War room พิเศษ...เฝ้าระวังระดับ 2 นราธิวาส ปัตตานี...ฝนตกต่อเนื่อง [ Update ที่หน้าแรก ]

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ZZ, 15 ธันวาคม 2012.

  1. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    [ Update 26 ธันวาคม 2555 ]




    [ Update 25 ธันวาคม 2555 ]




    [ Update 25 ธันวาคม 2555 ]


    เรียนท่านสมาชิก

    ข้าพเจ้าตัดสินใจลบกระทู้นี้ (หมายถึงกระทู้ Youtube พระอาจารย์รัตน์ วันที่ 24 ธันวาคม 2555 เวลา 19.15 น.) ในอีก 1 ชั่วโมงข้างหน้า

    เนื่องจากมีความเข้าใจเจตนาพระอาจารย์เป็นอย่างอื่น...นอกเหนือจากการเตือนภัย (กลายเป็นการขายสินค้า) อีกทั้งภาระกิจในการเตือนภัยของพระอาจารย์ได้จบลงแล้ว

    ดังนั้น...จึงแจ้งมายังท่านสมาชิกเพื่อรับทราบ

    ขอบคุณครับ

    ปล.การเฝ้าระวังภัยพิบัติชนิดต่างๆภายใน War room ยังคงดำเนินไปตามปกติ...ครับ





    [ Update 24 ธันวาคม 2555 ]


    ด่วน

    นราธิวาส ปัตตานี...ฝนตกต่อเนื่อง

    ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงริมน้ำ...ให้เฝ้าระวังและเตรียมอพยพขึ้นที่สูง....ครับ





    สาเหตุของการเฝ้าระวัง

    ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา

    "อากาศหนาวเย็นบริเวณประเทศไทยตอนบน และฝนตกหนัก คลื่นลมแรง บริเวณภาคใต้"
    ฉบับที่ 13 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2555

    บริเวณความกดอากาศสูงกำลังแรงจากประเทศจีนยังคงปกคลุมประเทศไทยตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทำให้มีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปกับมีลมแรง โดยจะมีอุณหภูมิ ต่ำกว่า 16 องศาเซลเซียส ในหลายพื้นที่ ของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนบริเวณภูเขาสูงจะมีอากาศหนาวจัด และมีน้ำค้างแข็งบางแห่งตามยอดดอยในภาคเหนือ ขอให้ประชาชนบริเวณดังกล่าวดูแลรักษาสุขภาพเนื่องจากอากาศที่หนาวเย็นลงในระยะนี้

    สำหรับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้มีกำลังแรง ทำให้ภาคใต้มีฝนหนาแน่น และมีฝนตกหนักบางแห่ง ขอให้ประชาชนบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ระวังอันตรายจากฝนตกหนักในช่วงวันที่ 24-25 ธันวาคม 2555 ส่วนคลื่นลมบริเวณอ่าวไทยมีกำลังแรง ขอให้ประชาชนบริเวณชายฝั่งระวังอันตรายจากคลื่นสูงและลมแรงที่พัดเข้าหาฝั่ง และชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ โดยเรือเล็กบริเวณอ่าวไทยตอนล่างตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไปควรงดออกจากฝั่งในช่วงเวลาดังกล่าวไว้ด้วย

    อนึ่ง ในช่วงเทศกาลปีใหม่(28 ธ.ค.-2 ม.ค.) บริเวณความกดอากาศสูงกำลังแรงอีกระลอกหนึ่งจากประเทศจีนจะแผ่เสริมลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทำให้ประเทศไทยตอนบนมีอากาศหนาวเย็นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะบริเวณภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จะมีอากาศหนาวจัดได้บางพื้นที่

    ประกาศ ณ วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2555 เวลา 16.30 น.​




    เฝ้าระวังแผ่นดินไหว








    [ Update 23 ธันวาคม 2555 ]





    [ Update 17 ธันวาคม 2555 ]


