เสียงธรรม “ปฏิจจสมุปบาท”ยอดแห่งธรรมปฏิบัติ..เพื่อดับทุกข์ในชีวิตประจำวัน

ในห้อง 'วัฏสงสารและกฎแห่งกรรม' ตั้งกระทู้โดย NoOTa, 22 กุมภาพันธ์ 2010.

  1. NoOTa

    NoOTa Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    20,123
    กระทู้เรื่องเด่น:
    348
    ค่าพลัง:
    +64,476
    “ปฏิจจสมุปบาท”
    ยอดแห่งธรรมปฏิบัติ..เพื่อดับทุกข์ในชีวิตประจำวัน
    ศาสตราจารย์อุบาสิกาคุณรัญจวน อินทรกำแหง

    [​IMG]
    :):):)

    01 สมุทยวาร ศึกษาเหตุปัจจัยฝ่ายเกิดทุกข์ ย้อนจากผลไปหาเหตุ​

    02 สมุทยวาร ศึกษาเหตุปัจจัยฝ่ายเกิดทุกข์
    ทบทวนจากเหตุไปหาผล​

    03 ตอบคำถาม ทบทวนความเข้าใจกลไกของโซ่แห่งชีวิต​

    04 นิโรธวาร กลไกฝ่ายดับทุกข์ ณ จุดผัสสะ
    และการดำเนินมรรคในอริยสัจ​

    05 ย้อนดูเหตุ แยกอาการ เพื่อเรียนรู้ปฏิจจสมุปบาท
    ณ จุดตั้งต้นแห่งกรรมในชีวิตประจำวัน​

    06 การปฏิบัติจิตภาวนาเพื่อดับทุกข์ตัดกระแสกรรมตามกฏอิทัปปัจยตา​

    07 พระเจ้าของชาวพุทธ กับภูมิทั้ง 4 ในใจมนุษย์
    และความสำคัญของปัจจุบันขณะ​

    08 สัจจะกับอานิสงส์ของปฏิจจสมุปบาท
    และ การเห็นธรรมในความสัมพันธ์ของ 12 อาการ​

    09 ขันธ์ห้า อุปทาน สังขาร กิเลส กรรม วิบาก
    และปรากฏการณ์ในวงรอบของปฏิจจสมุปบาท​


    10 ปฏิจจสมุปบาทเป็นวิทยาศาสตร์ทางนามธรรมไม่ใช่ปรัชญา​

    11 ปฏิจจสมุปบาทมีประโยชน์สูงสุดคือกำจัดอัตตานุทิฏฐิ​

    12 การเกิดตัวตนอันน่ากลัวในจิตใจ
    และการพิจารณาอุปทาน 4 จากปฏิจจสมุปบาท ​












    [​IMG]
    [​IMG]<SCRIPT type=text/javascript>var sc_project=3339594; var sc_invisible=1; var sc_partition=36; var sc_security="4d908eba"; </SCRIPT><SCRIPT src="http://www.statcounter.com/counter/counter_xhtml.js" type=text/javascript></SCRIPT> ​

    ที่มา:
    [​IMG]

    http://www.dhamaforlife.com/audio/runjuan/rj06/index_.htm
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • index_clip_image014.jpg
      index_clip_image014.jpg
      ขนาดไฟล์:
      3.4 KB
      เปิดดู:
      2,979
    • rj06_1.mp3
      ขนาดไฟล์:
      9.4 MB
      เปิดดู:
      3,778
    • rj06_2.mp3
      ขนาดไฟล์:
      6.4 MB
      เปิดดู:
      2,418
    • rj06_3.mp3
      ขนาดไฟล์:
      6.9 MB
      เปิดดู:
      1,998
    • rj06_4.mp3
      ขนาดไฟล์:
      12.5 MB
      เปิดดู:
      2,092
    • rj06_5.mp3
      ขนาดไฟล์:
      6.2 MB
      เปิดดู:
      1,833
    • rj06_6.mp3
      ขนาดไฟล์:
      10 MB
      เปิดดู:
      1,832
    • rj06_7.mp3
      ขนาดไฟล์:
      4.7 MB
      เปิดดู:
      1,792
    • rj06_8.mp3
      ขนาดไฟล์:
      9.7 MB
      เปิดดู:
      1,821
    • rj06_9.mp3
      ขนาดไฟล์:
      6.3 MB
      เปิดดู:
      1,795
    • rj06_10.mp3
      ขนาดไฟล์:
      3.8 MB
      เปิดดู:
      1,729
    • rj06_11.mp3
      ขนาดไฟล์:
      4.9 MB
      เปิดดู:
      1,687
    • rj06_12.mp3
      ขนาดไฟล์:
      15.5 MB
      เปิดดู:
      1,847
  2. Easy life

