที่โหลเพชรนั้น เพชรจะหักเหแสง เป็นระยิบระยับ เรียกว่า ประกายพรึก หรือ ฌานสมาบัติที่สี่นั่นแหละ

    ที่มา เว็บไซท์ คนเมืองบัว

     
  18. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    คำบูชาพระรัตนตรัย

    ก่อนการปฏิบัติกรรมฐาน


    พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ปฏิปัตติบูชายะ

    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา

    พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระอรหันต์ บริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสเครื่องเศร้าหมองทั้งหลาย ได้ตรัสรู้ถูกถ้วนดีแล้ว

    อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ ข้าพเจ้าขอบูชา ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้

    (กราบหนึ่งครั้ง)

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

    พระธรรมคือศาสนา อันพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงไว้ดีแล้ว

    อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ธัมมังอะภิปูชะยามิ

    หน้า13

    ข้าพเจ้าขอบูชา ซึ่งพระธรรมเจ้านั้นด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้

    (กราบหนึ่งครั้ง)

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

    หมู่พระสงฆ์ผู้เชื่อฟังคำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าปฏิบัติดีแล้ว

    อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ ข้าพเจ้าขอบูชา ซึ่งหมู่
    พระสงฆ์เจ้านั้นด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้

    (กราบหนึ่งครั้ง)

    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    ศีลเบื้องต้นที่ต้องจดจำ

    กายกรรม 3 คือ

    1. ห้ามฆ่าคนหรือสัตว์ด้วยมือของตนเอง หรือสั่งคนอื่นฆ่า

    2. ห้ามทำการลักทรัพย์ด้วยมือของตนเอง หรือ สั่งคนอื่นลักทรัพย์แทนตน

    3. ห้ามทำชู้ด้วยคู่เมียคู่ผัวเขา

    วจีกรรม 4 คือ

    1. ห้ามกล่าวคำเท็จ

    2.ห้ามกล่าวคำเพ้อเจ้อ

    3.ห้ามกล่าวคำนินทา

    4.ห้ามกล่าวคำหยาบช้า

    มโนกรรม 3 คือ

    1.ห้ามมีจิตอิจฉาริษยาเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดีกว่าตน

    2.ห้ามมีใจพยาบาท อาฆาต เบียดเบียน ผู้อื่น

    3.ห้ามเห็นคนอื่นเป็นคนไม่ดีทั้งหมด

    ( กรรมทั้ง10 อย่างนี้ คือศีลเบื้องต้นอันเป็นข้อเตือนสติไม่ให้กระทำในสิ่งที่ไม่ดีทั้งหลายทั้งกาย วาจา และใจควรแก่การสังวรของมนุษย์ชาติทุกขณะจิตผู้มีศีลหรือรับศีลแล้ว ต้องไม่พยายามละเมิดและเมื่อทำผิดศีลแล้วจะต้องรู้จักสำนึกผิด เกิดความละอายเกรงกลัวต่อบาป มีความอดทนเพียรพยายามที่จะใช้สติพิจารณารู้เท่าทันกิเลส ไม่ให้กระทำกรรมชั่วร้ายเหล่านี้ และไม่คอยจับผิดผู้อื่น เพื่อเป็นการชำระล้างให้มนุษย์ผู้นั้นสะอาดและบริสุทธิ์ทั้งกาย วาจา และใจ ปราศจากมลทินอันเป็นอุปสรรคกีดขวางกั้นจิต ในการเจริญสมาธิเพื่อยกระดับจิตให้สูงขึ้น

    เนื่องจาก การสำรวมในศีล คือการสำรวมกาย วาจา ใจ ให้งดเว้นจากการคึกคะนอง คิดฟุ้งซ่าน และจิตใจว้าวุ่น จึงเกิดความสงบเป็นพื้นฐานเบื้องต้นดังที่ว่า

    “ ศีลที่บุคคลรักษาดีแล้ว ย่อมเป็นรากฐานที่ดีของการปฏิบัติสมาธิ ” )

    หมายเหตุ ในวงเล็บไม่ต้องสวด

    คำขอขมาโทษต่อพระรัตนตรัย

    กายกรรม 3 วจีกรรม 4 มโนกรรม 3 กรรมทั้ง 10 อย่างนี้

    กรรมอันหนึ่งอันใดที่ข้าพเจ้าอาจจะได้มีความสบประมาทพลาดพลั้ง ต่อหน้าก็ดี ลับหลังก็ดี ต่อพระรัตนตรัย ทั้ง กาย วาจา และใจ

    ขอพระรัตนตรัยจงอโหสิกรรมนั้นให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเทอญฯ

    พุทธัง วันทามิ ภันเต (กราบ)

    ธัมมัง วันทามิ ภันเต (กราบ)

    สังฆัง วันทามิ ภันเต (กราบ)