    สาเหตุของการเฝ้าระวัง

    อินโดเนเซียมีประวัติแผ่นดินไหวเร็วๆนี้ (11 ธ.ค. 2555) ขนาด 7.1 ริคเตอร์

    แผ่นดินไหวอินโดนีเซีย 7.1 ริคเตอร์ไม่มีสึนามิ | เดลินิวส์

    [​IMG]

    เกิดแผ่นดินไหวรุนแรง 7.1 ริคเตอร์ ทางตะวันออกของหมู่เกาะมาลูกู ประเทศอินโดนีเซีย แต่ไม่มีประกาศเตือนภัยสึนามิ

    วันที่ 11 ธ.ค. 2555 สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียว่า สำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐ แจ้งเหตุแผ่นดินไหวรุนแรงวัดได้ 7.1 ริคเตอร์ เมื่อเวลา 23.53 น.ของวันจันทร์ที่ 10 ธ.ค.ตามเวลาท้องถิ่น โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ลึกลงไป 157 กม. และ ห่างออกมา 365 กม.ทางทิศใต้ถึงตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองอัมบอน บนเกาะหมู่เกาะมาลูกู ทางสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐได้ลดระดับแรงสั่นสะเทือนจากรายงานเบื้องต้น 7.2 ริคเตอร์ลงมาเหลือ 7.1 ริคเตอร์ ขณะที่ศูนย์เตือนภัยสึนามิแห่งแปซิฟิก ไม่ได้แจ้งเตือนภัยเรื่องคลื่นยักษ์สึนามิแต่อย่างใด

    ด้านสำนักงานตรวจวัดแผ่นดินไหวอินโดนีเซีย รายงานว่า วัดแรงสั่นสะเทือนได้ 7.4 ริคเตอร์ แต่ไม่ได้ก่อให้เกิดคลื่นยักษ์สึนามิ เพราะจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ลึกลงไปมากในทะเลบันดา และเบื้องต้นก็ยังไม่ได้รับรายงานความเสียหายใดๆ

    ทั้งนี้ อินโดนีเซีย เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตวงแหวนไฟรอบมหาสมุทรแปซิฟิก เขตรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกมาบรรจบกัน จึงเกิดแผ่นดินไหวขึ้นบ่อยครั้ง ซึ่งครั้งที่รุนแรงที่สุด วัดได้ 9.3 ริคเตอร์ นอกชายฝั่งเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย เกิดคลื่นสึนามิพัดถล่มหลายประเทศ มีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 ศพ





    [ Update 17 ธันวาคม 2555 ]

    M6.1 - 119km ENE of Luwuk, Indonesia วงกลมสีฟ้า
    2012-12-17 09:16:28 UTC

    Event Time

    2012-12-17 09:16:28 UTC
    2012-12-17 17:16:28 UTC+08:00 at epicenter
    2012-12-17 16:16:28 UTC+07:00 system time

    Location

    0.709°S 123.837°E depth=18.5km (11.5mi)

    Nearby Cities

    119km (74mi) ENE of Luwuk, Indonesia
    163km (101mi) SSE of Gorontalo, Indonesia
    251km (156mi) SSW of Tomohon, Indonesia
    252km (157mi) SSW of Tondano, Indonesia
    889km (552mi) NNW of Dili, East Timor

    Related Links

    Additional earthquake information for Indonesia
    View location in Google Maps

    [​IMG]

    [​IMG]


    [ ข้อมูลเดิม ]

    ภาระกิจ War room

    - แจ้งเตือนภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น...โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี 2012-2013
    - หากเกิดภัยพิบัติร้ายแรง จะมีการแจ้งเตือนผ่านทางกระทู้ในเวบบอร์ด (ระดับเฝ้าระวัง) และช่องทางอื่นๆ เช่น Facebook ,SMS, การโทรแจ้งลูกข่ายโดยตรง เป็นต้น
    - หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่ม มีหน้าที่ส่งข่าวสารไปยังลูกข่ายด้วยวิธีการข้างต้น และติดตามผลว่า...สามารถติดต่อลูกข่ายได้สำเร็จหรือไม่
    - หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่ม อาจต้องเป็นที่ปรึกษาลูกข่ายหรือสมาชิกกลุ่ม ช่วยกันตัดสินใจ...กรณีระบบการสื่อสารล้มเหลว ไม่สามารถ Online เข้าเว็บพลังจิต/Facebook ได้