    Easy life สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    2
    ค่าพลัง:
    +0
    เมื่อสิ่งนี้เกิด สิ่งนั้นจึงเกิด
    เมื่อสิ่งนี้ดับ สิ่งนั้นจึงดับ

    อนุโมทนาครับ
     
  3. ศาน

    ศาน สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    110
    ค่าพลัง:
    +18
    สาธุครับ
     
  4. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,276
    ค่าพลัง:
    +82,733
    อนุโมทนาค่ะ
     
  5. slungling

    slungling เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มกราคม 2008
    โพสต์:
    527
    ค่าพลัง:
    +419
    อนุโมทนาค่ะ
     
  6. nui08

    nui08 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    297
    ค่าพลัง:
    +55
    อนุโมทนาครับ สาธุ
     
  7. somkiatdhana

    somkiatdhana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    259
    ค่าพลัง:
    +619
    ขออนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ กับหนูตาด้วยครับ ดีประโยชน์มากครับ
    ----------------------------------------------------------------------

    พุทธวจน ( คำพูดของพระพุทธเจ้า )

    1 “ เธอย่อมยุบ - ย่อมไม่ก่อ ; ย่อมขว้างทิ้ง – ย่อมไม่ถือเอา ; ย่อมทำให้กระจัดกระจาย - ย่อมไม่ทำให้เป็นกอง ; ย่อมทำให้มอด - ย่อมไม่ทำให้โพลง ซึ่งขันธ์ทั้งห้า ”<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    2 “ ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหา เป็นผู้หลุดพ้น ” <o:p></o:p>
    ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕ (อ/๖๘๓)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    3 “ ไม่มั่นหมายซึ่งสิ่งทั้งปวง ไม่มั่นหมายในสิ่งทั้งปวง ไม่มั่นหมายโดยความเป็นสิ่งทั้งปวงไม่มั่นหมายสิ่งทั้งปวง ว่าของเรา.”<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    4 “ อารมณ์อันเกิดขึ้นแล้วแก่เรานี้ เป็นสิ่งมีปัจจัยปรุงแต่ง (สงฺขต) เป็นของหยาบๆ (โอฬาริก) เป็นสิ่งที่อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจฺจ สมุปฺปนฺน) ; แต่มีสิ่งโน้นซึ่งระงับและประณีต, กล่าวคือ อุเบกขา “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    5 “ เมื่อเห็นสิ่งทั้งปวงถูกต้องตามเป็นจริง ว่าเป็นเพียงการเกิดขึ้นของธรรมชาติล้วน ๆ ว่าเป็นเพียงการสืบเนื่องกันเป็นสาย ของสิ่งที่มีปัจจัยปรุงต่อ ๆ กันมาล้วน ๆ , แล้วความกลัวย่อมไม่มี “.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    6 “ เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้า และลมหายใจออก ว่าเป็นกายอย่างหนึ่ง ๆ ในบรรดากายทั้งหลาย “ อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙ (อ/๑๑๙๘)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    7 “ บุคคลควรรู้จักการวินิจฉัยในความสุข เมื่อรู้จักการวินิจฉัยความสุขแล้วควรประกอบความสุขชนิดที่เป็นภายใน “ อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๗/๖๕๙ (อ/๑๑)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    8 “ เราย่อมกล่าวว่า การทำในใจเป็นอย่างดี ถึงลมหายใจเข้า และลมหายใจออก ว่านั่นเป็นเวทนาอย่างหนึ่ง ๆ ในบรรดาเวทนาทั้งหลาย อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙ (อ/๑๑๙๙)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    9 “ เราไม่กล่าวว่าอานาปานสติเป็นสิ่งที่มีได้ แก่บุคคลผู้มีสติอันลืมหลงแล้ว ผู้ไม่มีสัมปชัญญะ “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    10 “ เมื่อเจริญสติปัฏฐานเพื่อรักษาตน ก็เป็นการรักษาผู้อื่น : เมื่อเจริญสติปัฏฐานเพื่อรักษาผู้อื่นก็เป็นการรักษาตนด้วย “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    11 “ สมัยใด ภิกษุเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะซึ่งจิตอันตั้งมั่นแล้วอย่างนั้น เป็นอย่างดี, สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้น ปรารภแล้ว “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    12 “ ผู้รู้อรรถรู้ธรรมแห่งคาถาแม้เพียงสี่บท แล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม นั่นแหละควรจะเรียกว่า เป็น พหุสูตผู้ทรงธรรม “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    13 “ สมถะเมื่ออบรมแล้ว … จิตจะเจริญ. จิตเจริญแล้ว … จะ ละราคะได้. วิปัสสนาเมื่อเจริญแล้ว … ปัญญาจะเจริญ. ปัญญาเจริญแล้วจะ ละอวิชชาได้ “ ทุก.อํ ๒๐/๗๗/๒๕๗.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    14 “ เราขอกล่าวกะเธอ โดยประการที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติตามกัลยาณวัตรที่เราตั้งไว้แล้วนี้ เธอทั้งหลายอย่าเป็นบุรุษสุดท้ายของเราเลย “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    15 “ บุคคลผู้มีความเกียจคร้าน เกลื่อนกล่นไปด้วยธรรมที่เป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์, และย่อมทำประโยชน์ตนอันใหญ่หลวงให้เสื่อมสิ้น “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    16 “ ภิกษุผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว ย่อมอยู่เป็นสุข , สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นบาปอกุศลทั้งหลาย เป็นอยู่ด้วย , และย่อมทำประโยชน์ตนอันใหญ่หลวงให้บริบูรณ์ด้วย “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    17 “ พวกเธอทั้งหลาย พึงปรารภความเพียร เพื่อบรรลุธรรมที่ยังไม่ได้บรรลุ เพื่อเข้าถึงธรรมที่ยังไม่ได้เข้าถึง เพื่อทำให้แจ้งธรรมที่ยังไม่ได้ทำให้แจ้ง เถิด. “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    18 “ จงมาเถิด บุรุษผู้เป็นวิญญูชน ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา มีสัญชาติแห่งคนตรง, เราพร่ำสอนอยู่, แสดงธรรมอยู่, เธอปฏิบัติตามอยู่อย่างที่เราสอน ก็จักทำให้แจ้ง ซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ( คืออรหัตตผล ) อันไม่มีอะไรอื่นยิ่งไปกว่าได้ต่อการไม่นาน “ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    19 “ สิ่งใดไม่ใช่ของเธอ เธอจงละมันเสีย สิ่งเหล่านั้นอันเธอละเสียแล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่เธอ “<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    20 “ นั่น โคนไม้ ; นั่น เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส. อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. “ <o:p></o:p>
     