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    อุกาสะ อุกาสะ ข้าพเจ้าจะขอถือสัตย์รับศีลต่อองค์พระโพธิญาณ จะขอรับเอาพระสมาธิมาเป็นธงชัย จะระลึกถึงพระพายมาเป็นอารมณ์ กายอย่างหนึ่ง วาจาอย่างหนึ่ง มโนอย่างหนึ่ง จะไม่ให้เป็นกรรมแก่สัตว์และมนุษย์ทั้งหลาย ด้วยข้าพเจ้าจะไม่นิยมไปด้วยมูตรและคูถ สัมผัสถูกต้องรูปเสียงกลิ่นรสโภชนาหาร น้ำฉันและน้ำใช้ พระให้พิจารณาเป็นของปฏิกูล
    เปื่อยเน่าไปทั้งสิ้น เครื่องไม่จีรังนี้ เป็นของพระยามัจจุราชที่ได้หล่อหลอมรูปนี้มาตั้งแต่อเนกชาติ รูปนี้แตกดับไป จะขอวางซากอสุภะนี้ไว้เหนือพื้นพระปฐพี ส่วนนามธรรมของพระนี้ ขอให้แม่พระธรณีจงมาช่วยแบกหามอุดหนุนค้ำจุนข้ามส่งองค์พระพาย จะเสด็จเข้าไปในโลกใหญ่ ขอให้เป็นสุขอยู่ในห้องพระนิพพาน นิพพานะปัจจะโยโหตุ



    บทแผ่เมตตา

    หมู่สัตว์ทั่วทั้ง พรหมโลก เทวโลก มนุษย์โลก นรกโลก และทั่วทุกอบายภูมิทุกรูปทุกนามจงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรซึ่งกันและกันเลย

    ขอให้ทุกรูปทุกนามจงมีแต่ความ สุขกาย สุขใจ อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย

    ขอให้ทุกรูปทุกนามจงมีแต่ความสบายกาย สบายใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยพิบัติทั้งหลายนั้นเทอญฯ

    (ขอให้ภาวนาสม่ำเสมอ ทุกโอกาสที่อำนวย จนฝั่งแน่นติดใจประทับอยู่ในความทรงจำเกิดความเคยชินจนเป็นนิสัย ฝึกจนรู้สึกว่า แม้ไม่ได้ภาวนา ใจก็ยังแผ่เมตตาอยู่ จะทำให้ท่านพ้นจากจิตใจพยาบาทอาฆาต มีแต่นิสัยที่อ่อนโยน มีจิตใจโอบอ้อมอารี มีใจกว้าง ไม่เห็นแก่ตัว ไปไหนก็จะมีแต่คนเอ็นดูและเมตตา ทั้งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ก็ปราณีช่วยคุ้มครองภัยด้วย)

    มอบตัวเป็นศิษย์

    ท่านที่สนใจในการเรียนกรรมฐานนั้น ควรที่จะมอบตัวเป็นศิษย์แด่ครูอาจารย์ผู้อบรม ในการมอบตัวนี้ไม่ต้องการอามิสบูชา คือลาภสักการะแม้แต่ ดอกไม้ ธูป เทียน และสิ่งของทั้งปวง ขอเพียงแต่ท่านตั้งจิตแน่วแน่ด้วยใจจริง ที่มีศรัทธาต่อแนวทางตามหนังสือนี้

    (ตั้งใจให้ดี) ระลึกถึงสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) พรหมรังสี

    พนมมือสวดมนต์ไหว้พระก่อนแล้ว น้อมนำ จิตใจกล่าวเป็นวาจาต่อหน้าพระพุทธรูปดังนี้

    “ พนมนิ้วต่างธูปเทียนเหนือเศียรนี้

    น้อมศีรษะอัญชุลีแทนบัวขาว

    ใต้แสงธรรมล้ำพิสุทธิ์ผุดผ่องพราว

    ประนมกรจรดเกล้าภาวนา

    ขอถวายกายใจไว้เป็นศิษย์

    ยึดพระพุทธด้วยจิตศรัทธากล้า



    ยึดพระธรรมคำสอนชี้มรรคา

    ปฏิปทาพระสงฆ์ผู้ส่งทาง

    ขอให้ครูอบรมบ่มนิสัย

    นำศิษย์ให้รู้คิดทำจิตว่าง

    ลดกิเลสภายในให้เบาบาง

    ใจสว่างทางสงบพบนิพพาน ”

    การมอบตัวนี้ มีประโยชน์ในการปฏิบัติจิตเรียนกรรมฐานคือ

    1. เกิดความเชื่อมั่นตัวเองมากขึ้นที่มีครูอาจารย์เป็นที่พึ่งทางใจ และปราศจากความลังเลสงสัยในการเรียนกรรมฐาน

    2. ลดความยึดมั่นถือตน เพื่อมิให้เป็นคนดื้อด้าน จะได้สงบกาย สงบใจ พร้อมที่จะรับคำบรรยายของครูอาจารย์ด้วยความเคารพยำเกรงเป็นการเพิ่มความศรัทธา

