ใคร บ้าง

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Picolo Fanta, 28 มิถุนายน 2020.

  1. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
    ไม่มีกาล
     
  2. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
    ทำมัยผมมีปกปิดผมกะมีกิเลสดูง่ายจะตาย
     
  3. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    ถ้าเป็น วิธี ปฏิบัติ สงสัย ให้กำหนดรู้ สงสัย

    ถ้า เรียน วิธี
    สงสัยในวิธี ก้ให้ถาม

    ถ้า สงสัย ในความเข้าใจผิดหรือไม่ ให้ถาม ก้เลือกกาละเทสะเอา
     
  4. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
    มีแต่เด็กละชอบเปรียบเทียบกะคนอื่น
     
  5. ชื่อใหม่นะ5

    ชื่อใหม่นะ5 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    917
    ค่าพลัง:
    +346
    อันนี้ก็สุดแล้วแต่จะมอง อะไรที่เป็นความคิดก็คือความคิด อะไรที่เป็นความเชื่อก็คือความเชื่อและอะไรที่เป็นความจริงก็คือความจริง อะไรจะไปปิดอะไรยังไงแล่วแต่จะพิจารณาเอาเองนะ เวลาไม่เคยคอยใคร
     
  6. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    ผู้ใหญ่ คือ พระอรหันต์
    ตราบใด ยังทำลายการเปรียบเทียบไม่ได้ ก้คือ ยังทำลาย มานะไม่ได้

    ก็ยังเด้กวันยังค่ำ ยันเช้า
    เป้นเด้ก ได้ถึง พระอนาคามี
     
  7. Moonlight...

    Moonlight... ...

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    216
    ค่าพลัง:
    +147
    ความจริงถ้าว่ายุติ มันก็ต้องยุติหมด
    แต่อย่างว่า อดีตอนาคต เราไม่รู้ ใครบอกเราเราก็ไม่รู้อีกแหละ เลือกอยู่กับปัจจุบันละกัน
    เบื่ออีกละ ไปดีกว่าเดี๋ยวเวียนหัว
     
  8. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
    เก็าเด็กใสใสๆไสเหล้าอยู่ไส55
     
  9. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    แบบนี้เขา เรียก เด้กน้อย
     
  10. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    จิรีบเบื่อไปไหน..ยังไม่ได้เล่าเลย
     
  11. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
    นั้นละหนนาาาาาาชอบเอาทุกข์คนอื่นมาใส่ตัว
     
  12. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
  13. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
  14. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
  15. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    เราต้องแยกศรัทธากับ งมงายให้ออกนะ
    ถ้า ศรัทธา มันจะเป็นของ หิน เหล็กไฟ
    แต่ถ้า งมงาย มันเป็นของ บอดี้แสลม
     
  16. ละอองไฟ

    ละอองไฟ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    2,469
    ค่าพลัง:
    +1,398
    สุรีย์บุตร
    บุตรมนุษย์ผู้มีแสงสีทองอร่ามสุกปลั่ง
    ดั่งดวงพระอาทิตย์
    ผมแปลถูกไหมคับท่านสุรีย์บุตร
     
  17. ธรรม-ชาติ

    ธรรม-ชาติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    2,567
    ค่าพลัง:
    +9,957
    +++ จะเป็นสภาพการเห็นที่ คล้ายคลึงแบบ Hologram
    +++ คือ เป็นการเห็นทั้ง "ข้างนอก+ข้างใน+องค์ประกอบปรมาณู" ณ เวลา+สภาวะ เดียวกัน
    +++ จะ "ไม่ใช่ การเห็นแบบ ตาทิพย์" ตามแบบฉบับของ มโน ที่รู้จักกัน แพร่หลาย
    +++ แต่ จะเป็นการเห็น ที่ทางภาษาพระป่ากล่าวว่า เป็น "ตาสติ+ตาปัญญา"
    +++ ทางครูบาอาจารย์สายพระป่าบางท่านจะกล่าวเพียงสั้น ๆ ว่า "สติเห็น" นะครับ
     
  18. ธรรม-ชาติ

    ธรรม-ชาติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    2,567
    ค่าพลัง:
    +9,957
    +++ ผม ไม่ใช่ เขา นะ แต่จะขอตอบตามนัยของ พระไตรปิฏก เรื่อง ปฏิปทา 4 อย่าง ดังนี้

    https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=21&A=4083&Z=4299

    ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญาเป็นไฉน
    ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นในกายว่าไม่งาม มีความสำคัญในอาหารว่าเป็นของปฏิกูล มีความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าไม่น่ายินดี พิจารณาเห็นในสังขารทั้งปวงว่าไม่เที่ยง อนึ่ง มรณสัญญาของเธอตั้งอยู่ดีแล้วในภายใน เธอเข้าไปอาศัยธรรมอันเป็นกำลัง ของพระเสขะ ๕ ประการนี้ คือ สัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปัญญา อินทรีย์ ๕ ประการนี้ คือ สัทธินทรีย์ ฯลฯ ปัญญินทรีย์ ของเธอปรากฏว่าอ่อน เธอได้บรรลุคุณวิเศษเพื่อความสิ้นอาสวะช้า เพราะอินทรีย์ ๕ ประการนี้อ่อน

