♣ เมฆเกลียวคลื่น ... ที่รัสเซีย ♣

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย สันโดษ, 11 กรกฎาคม 2010.

  1. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 กรกฎาคม 2010
  2. emaN resU

    emaN resU เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    2,946
    ค่าพลัง:
    +3,301
    ไม่มี User manual หน่อยเหรอจ๊ะ... "มะแม"
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 11 กรกฎาคม 2010
  3. Jurassic_Park

    Jurassic_Park เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    61
    ค่าพลัง:
    +288
    เดี๋ยวนี้โลกเรามันมีอะไรแปลกๆ ไม่รู้ว่าเมฆแบบนี้ จะเกิดมาจากเครื่อง Haarp รึเปล่า
     
  4. เด็กสร้างบ้าน

    เด็กสร้างบ้าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,195
    ค่าพลัง:
    +538
    เกินจากอะไรครับ หรือเกิดจาก ความกดอากาศและความชื้นในอากาศ
     
  5. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    รู้จัก Roll Cloud เมฆม้วนกลิ้งสุดอัศจรรย์

    เชื่อว่าใครที่ได้เห็นเมฆชนิดนี้เป็นครั้งแรก คงจะรู้สึกทึ่งในรูปแบบและมีคำถามในใจมากมายลองมาทำความรู้จักกันหน่อยครับ

    เมฆสุดพิสดารชนิดนี้เรียกว่า Roll cloud ซึ่งผมขอแปลเล่นๆ ไว้ก่อนกว่า เมฆม้วนกลิ้ง

    (ใจจริงอยากเรียกว่า 'เมฆปอเปี๊ยะ' ด้วยซ้ำ)

    ข้อมูลจากหนังสือ [ame="http://www.amazon.co.uk/Extraordinary-Clouds-Unexpected-Bizarre-Beautiful/dp/0715332813"]Extraordinary Clouds[/ame] เขียนโดย Richard Hamblyn หน้า 47 ระบุว่า

    "A roll cloud is a horizontal tubular formation that forms in the cold downdraughts that spread out ahead of an approaching storm (or, less commonly, at the tail end of a decaying storm.) The rapidly sinking air mass can hit the surface so hard that it sends a wave of air gusting some distance away from the storm cloud itself. This cloud flowing air will then slide underneath a layer of warmer air being drawn into the storm's vertically updraught, and as it does so it condenses the warm air's vapour into cloud. The resulting roll clouds is completely detached from the main storm cloud and can often be several kilometres long, as is the case with this impressive example seen heading inland over Shark Bay, Western Australia."

    [​IMG]

    Roll Cloud over Western Australia

    [ที่มาของภาพ]

    เนื่องจากข้อมูลข้างต้นมีประเด็นซับซ้อน ผมจึงขอถอดความและแตกเป็นประเด็นย่อยๆ ตามลำดับดังนี้ครับ

    • เมฆม้วนกลิ้ง (roll cloud) มีรูปร่างทรงกระบอกซึ่งวางตัวตามแนวนอน
    • เมฆชนิดนี้เกิดจากกระแสอากาศเย็นที่พุ่งลงพื้น (cold downdraughts) โดยกระแสอากาศนี้กระจายออกจากทางด้านหน้าของพายุที่กำลังรุกเข้ามา (หรือบางทีก็กระจายออกจากทางด้านหลังของพายุที่กำลังสลายตัว แต่กรณีนี้เกิดน้อยกว่า)
    • กระแสอากาศเย็นดังกล่างพุ่งลงกระแทกพื้นอย่างแรง (เพราะมีความเร็วสูง) ทำให้อากาศบริเวณผิวกลายเป็นคลื่นกระโชกและเคลื่อนที่พุ่งแซงล้ำหน้าเมฆที่ ทำให้เกิดพายุ
    • คลื่นกระโชกนี้จะไหลผ่านใต้ชั้นของอากาศที่อุ่นกว่า (warmer air) ที่กำลังถูกดูดเข้าไปในกระแสอากาศที่พุ่งสูงขึ้น (vertically updraught)
    • ผลก็คือ คลื่นกระโชก (ซึ่งเย็น) จะทำให้ไอน้ำที่อยู่ในชั้นอากาศอุ่นเกิดการกลั่นตัวกลายเป็นหยดน้ำเล็กๆ จำนวนมาก ซึ่งเมื่อมองภาพรวมก็คือ เมฆ
    • เมฆที่เกิดขึ้นมีรูปร่างเป็นม้วนกลิ้ง (roll) และ "หลุด" (detached) ออกจากเมฆที่ทำให้เกิดพายุ
    • เมฆม้วนนี้มักจะยาวหลายกิโลเมตร ดังตัวอย่างที่แสดงในภาพ (ข่างล่าง) โดยเมฆม้วนกลิ้งเข้าหาชายฝั่งในบริเวณชาร์คเบย์ (Shark Bay) ทางฝั่งตะวันตกของออสเตรเลีย
    [​IMG]

