เสียงธรรม โทษของตัณหา

ในห้อง 'วัฏสงสารและกฎแห่งกรรม' ตั้งกระทู้โดย NoOTa, 7 มีนาคม 2010.

  1. NoOTa

    NoOTa Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    20,123
    กระทู้เรื่องเด่น:
    348
    ค่าพลัง:
    +64,476
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. zetsubo

    zetsubo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +751
    อนุโมทนาค่ะ<!-- google_ad_section_end -->
     
  3. too370

    too370 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    380
    ค่าพลัง:
    +563
    อนุโมทนาครับ
     
  4. somkiatdhana

    somkiatdhana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    259
    ค่าพลัง:
    +619
    ขออนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ ด้วยครับ
    ----------------------------------------------

    พุทธวจน

    1 “ เธอย่อมยุบ - ย่อมไม่ก่อ ; ย่อมขว้างทิ้ง – ย่อมไม่ถือเอา ; ย่อมทำให้กระจัดกระจาย - ย่อมไม่ทำให้เป็นกอง ; ย่อมทำให้มอด - ย่อมไม่ทำให้โพลง ซึ่งขันธ์ทั้งห้า ”<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    2 “ ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหา เป็นผู้หลุดพ้น ” <o:p></o:p>
    ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕ (อ/๖๘๓)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    3 “ ไม่มั่นหมายซึ่งสิ่งทั้งปวง ไม่มั่นหมายในสิ่งทั้งปวง ไม่มั่นหมายโดยความเป็นสิ่งทั้งปวงไม่มั่นหมายสิ่งทั้งปวง ว่าของเรา.”<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    4 “ อารมณ์อันเกิดขึ้นแล้วแก่เรานี้ เป็นสิ่งมีปัจจัยปรุงแต่ง (สงฺขต) เป็นของหยาบๆ (โอฬาริก) เป็นสิ่งที่อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจฺจ สมุปฺปนฺน) ; แต่มีสิ่งโน้นซึ่งระงับและประณีต, กล่าวคือ อุเบกขา “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    5 “ เมื่อเห็นสิ่งทั้งปวงถูกต้องตามเป็นจริง ว่าเป็นเพียงการเกิดขึ้นของธรรมชาติล้วน ๆ ว่าเป็นเพียงการสืบเนื่องกันเป็นสาย ของสิ่งที่มีปัจจัยปรุงต่อ ๆ กันมาล้วน ๆ , แล้วความกลัวย่อมไม่มี “.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    6 “ เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้า และลมหายใจออก ว่าเป็นกายอย่างหนึ่ง ๆ ในบรรดากายทั้งหลาย “ อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙ (อ/๑๑๙๘)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    7 “ บุคคลควรรู้จักการวินิจฉัยในความสุข เมื่อรู้จักการวินิจฉัยความสุขแล้วควรประกอบความสุขชนิดที่เป็นภายใน “ อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๗/๖๕๙ (อ/๑๑)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    8 “ เราย่อมกล่าวว่า การทำในใจเป็นอย่างดี ถึงลมหายใจเข้า และลมหายใจออก ว่านั่นเป็นเวทนาอย่างหนึ่ง ๆ ในบรรดาเวทนาทั้งหลาย อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙ (อ/๑๑๙๙)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    9 “ เราไม่กล่าวว่าอานาปานสติเป็นสิ่งที่มีได้ แก่บุคคลผู้มีสติอันลืมหลงแล้ว ผู้ไม่มีสัมปชัญญะ “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    10 “ เมื่อเจริญสติปัฏฐานเพื่อรักษาตน ก็เป็นการรักษาผู้อื่น : เมื่อเจริญสติปัฏฐานเพื่อรักษาผู้อื่นก็เป็นการรักษาตนด้วย “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    11 “ สมัยใด ภิกษุเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะซึ่งจิตอันตั้งมั่นแล้วอย่างนั้น เป็นอย่างดี, สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้น ปรารภแล้ว “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    12 “ ผู้รู้อรรถรู้ธรรมแห่งคาถาแม้เพียงสี่บท แล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม นั่นแหละควรจะเรียกว่า เป็น พหุสูตผู้ทรงธรรม “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    13 “ สมถะเมื่ออบรมแล้ว … จิตจะเจริญ. จิตเจริญแล้ว … จะ ละราคะได้. วิปัสสนาเมื่อเจริญแล้ว … ปัญญาจะเจริญ. ปัญญาเจริญแล้วจะ ละอวิชชาได้ “ ทุก.อํ ๒๐/๗๗/๒๕๗.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    14 “ เราขอกล่าวกะเธอ โดยประการที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ เธอทั้งหลายอย่าเป็นบุรุษสุดท้ายของเราเลย “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    15 “ บุคคลผู้มีความเกียจคร้าน เกลื่อนกล่นไปด้วยธรรมที่เป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์, และย่อมทำประโยชน์ตนอันใหญ่หลวงให้เสื่อมสิ้น “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    16 “ ภิกษุผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว ย่อมอยู่เป็นสุข , สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นบาปอกุศลทั้งหลาย เป็นอยู่ด้วย , และย่อมทำประโยชน์ตนอันใหญ่หลวงให้บริบูรณ์ด้วย “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    17 “ พวกเธอทั้งหลาย พึงปรารภความเพียร เพื่อบรรลุธรรมที่ยังไม่ได้บรรลุ เพื่อเข้าถึงธรรมที่ยังไม่ได้เข้าถึง เพื่อทำให้แจ้งธรรมที่ยังไม่ได้ทำให้แจ้ง เถิด. “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    18 “ จงมาเถิด บุรุษผู้เป็นวิญญูชน ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา มีสัญชาติแห่งคนตรง, เราพร่ำสอนอยู่, แสดงธรรมอยู่, เธอปฏิบัติตามอยู่อย่างที่เราสอน ก็จักทำให้แจ้ง ซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ( คืออรหัตตผล ) อันไม่มีอะไรอื่นยิ่งไปกว่าได้ต่อการไม่นาน “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    19 “ สิ่งใดไม่ใช่ของเธอ เธอจงละมันเสีย สิ่งเหล่านั้นอันเธอละเสียแล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่เธอ “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    20 “ นั่น โคนไม้ ; นั่น เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส. อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
     
  5. staycoolboy

    staycoolboy เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    112
    ค่าพลัง:
    +504
    อนุโมทนาครับ
     
  6. beethayu

    beethayu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +131
    อนุโมทนาครับ
     
  7. Tikdang2010

    Tikdang2010 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +0
    ขอบารมีท่านหลวงปู่ช่วยให้ลูกหลานได้มีดวงตาเห็นธรรมได้ไปพระนิพพานด้วยเทอญสาธุ
     

แชร์หน้านี้

Loading...