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯ

    +++ ตามความใน พระไตรปิฏก ที่กล่าวมานี้
    +++ ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ผ่านมาทาง อสุภะ อาหาเรปฏิกูล ไม่ยินดีในโลก สังขารไม่เที่ยง มรณานุสติ
    +++ อินทรีย์ 5 = อ่อน
    ==========================================
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นไฉน
    ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นในกายว่าไม่งาม ... แต่อินทรีย์ ๕ ประการนี้ คือ สัทธินทรีย์ ฯลฯ ปัญญินทรีย์ ของเธอปรากฏว่าแก่กล้า เธอย่อมได้บรรลุคุณวิเศษ เพื่อความสิ้นอาสวะเร็วพลัน เพราะอินทรีย์ ๕ ประการนี้แก่กล้า

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า ทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ฯ

    +++ ตามความใน พระไตรปิฏก ที่กล่าวมานี้
    +++ ทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา ผ่านมาทาง อสุภะ อาหาเรปฏิกูล ไม่ยินดีในโลก สังขารไม่เที่ยง มรณานุสติ
    +++ อินทรีย์ 5 = แก่กล้า
    ==========================================
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สุขาปฏิปทาทันธาภิญญาเป็นไฉน
    ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติ และสุขอันเกิดแต่วิเวกอยู่ บรรลุทุติยฌานมีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติ สิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้มี อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข ดังนี้ บรรลุจตุตถฌานอันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติ บริสุทธิ์อยู่ เธออาศัยธรรมอันเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการนี้ คือ สัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปัญญาอยู่ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ คือ สัทธินทรีย์ ฯลฯ ปัญญินทรีย์ ของเธอปรากฏว่าอ่อน เธอบรรลุคุณวิเศษเพื่อความสิ้นอาสวะช้า

    เพราะอินทรีย์ ๕ ประการนี้อ่อน ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า สุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ฯ

    +++ ตามความใน พระไตรปิฏก ที่กล่าวมานี้
    +++ สุขาปฏิปทาทันธาภิญญา ผ่านมาทาง ฌาน สมาธิ สติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย
    +++ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติ บริสุทธิ์อยู่ (ตรงนี้ ระบุ อาการของ อุเบกขาสัมโภชฌงค์ ไว้ชัดเจน)
    +++ อินทรีย์ 5 = อ่อน
    ==========================================
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สุขาปฏิปทาขิปปาภิญญาเป็นไฉน
    ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน ฯลฯ บรรลุทุติยฌาน ฯลฯ บรรลุ ตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ เธออาศัยธรรมอันเป็นกำลังของพระเสขะ
    ๕ ประการนี้ คือ สัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปัญญา ทั้งอินทรีย์ ๕ ประการนี้ คือ สัทธินทรีย์ ฯลฯ ปัญญินทรีย์ ของเธอปรากฏว่าแก่กล้า เธอย่อมได้บรรลุคุณวิเศษเพื่อความสิ้นอาสวะเร็วพลัน

    เพราะอินทรีย์ ๕ ประการนี้แก่กล้า
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า สุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา

    +++ ตามความใน พระไตรปิฏก ที่กล่าวมานี้
    +++ สุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา ผ่านมาทาง ฌาน สมาธิ สติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย
    +++ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติ บริสุทธิ์อยู่ (ตรงนี้ ระบุ อาการของ อุเบกขาสัมโภชฌงค์ ไว้ชัดเจน)
    +++ อินทรีย์ 5 = แก่กล้า
    ==========================================
    +++ สรุปรวบสั้น ๆ คือ
    +++ ทุกขาปฏิปทา ทันธา/ขิปปา ภิญญา มาทาง "อสุภะ" แต่ต่างกันที่ "อินทรีย์ 5"
    +++ สุขาปฏิปทา ทันธา/ขิปปา ภิญญา มาทาง "โภชฌงค์" แต่ต่างกันที่ "อินทรีย์ 5"
    +++ อินทรีย์ 5 ตามการปฏิบัติ คือ "การทำให้ได้นิสัย"
    +++ แล้วจะได้ ว่องไวในการ เข้า/ออก สภาวะธรรม (วสี 5) ไปในตัว
    ==========================================
    อีกประการหนึ่ง ใจของภิกษุปราศจากอุทธัจจะในธรรม สมัยนั้น จิตนั้น ย่อมตั้งมั่น สงบ ณ ภายใน เป็นจิตเกิดดวงเดียว ตั้งมั่นอยู่ มรรคย่อมเกิดขึ้นแก่เธอ เธอย่อมเสพ เจริญ กระทำให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อเธอเสพ เจริญ กระทำให้มากซึ่งมรรคนั้น ย่อมละสังโยชน์ทั้งหลายได้ อนุสัยย่อมสิ้นสุด