    Roll Cloud Formation on Cumulonimbus
    [ที่มาของภาพ]

    ผมลองไปเปิดหนังสือเล่มเล็ก The Cloud Collector's Handbookพบว่า เมฆม้วนกลิ้ง (roll cloud) อยู่ในหน้า 66-67 โดยมีข้อมูลน่าสนใจเพิ่มเติมดังนี้

    • เมฆม้วนกลิ้งอาจเคลื่อนที่ได้เร็วมากถึง 35 ไมล์/ชั่วโมง (56 กิโลเมตร/ชั่วโมง)
    • ในขณะที่เมฆชนิดนี้เคลื่อนที่ไป จะดูเหมือนผิวเมฆกลิ้งไปด้วย แต่การกลิ้งนี้มีทิศทางการหมุนตรงกันข้ามกับล้อของรถยนต์ (กล่าวคือ หากเรามองด้านข้างของเมฆซึ่งกำลังเคลื่อนไปทางซ้าย จะเห็นผิวเมฆหมุนตามเข็ม ซึ่งดูขัดกับความเคยชินหากเทียบกับการหมุนของล้อรถ)

    --------------------------------------------------------------------------------------
    Roll Cloud at South Oliphant, Ontario - 5/27/2007
    <object data="http://www.youtube.com/v/hKI2Atj08Xk" type="application/x-shockwave-flash" width="636" height="391"></object>

    --------------------------------------------------------------------------------------

    ในเว็บของ The Cloud Appreciation Society ก็มีตัวอย่างของเมฆชนิดนี้ และระบุว่า เดิมทีเคยเชื่อกันว่า เมฆชนิดนี้เกิดเฉพาะที่ออสเตรเลียเท่านั้น โดยที่ออสเตรเลียเรียกว่า Morning Glory แต่ต่อมาพบว่า เมฆชนิดนี้เกิดได้หลายแห่ง เช่นที่สวีเดน ดังในภาพต่อไปนี้


    ที่มา: บัญชา ธนบุญสมบัติ - ชายผู้หลงรักมวลเมฆ - 253 : รู้จัก Roll Cloud เมฆม้วนกลิ้งสุดอัศจรรย์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 กรกฎาคม 2010
  6. 1stdec

    1stdec เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2010
    โพสต์:
    54
    ค่าพลัง:
    +112
    แปลกดีค่ะ ไม่เคยเห็น

    ขอบคุณ คุณสันโดษ ที่เอาข้อมูลใหม่ๆมาให้อ่านนะคะ
     
  7. tar2199

    tar2199 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    207
    ค่าพลัง:
    +565
    สวยจังเลยยยยยยยยยยยย
     
  8. jowpoy

    jowpoy เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    326
    ค่าพลัง:
    +758
    สวยแบบสยอง ถ้าเกิดที่ไทยน่ะ มีหวัง ตั่งโต๊ะบูชากันเป็นแถวๆ
     
  9. ucon888

    ucon888 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2009
    โพสต์:
    300
    ค่าพลัง:
    +993
    สวยปนลึกลับ แบบผู้หญิง
     
  10. จิ-โป

    จิ-โป เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,006
    ค่าพลัง:
    +2,196
    เอ..รูปที่ 5 ถ่ายติดอะไรมาด้วย จะว่าเครื่องบินก็คงไม่ใช่
    จะว่าจานบินมันก็ไม่เหมือนจาน เอแปลกดีคับ
     
  11. tar2199

    tar2199 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    207
    ค่าพลัง:
    +565
    เพิ่งสังเกตุเหมือนกันครับมีจริงๆ ด้วย :cool:
     
  12. มาพบพระ

    มาพบพระ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    643
    ค่าพลัง:
    +1,973
    เห็นเหมือนกันแฮะ หะแรกนึกว่างเครื่องร่อนเสียอีก
     
  13. Luthiien

    Luthiien เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    99
    ค่าพลัง:
    +215
    สวยมาก.... อยากเห็นที่ไทยจังเลย
     
  14. destiny_nick

    destiny_nick Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2007
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +69
    สวยดีค่ะ เหมือนถนนเมฆเลย
     

แชร์หน้านี้

Loading...