    ระดับการแจ้งเตือนมี 5 ระดับ...ตามความรุนแรง

    ระดับ 1 เฝ้าระวังภัยพิบัติ
    ระดับ 2 เกิดภัยพิบัติแล้วในช่วงเริ่มต้น / ยังเฝ้าระวังต่อไป
    ระดับ 3 ภัยพิบัติก่อความเสียหาย วงจำกัด / ขนาดเล็ก / ระบบสาธารณูปโภคทำงานปกติ / ไม่ต้องอพยพ
    ระดับ 4 ภัยพิบัติก่อความเสียหาย ขนาดใหญ่ แต่ระบบสาธารณูปโภคยังทำงาน / อพยพเฉพาะพื้นที่ที่เสียหาย เช่น ขนย้ายสิ่งของหนีน้ำท่วม (ในพื้นที่น้ำท่วมเท่านั้น)
    ระดับ 5 ภัยพิบัติก่อความเสียหาย ร้ายแรง / ระบบล้มเหลว / อพยพ

    ระดับ 6 .... ตัวใครตัวมัน (ติดต่อกันไม่ได้แล้ว)

    ช่องทางการรับข่าวสารจาก War room

    - เว็บพลังจิต ห้องภัยพิบัติและการเตรียมการ
    - War Room Falkman Facebook

    War Room Falkman | Facebook

    - SMS, โทรศัพท์พื้นฐาน (ตามที่ท่านได้รับแจ้งทาง PM)

    สรุปข้อมูลการเฝ้าระวังปี 2012

    1. พระอาจารย์รัตน์ เตือนให้ระวังอิธิพลของแกลแลคซี่ทั้ง 3 ที่ส่งผลต่อระบบสุริยะและโลก

    - ระบบสุริยะ โคจรรอบแกลแลคซี่ทางช้างเผือกครบ 1 รอบใช้เวลา 26,000 ปี
    - 13,000 ปี ระบบสุริยะและโลกตกอยู่ใต้อิธิพลของแกลแลคซี่แอนโดรเมดา (แก้ไข)
    - 13,000 ปีต่อมา ระบบสุริยะและโลกตกอยู่ใต้อิธิพลของแกลแลคซี่ไตรแองกุลั่ม (แก้ไข)
    และวนไปมาอย่างนี้ ตามที่ปรากฎในวงรอบ...ของปฏิทินมายัน
    - การตกอยู่ใต้อิธิพลของแกลแลคซี่ใด ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและจิตใจ กับโลกและประชากรบนโลก
    - วันที่ควรเฝ้าระวัง ตั้งแต่ 17 ธันวาคม 2555 จนถึง 3 มกราคม 2556
    และ 3 มกราคม 2556 จนถึง 14 กุมภาพันธ์ 2556

    - สิ่งที่ควรเฝ้าระวังผลกระทบจากอิธิพลของแกลแลคซี่ทั้ง 3 คือ

    1.1 แกนโลกพลิก (Pole Shift)
    1.2 แผ่นดินไหว แผ่นดินทรุดตัว
    1.3 คลื่นซึนามิ
    1.4 สภาวะอากาศแปรปรวน โดยเฉพาะฝนตกหนัก และเกิดน้ำท่วมหนัก (แก้ไข)

    2. เฝ้าระวัง Galactic Superwave

    - ดาวเทียมได้ตรวจจับรังสีคอสมิคจากแกนกลางแกลแลคซี่ทางช้างเผือก
    - พบว่าสนามแม่เหล็ก Heliopause ของดวงอาทิตย์เกิดการหดตัว และ ทำให้ส่วน Bow shock ขยายตัวขี้น
    - พบว่า Heliopause ของดวงอาทิตย์ได้ลดขนาดลงจนถึงดาวพฤหัส เมื่อหมื่นกว่าปีที่แล้ว
    - Galactic Superwave อาจส่งผลต่อดวงอาทิตย์ และอาจเกิดปฏิกริยารุนแรง และเกิด CME รุนแรง
    - วันที่ควรเฝ้าระวัง ตั้งแต่ 18 ธันวาคม 2555 เป็นต้นไป (และ 23 ธันวาคม 2555)