    3. สายสัมพันธ์แห่งธรรมนี้ ครูอาจารย์ย่อมสงเคราะห์ให้ท่านแจ้งในอริยมรรคอริยผล ตามควรแก่อัธยาศัย และปกป้องคุ้มครองให้พ้นจากภัยอันตรายทั้งปวง



    บทอธิษฐานก่อนปฏิบัติฝึกสมาธิ

    ขอน้อมระลึกถึงพระคุณของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) พรหมรังสี ( ด้วยคาถา ธัมมังอรณัง ) ผู้ประพันธ์พระคาถาอาราธนาบารมี คุณพระศรีรัตนตรัยบทนี้

    พุทธังบังข้างซ้าย ธัมมังบังข้างขวา

    สังฆังบังกายา อรหันต์บังเกศา

    อะหังพุทโธ ธามะนะโม

    พุทธายะ นะมะพะทะ

    มะอะ อุ อุอะมะ

    อะมะอะ สาธุฯ

    ขอบารมีคุณพระศรีรัตนตรัย คุณบิดามารดา คุณครูอุปัชฌาย์อาจารย์และผู้มีพระคุณทุกท่าน เจ้าที่ เจ้าทาง เจ้าเขาเจ้าป่า เจ้าเรือน และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โปรดช่วยคุ้มครองให้ตัวข้าพเจ้าพ้นจากภัยพิบัติอันตรายทั้งปวง และโปรดส่งเสริมให้สติปัญญาของข้าพเจ้าเจริญยิ่งๆขึ้น



    (แล้วแผ่เมตตาตามบทแผ่เมตตาหลังบทสวดมนต์)

    (ระหว่างกล่าวคำอธิษฐานคาถาบทนี้ ขอให้จินตนาการ น้อมนำ จิตใจไปตามความหมายของบทคาถาคือ

    ได้เห็น บารมีพระพุทธกำลังเข้าบังข้างซ้าย ของร่างกาย

    บารมีพระธรรมกำลังเข้าบังข้างขวาของร่างกาย

    บารมีพระสงฆ์กำลังครอบคลุมบังทั้งร่างกายตั้งแต่ศีรษะจรดทั่วทั้งร่างกายของเราลงมา

    บารมีพระอรหันต์บังเกศาอยู่ที่ผมเรา

    จากนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้า 5 พระองค์

    ธาตุ ดิน น้ำ ลม ไฟ บังหน้า บังหลัง)

    คาถาบทนี้ ยังเหมาะกับการใช้ทุกวันก่อนออกจากบ้านก่อนเดินทาง และภาวนาไปจนเกิดความเคยชิน ก็จะฝังแน่นในใจ


    บทแผ่เมตตาหลังจากฝึกปฏิบัติสมาธิจิตแล้ว

    ในขณะจิต “ นิ่ง ” จิตใจของผู้ปฏิบัติจะไม่มีอคติจิตใจเกิดกุศล ดังนั้น หลังจากการปฏิบัติจิตแล้ว ควรกล่าวอธิษฐานดังนี้

    “ ด้วยกุศลผลบุญ ที่ข้าพเจ้าได้ทำจิตสงบไปชั่วขณะหนึ่งนี้

    ขอถวายกุศลนี้แด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกโพธิเจ้าทุกๆพระองค์ พระอรหันต์ทุกๆพระองค์ พระโพธิสัตว์ทุกๆพระองค์ เทพ พรหม ผู้สำเร็จทุกท่าน บิดามารดา ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ ญาติมิตร เพื่อนสาราสัตว์น้อยใหญ่ เจ้ากรรมนายเวร

    ขอบารมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลก จงช่วยปกป้องคุ้มครองมวลมนุษย์ทั้งโลกให้รอดพ้นจากภัยพิบัติทั้งหลาย ผลร้ายที่จะเกิดแก่ประเทศไทย จงกลายเป็นผลดี

    และโปรดแผ่พลังจิต แผ่บารมี ช่วยให้ข้าพเจ้าเกิดปัญญาเห็นธรรมด้วยเทอญ ”



    ที่มา ::หนังสือแนวคำสอนสมเด็จโต สมาธิ ทางสงบ ถอดจิต

    ที่มา
     
  19. เทพคาถา

    เทพคาถา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    231
    ค่าพลัง:
    +374
    ความรู้น่าสนใจ ควรค่าแก่การพิจารณา ที่น้อยคนนำมาปล่อย
    ผมขอนำเก็บรวบรวม ไว้ในชมรม ของผมนะครับ
    ขอบคุณครับ
     
  20. ขง

    ขง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +676
    ได้ครับ เชิญครับ ผมยินดีให้ธรรมทาน เพราะคนส่วนใหญ่แสวงหาความรู้กัน

    และข้อมูลส่วนใหญ่ จะปกปิดกันแทบทั้งนั้น และก็หายาก มาก ครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...