  8. ธัมมนัตา

    ธัมมนัตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,516
    ค่าพลัง:
    +9,769
    สายปฏิจจสมุปบาทฝ่ายเกิด
    (สมุทยทวาร)
    [FONT=Angsana New,Angsana New]อะวิชชาปัจจะยา สังขารา [/FONT]เพราะมีอวิชชา เป็นปัจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]สังขาระปัจจะยา วิญญาณัง [/FONT]เพราะมีสังขาร เป็นปัจจัย จึงมี วิญญาณ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]วิญญาณะปัจจะยา นามะรูปัง [/FONT]เพราะมีวิญญาณ เป็นปัจจัย จึงมี นามรูป;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]นามะรูปะปัจจะยา สะฬายะตะนัง [/FONT]เพราะมีนามรูป เป็นปัจจัย จึงมี สฬายตนะ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]สะฬายะตะนะปัจจะยา ผัสโส [/FONT]เพราะมีสฬายตนะ เป็นปัจจัย จึงมี ผัสสะ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]ผัสสะปัจจะยา เวทะนา [/FONT]เพราะมีผัสสะ เป็นปัจจัย จึงมี เวทนา;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]เวทะนาปัจจะยา ตัณหา [/FONT]เพราะมีเวทนา เป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]ตัณหาปัจจะยา อุปาทานัง [/FONT]เพราะมีตัณหา เป็นปัจจัย จึงมี อุปาทาน;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]อุปาทานะปัจจะยา ภะโว [/FONT]เพราะมีอุปาทาน เป็นปัจจัย จึงมี ภพ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]ภะวะปัจจะยา ชาติ [/FONT]เพราะมีภพ เป็นปัจจัย จึงมี ชาติ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา สัมภะวันติ
    [/FONT]เพราะมีชาติ เป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน :
    [FONT=Angsana New,Angsana New]เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ สะมุทะโย โหติ
    [/FONT]ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    [FONT=Angsana New,Angsana New]นิทาน. สํ๑๖๑๒๒
    [/FONT]กฏอิทัปปัจจยตา : หัวใจปฏิจจสมุปบาท.
    [FONT=Angsana New,Angsana New]อิมัส๎มิง สะติ อิทัง โหติ
    [/FONT]เมื่อสิ่งนี้ “มี” สิ่งนี้ ย่อมมี
    [FONT=Angsana New,Angsana New]อิมัสสุปปาทา อิทัง อุปปัชชะติ
    [/FONT]เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น.
    [FONT=Angsana New,Angsana New]อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ
    [/FONT]เมื่อสิ่งนี้ “ไม่มี” สิ่งนี้ ย่อมไม่มี
    [FONT=Angsana New,Angsana New]อิมัสสะ นิโรธา อิทัง นิรุชฌะติ
    [/FONT]เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป.
    [FONT=Angsana New,Angsana New]มม. ๑๓๓๕๕๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖๘๔๑๕๔
    [/FONT]ปฏิจจสมุปบาท แห่ง ความสิ้นสุดของโลก
    [FONT=Angsana New,Angsana New]นะติยา อะสะติ อาคะติคะติ นะ โหติ
    [/FONT]เมื่อความน้อมไป ไม่มี, การมาและการไป ย่อมไม่มี
    [FONT=Angsana New,Angsana New]อาคะติคะติยา อะสะติ จุตูปะปาโต นะ โหติ
    [/FONT]เมื่อการมาและการไป ไม่มี, การเคลื่อนและการเกิดขึ้น ย่อมไม่มี
    [FONT=Angsana New,Angsana New]จุตูปะปาเต อะสะติ เนวิธะ นะ หุรัง นะ อุภะยะมันตะเร
    [/FONT]เมื่อการเคลื่อนและการเกิดขึ้น ไม่มี, อะไรๆ ก็ไม่มีในโลกนี้
    ไม่มีในโลกอื่น ไม่มีในระหว่างแห่งโลกทั้งสอง
    [FONT=Angsana New,Angsana New]เอเสวันโต ทุกขัสสะ[/FONT]นั่นแหละ คือที่สุดแห่งทุกข์ละ.
    [FONT=Angsana New,Angsana New]อุทานขุ. ๒๕๒๐๘๑๖๑
    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]สายปฏิจจสมุปบาทฝ่ายดับ
    (นิโรธทวาร)