    - สิ่งที่ควรเฝ้าระวังผลกระทบจาก Galactic Superwave และ CME จากดวงอาทิตย์ คือ

    2.1 สภาวะอากาศแปรปรวน เนื่องจาก Electro-magnetic
    2.2 ระบการสื่อสารขัดข้อง เนื่องจาก Electro-magnetic
    2.3 การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก (สนามแม่เหล็กโลก/โลหะหลอมเหลวที่แกนโลก ถูกกระตุ้นจากภายนอกโลก)
    2.4 ระบบนำร่องถูกรบกวน

    คำแนะนำเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติระดับรุนแรง

    - ก่อนเกิดเหตุภัยพิบัติ อาจมีฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน หรือมีแผ่นดินไหวรุนแรง แผ่นดินยุบตัวรุนแรง น้ำท่วมในพื้นที่ลุ่มภาคกลาง
    - ให้อพยพจากพื้นที่เสี่ยงภัย ไปยังพื้นที่ปลอดภัย หรือพื้นที่สูง เช่น ภาคอีสานเป็นที่ราบสูง , ภาคเหนือ
    - ศึกษาเส้นทางอพยพก่อนเกิดเหตุ และต้องมีเส้นทางสำรอง
    - ไม่ใช้เส้นทางที่มีรถติดหนาแน่น หากเกิดอุบัติเหตุอาจไม่สามารถอพยพต่อได้
    - ศูนย์อพยพอาจมีหลายแห่ง เช่นเดียวกับที่เคยมีเมื่อครั้งน้ำท่วมปี 2554 ก็ให้ท่านเลือกสถานที่ที่ปลอดภัยจากน้ำท่วม และแผ่นดินไหว

    - กลุ่ม War room ไม่ได้มีพื้นที่หลบภัยใดๆเป็นพิเศษ นอกจากอพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย เพราะภัยธรรมชาติอาจไม่ได้เกิดเฉพาะพื้นที่ภาคกลางเท่านั้น



    ทั้งหมดนี้...ไม่ยืนยันว่า...จะเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงใดๆหรือไม่...แต่เป็นการสรุปภาพรวมให้เห็นอย่างง่ายๆ...เพื่อเฝ้าระวังในกลุ่ม War room และสมาชิกเวบ...เท่านั้น

    หากไม่เกิดเหตุร้ายใดๆก็จะเป็นการดี...ที่เราจะได้ใช้ชีวิตอย่างปกติสุข

    หากเกิดเหตุร้ายบางอย่าง...อย่างน้อยก็ยังมี War room เฝ้าระวัง และติดตามสถานะการณ์อย่างใกล้ชิด

    จึงขอให้สมาชิก War room และสมาชิกเวบ...ได้ช่วยกันเฝ้าระวังเหตุ...ด้วยความไม่ประมาท...นะครับ




    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • EQ000.jpg
      EQ000.jpg
      ขนาดไฟล์:
      122 KB
      เปิดดู:
      1,393
    • EQ002.jpg
      EQ002.jpg
      ขนาดไฟล์:
      195.9 KB
      เปิดดู:
      1,396
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2012
  2. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    ท่านสามารถช่วยกันเฝ้าระวังเหตุทั่วโลก...ได้ที่

    RSOE - Emergency and Disaster Information Service ... Update อัตโนมัติ


    http://hisz.rsoe.hu/alertmap/index2.php


    ตัวอย่างภาพจาก RSOE

    [​IMG]