    +++ ตรง "จิตเกิดดวงเดียว" ตรงนี้ เป็นหลักสำคัญในการปฏิบัติ
    +++ ตรงนี้เป็น "จิตในสภาวะเดียว" (อัปปนา+เอกัคตา)
    +++ จากนั้นใช้ อินทรีย์ 5 ด้วย วสี 5 เข้า/ออก (นิสัยในหลักปฏิบัติ)

    +++ อาการ "เสพ" คือ "โอปนยิโก" คือ น้อมตนลงไปเสพ
    +++ อาการ "เจริญ" คือ อาการ "อยู่" ในจิตสภาวะเดียวนั้น
    +++ อาการ "กระทำให้มาก" เป็นอาการของ "ได้นิสัยใน วสี 5"
    +++ ตรงนี้ ภาษาของผม คือ "สติครองฌาน เอกัคตา สู่ เอกัคตา"

    +++ ในสภาวะของ "จิตเกิดดวงเดียว" นั้น
    +++ ตรงนี้เป็น "ธัมมะวิจัยสัมโภชฌงค์"

    ดูกรอาวุโสทั้งหลาย บุคคลผู้ใดผู้หนึ่ง เป็นภิกษุหรือภิกษุณีก็ตาม ย่อมพยากรณ์การบรรลุอรหัต ในสำนักของเรา ด้วยมรรค ๔ ประการนี้ โดยประการทั้งปวง หรืออย่างใด
    อย่างหนึ่ง บรรดามรรค ๔ ประการนี้ ฯ

    +++ คุณ ควายตัวที่5 น่าจะเห็นอะไรบางอย่างนะ ว่า "ปฏิปทา 4" นี้ ไม่เกี่ยวกับ "สุขวิปัสสโก" เลย
    +++ และที่สำคัญคือ "โภชฌงค์" เป็นหัวใจของ "สุขาปฏิปทา" นอกนั้นขึ้นกับ อินทรีย์ 5 นะครับ
     
  19. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    ปรมาณู เป็นรูป ที่ละเอียดที่สุด จึงเรียกว่า เห้นได้เฉพาะตาทิพย์์ หรือ เรียกว่า ผ่าน ทางมโนวิญญาณ +จิต

    เรียก อีกอย่าง ว่า กายทิพย์

    หรือ ว่า กายในกาย

    พวกที่มีกายทิพย์
    ก้เทวดานางคว้า โอปปาติกะ

    แม้มีตาทิพย์ เห็น รูปละเอียด ก็ ยังแยกรูปนามไม่ได้

    ต้องมี สติสัมโพฌชง เสร้มเข้ามา

    กลายเป็น
    มโนวิญญาณ+ จิต+สติสัมโพฌชง จึงเรียกว่า ปัญญาจักษุ

    ขมวดพูดสั้นๆ สติ

    เรียกตามอภิธรรม

    เรียก จิตสัมปยุต ด้วยสติ

    ไม่ต้องพูดถึง ปัญญาก็ได้

    เพราะ สติสัมโพฌชง จะเกิดได้ เพราะ มันสัมปยุต ด้วยปัญญาเสมอ

    จึงเรียกสั้นๆไป ภาษาปฏิบัติ

    ว่า สติเห็น

    ไม่ได้เห็นเฉพาะ รูปปรมัตถ์

    ยังเห็นนาม ไปในตัว ด้วยเรียกสั้นๆ ว่าสติเห็น

    หรือ ปัญญาจักษุ หรือ ตาปัญญา


    เพิ่มอีกนิดว่า

    ตาทิพย์ ไม่สามารถเห็น นามธรรม เห็นได้แต่รูปปรมัตถ์

    แต่ ตาปัญญา เห็นได้ ทั้ง รูปนาม จึงไม่มีอะไร บังตาปัญญาไปได้
     
  20. ชื่อใหม่นะ5

    ชื่อใหม่นะ5 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    917
    ค่าพลัง:
    +346
    ถ้าเป็นอย่างนั้นแล้วแปลว่า อย่างไรครับ สุขวิปัสสโก และ เจโตวิมุติ ต่างก็ประกอบกิจตามลักษณะข้างต้นใช่ไหมครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...