    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]อะวิชชายะ เต๎ววะ อะเสสะวิราคะนิโรธา สังขาระนิโรโธ
    [/FONT]เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว,
    จึงมีความดับแห่งสังขาร;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งสังขาร จึงมีความดับ แห่งวิญญาณ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]วิญญาณะนิโรธา นามะรูปะนิโรโธ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งวิญญาณ จึงมีความดับ แห่งนามรูป;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งนามรูป จึงมีความดับ แห่งสฬายตนะ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งสฬายตนะ จึงมีความดับ แห่งผัสสะ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]ผัสสะนิโรธา เวทะนานิโรโธ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]เวทะนานิโรธา ตัณหานิโรโธ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งเวทนา จึงมีความดับ แห่งตัณหา;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]ตัณหานิโรธา อุปาทานะนิโรโธ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งตัณหา จึงมีความดับ แห่งอุปาทาน;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งอุปาทาน จึงมีความดับ แห่งภพ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งภพ จึงมีความดับ แห่งชาติ;
    [FONT=Angsana New,Angsana New]ชาตินิโรธา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา นิรุชฌันติ ฯ
    [/FONT]เพราะมีความดับ แห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ
    ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น :
    [FONT=Angsana New,Angsana New]เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ นิโรโธ โหติ
    [/FONT]ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้, ดังนี้.
    [FONT=Angsana New,Angsana New]นิทาน. สํ๑๖๒๓
    [/FONT]สิ้นนันทิ สิ้นราคะ
    [FONT=Angsana New,Angsana New]สัมมา ปัสสัง นิพพินทะติ
    [/FONT]เมื่อเห็นอยู่โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย
    [FONT=Angsana New,Angsana New]นันทิกขะยา ราคักขะโย
    [/FONT]เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ จึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ
    [FONT=Angsana New,Angsana New]ราคักขะยา นันทิกขะโย
    [/FONT]เพราะความสิ้นไปแห่งราคะ จึงมีความสิ้นไปแห่งนันทิ
    [FONT=Angsana New,Angsana New]นันทิราคักขะยา จิตตัง สุวิมุตตันติ วุจจะติ
    [/FONT]เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิและราคะ กล่าวได้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี” ดังนี้.
    [FONT=Angsana New,Angsana New]สฬาสํ. ๑๘๑๗๙๒๔๕๖

    from
    [/FONT]
    วัดนาป่าพง
     
  9. 파사라

    파사라 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มกราคม 2010
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +35
    อนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ
     
  10. dangcarry

    dangcarry เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,396
    ค่าพลัง:
    +4,305
    อนุโมทนา สาธุ
     
  11. chakritt

    chakritt Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2010
    โพสต์:
    78
    ค่าพลัง:
    +33
    อนุโมทนาครับ สาธุ<!-- google_ad_section_end -->
     
  12. shane9

    shane9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    116
    ค่าพลัง:
    +258
    ขออนุโมทนาสาธุด้วยครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...