    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • x000.jpg
      x000.jpg
      ขนาดไฟล์:
      104.6 KB
      เปิดดู:
      1,975
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ธันวาคม 2012
  3. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    แผนที่แสดงแผ่นดินไหว Realtime จาก USGS ... Update อัตโนมัติ

    http://earthquake.usgs.gov/earthquakes/map/


    ภาพตัวอย่างแผนที่จากเวบ USGS (มีตารางแสดงรายละเอียด)

    [​IMG]


    ..
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • x001.jpg
      x001.jpg
      ขนาดไฟล์:
      71.2 KB
      เปิดดู:
      1,918
    • Drawing1-2.png
      Drawing1-2.png
      ขนาดไฟล์:
      925.6 KB
      เปิดดู:
      1,980
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2012
  4. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    ข้อมูลเก่าปี 2547 (และคิดว่า...ควรเป็นพื้นที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษ)


    แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นแผ่นดินไหวใต้ทะเลซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเวลา 07:58:50 ของวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ตามเวลาในประเทศไทย (หรือเวลา 00:58:50 UTC) มีศูนย์กลางอยู่ในมหาสมุทรอินเดียบริเวณด้านตะวันตกของหัวเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย แรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว ทำให้พื้นที่บริเวณเกาะสุมาตราได้รับความเสียหาย

    แผ่นดินไหวเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกใต้มหาสมุทรอินเดีย กระตุ้นให้เกิดคลื่นสึนามิสูงราว 30 เมตร[1] เข้าท่วมทำลายบ้านเรือนตามแนวชายฝั่งโดยรอบมหาสมุทรอินเดีย ประมาณการว่ามีผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวครั้งนี้ใน 14 ประเทศมากกว่า 230,000 คน นับเป็นหนึ่งในภัยพิบัติทางธรรมชาติครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ประเทศที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย รองลงมาคือประเทศศรีลังกา ประเทศอินเดีย และประเทศไทย ตามลำดับ

    ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ระหว่าง 9.1 ถึง 9.3 โมเมนต์แมกนิจูด ทำให้แผ่นดินไหวครั้งนี้นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สามตามที่เคยวัดได้จากเครื่องวัดแผ่นดินไหว (Seismometer) นอกจากนี้ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีคาบเวลายาวนานที่สุด โดยการสังเกตคาบเวลาอยู่ที่ประมาณ 8.3 ถึง 10 นาที ส่งผลให้แผ่นดินทั่วทั้งผืนโลกเคลื่อนตัวไปถึง 1 เซนติเมตร [2] และยังเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอื่นๆของโลกอีกด้วย [3]

    [​IMG]

    [​IMG]

    ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2012
  5. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    Update เวบเฝ้าระวังภัยอีกแห่ง... เว็บภัยพิบัติ Paipibat.com

    http://paipibat.com/





    ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ธันวาคม 2012
  6. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    Facebook ดร.ก้องภพ

    http://www.facebook.com/KongpopUyen?ref=stream


    [ Update 23 ธันวาคม 2555 ]

    ติดตาม...สถานะการณ์ความแปรปรวนในอวกาศ


    เรามาติดตามการเปลี่ยนแปลงนอกโลกกันต่อครับ หลังจากที่ดวงอาทิตย์มีปฏิกริยาลดลงในระดับต่ำกว่าปกติในสัปดาห์ที่ผ่านมา

    โดยในวันที่ 20-21 ธันวาคม เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์อีกครั้งซึ่งในคราวนี้มีแสงปรากฏให้เห็นได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นกว่าในสัปดาห์ที่ผ่านมา จึงมีการคำนวณคาดการณ์มุมและเวลาที่พลังงานแพร่กระจายออกมา จากโมเดลพบว่าพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 24 ธันวาคม เวลา 0 UT +/- 7 ชั่วโมง ท่านผู้สนใจสามารถติดตามสภานการณ์ต่างๆได้จนถึงวันที่ 25 ธันวาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมจากเหตุการณ์ครั้งนี้

    ปฏิกริยาดวงอาทิตย์มุมมองจากโลก (วันที่ 20)
    http://spaceweather.com/images2012/21dec12/farsideclouds.gif?PHPSESSID=j4rnfn4g1sk0e5hi1djrvv2l03

    วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างโดยโลกอยู่ทางซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2012/12/20/ahead_20121220_cor2_512.mpg

    โมเดลจำลองเหตุการณ์ครั้งนี้ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=484158194




    ตัวอย่างงานวิจัย

    ตัวอย่างงานวิจัยเกี่ยวกับว่าความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกริยาดวงอาทิตย์และแผ่นดินไหวบนโลก พบว่ามีความสันพันธ์ทั้งในระยะสั้นรายวัน และ ในระยะคาบ 11 ปี โดยเฉพาะความถี่ของแผ่นดินไหวจะมากกว่าปกติเมื่อพบความเปลี่ยนแปลงของความเร็วลมสุริยะอย่างฉับพลัน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของลมสุริยะอย่างฉับพลันนั้นมีสาเหตุหนึ่งมาจากพายุสุริยะ นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่สนับสนุนสมมติฐานนี้อีกมากมาย ซึ่งผู้สนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ครับ

    http://link.springer.com/article/10.3103/S1062873807040466?LI=true

    ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 ธันวาคม 2012
  7. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2012
  8. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    Real-time Magnetosphere

    http://pixie.spasci.com/DynMod/

    แทดแทนเวบ nict

    เนื่องจากเวบ http://www.nict.go.jp/en/terminated-web-service.html เดิมได้ Offline ครับ

    [​IMG]


    Welcome!!

    This web page displays dynamic modeling of the Earth's bow shock and magnetopause.

    Real time data from the ACE spacecraft (top two panels) are used to predict the shape and location of these boundaries at the present time and into the near future (The time is Universal Time as measured at Greenwich, England. Click here for information on conversions to local time).

    In the figure to the right, the Earth is in the center, and is illuminated from the left by the Sun (not shown). In this view, we are looking down upon the North pole; thus the figure represents the equatorial plane. The solar wind emanating from the Sun is super-magnetosonic with respect to the Earth, so that a shock wave is formed. As the solar wind flows through the shock it is slowed down, and the pressure of the solar wind is balanced by the pressure from the Earth's magnetic field. The boundary at which this pressure balance is achieved is called the magnetopause.

    The ACE spacecraft monitors the solar wind from a position about 200 Earth radii (RE) sunward of the Earth. The real time solar wind data from this spacecraft allows us to predict what will happen at the Earth many minutes before the solar wind actually reaches us. Important solar wind values obtained from the ACE observations include the z-component of the interplanetary magnetic field (Bz) measured in units of nano-Tesla, and the dynamic pressure (also called the momentum flux) of the solar wind, measured in units of nano-Pascal.

    Geosynchronous orbit (where many weather and communication satellites orbit) is depicted by the green dashed circle.

    Here are all the gory details.

    This movie is updated every five minutes 
    (unless there is an extended data gap in the ACE observations).

    Click here to create movies for past intervals.


    ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2012
  9. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    Dynamic ACE RTSW Plots

    http://www.swpc.noaa.gov/ace/ace_rtsw_data.html

    http://www.swpc.noaa.gov/ace/EPAMp_2h.html


    [​IMG]



    Estimated Planetary K-index graph

    http://www.swpc.noaa.gov/rt_plots/kp_3d.html

    [​IMG]



    Clip เกี่ยวกับ Solarstorm Tracking

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/896wj9cxT50?feature=player_embedded" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    อัปโหลดเมื่อ 19 ส.ค. 2011

    For the first time, a spacecraft far from Earth has turned and watched a solar storm engulf our planet. The movie, released 08.18.2011 during a NASA press conference, has galvanized solar physicists, who say it could lead to important advances in space weather forecasting.

    http://www.nasa.gov/mission_pages/stereo/news/solarstorm-tracking.html

    http://svs.gsfc.nasa.gov/vis/a010000/a010800/a010809/index.html

    "The movie sent chills down my spine," says Craig DeForest of the Southwest Researcher Institute in Boulder, Colorado. "It shows a CME swelling into an enormous wall of plasma and then washing over the tiny blue speck of Earth where we live. I felt very small."
    CMEs are billion-ton clouds of solar plasma launched by the same explosions that spark solar flares. When they sweep past our planet, they can cause auroras, radiation storms, and in extreme cases power outages. Tracking these clouds and predicting their arrival is an important part of space weather forecasting.

    Still from video of the orbital positions and fields of view of the STEREO
    When CMEs first leave the sun, they are bright and easy to see. Visibility is quickly reduced, however, as the clouds expand into the void. By the time a typical CME crosses the orbit of Venus, it is a billion times fainter than the surface of the full Moon, and more than a thousand times fainter than the Milky Way. CMEs that reach Earth are almost as gossamer as vacuum itself and correspondingly transparent.

    "Pulling these faint clouds out of the confusion of starlight and interplanetary dust has been an enormous challenge," says DeForest.

    Indeed, it took almost three years for his team to learn how to do it. Footage of the storm released today was recorded back in December 2008, and they have been working on it ever since. Now that the technique has been perfected, it can be applied on a regular basis without such a long delay.

    Alysha Reinard of NOAA's Space Weather Prediction Center explains the benefits for space weather forecasting:

    "Until quite recently, spacecraft could see CMEs only when they were still quite close to the sun. By calculating a CME's speed during this brief period, we were able to estimate when it would reach Earth. After the first few hours, however, the CME would leave this field of view and after that we were 'in the dark' about its progress."

    "The ability to track a cloud continuously from the Sun to Earth is a big improvement," she continues. "In the past, our very best predictions of CME arrival times had uncertainties of plus or minus 4 hours," she continues. "The kind of movies we've seen today could significantly reduce the error bars."

    The movies pinpoint not only the arrival time of the CME, but also its mass. From the brightness of the cloud, researchers can calculate the gas density with impressive precision. Their results for the Dec. 2008 event agreed with actual in situ measurements at the few percent level. When this technique is applied to future storms, forecasters will be able to estimate its impact with greater confidence.

    At the press conference, DeForest pointed out some of the movie's highlights: When the CME first left the sun, it was cavernous, with walls of magnetism encircling a cloud of low-density gas. As the CME crossed the Sun-Earth divide, however, its shape changed. The CME "snow-plowed" through the solar wind, scooping up material to form a towering wall of plasma. By the time the CME reached Earth, its forward wall was sagging inward under the weight of accumulated gas.

    The kind of magnetic transformations revealed by the movie deeply impressed Guhathakurta: "I have always thought that in heliophysics understanding the magnetic field is equivalent to the 'dark energy' problem of astrophysics. Often, we cannot see the magnetic field, yet it orchestrates almost everything. These images from STEREO give us a real sense of what the underlying magnetic field is doing."

    All of the speakers at today's press event stressed that the images go beyond the understanding of a single event. The inner physics of CMEs have been laid bare for the first time -- a development that will profoundly shape theoretical models and computer-generated forecasts of CMEs for many years to come.

    "This is what the STEREO mission was launched to do," concludes Guhathakurta, "and it is terrific to see it live up to that promise."

    Credit: NASA Goddard Space Flight Center Scientific Visualization Studio

    music: Apocalypse 2012 artist: starman65


    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/a1yTR_gOjPo?feature=player_embedded" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    อัปโหลดเมื่อ 25 ม.ค. 2012

    SAME Magnetic Polarity in alignment would cause a repellent of our Magnetic Field!

    It's basic fact and science!

    Earth's Magnetic field has been getting repelled more and more frequently not only that the amount it has been getting repelled has been increasing!
    In the time frame of those occurrences there has been an obvious pattern of Larger Earthquake activity.

    Also migration of birds/animals is followed by the connection to our Magnetic field, with an increasing disturbance with Earth's Magnetic Field that also might explain the lately occurrences of the strange animal activity that has been increasing.

    Such as species of birds being found in never before seen places and the increase of beached fish, whales etc.

    Plus those crazy random birds kills, all of it has a connection to the changes of Earth.

    Remember Earth is a Magnetic! ONLY another Magnetic influence of
    An incoming great mass such as Planet X orbiting in a Binary orbit incoming to orbit around our Sun could cause this disturbance at times where the same polarity of Earth and PX is in alignment.

    That is why not only our Magnetic field is being repelled and there has been earthquakes patterns along with that BUT ALSO the amount our field has been getting repelled has been increasing!

    Which means the Magnetic bully is incoming and getting closer.
    I've shown the images of our magnetic field doing just as I've described along with the earthquake patterns.

    Also when I state "particle alignment".. Planet X has a charged tail from its magnetic N Pole. Shortly after the Magnetic alignment the charged particles are also aim at Earth.

    Which is why recently there have been a few random "Satellites falling to Earth"

    Ancient cultures spoke in times of change there would be "lights" in the sky, sounds etc.

    Also why NASA in 2011 ended their Space Shuttle missions for good, they know what is going on and aren't going up in space anymore!
    The information is out there!


    Check the current Magnetic field/Magnetosphere here;

    http://www2.nict.go.jp/y/y223/simulation/realtime/


    ....
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2012
  10. จิตวาง

    จิตวาง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    10
    ค่าพลัง:
    +102
    ผมมีโปรแกรมตรวจจับแผ่นดินไหวแบบ Realtime ผ่านเน็ตเขียนโดยคนไทยน่าใช้ครับลองเอาไปใช้ดูครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. FALCON1

    FALCON1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    3,522
    ค่าพลัง:
    +4,863
    รับทราบครับ สำหรับท่านใดที่ใช้ ว.แดง ใช้ช่อง 11 ( 245.125 ) ครับ​

    C5 - War Room Falkman
     
  12. Numtrn

    Numtrn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    1,408
    ค่าพลัง:
    +1,571
    ขออยู่หน่วยเฝ้าระวัง ซอมบี้ ครับ
     
  13. vijit_j

    vijit_j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    739
    ค่าพลัง:
    +2,866
    เมื่อคืนนอนๆอยู่ มีจิตไปนสัมผัสถึง ผงตะไบเหล็ก

    อาจจะมีประโยชน์ที่จะนำมาสังเกตุได้ ในสภาวะเช่นนี้
     
  14. kittapass

    kittapass เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +257
    มันมีประโยชน์อย่างไรครับ ช่วยอธิบายหน่อยครับ
     
  15. vijit_j

    vijit_j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    739
    ค่าพลัง:
    +2,866
    ตอนเด็กๆ เคยเล่นไหมครับ

    เอาผงตะไบไปโปรยลงบนกระดาษ แล้วเอาแท่งแม่เหล็กไปใกล้ๆ ด้านล่าง เส้นแรงของแม่เหล็ก จะทำให้ผงตะไบ ตั้งขึ้น
     
  16. eenn112

    eenn112 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2012
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +277
    แล้วทำประโยชน์อะไรได้บ้างครับ อธิบายหน่อย พอดีตอนนี้มีเยอะเลย จะได้ไปเก็บๆไว้
     
  17. nprofcomp

    nprofcomp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    90
    ค่าพลัง:
    +339
    QuakeWatch-v2.7.1-Andilpfm.ipa

    เป็น app ใช้ใน iphone ios 4 ขึ้นไปครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  18. vijit_j

    vijit_j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    739
    ค่าพลัง:
    +2,866
    http://palungjit.org/threads/เรื่องน่าสนใจ-galactic-superwave.399166/

    ข้อความที่ 5

    บอกว่า ระบบสุริยะจักรวาลของเราก็ได้เคลื่อนขึ้นลงตัดผ่านแนวระนาบของทางช้างเผือก ทุกๆประมาณ 33 ล้านปี (เคลื่อนที่เป็ร sine wave ตัดแนวระนาบ ) (ตามรูป)

    ช่วงที่เคลื่อนที่ตัดผ่านตรงกลางเป๊ะ เป๊ะ อาจจะเกิดเส้นแรงแม่เหล็กมหาศาลก็ได้ ผงตะไบอาจได้รับเส้นแรงแม่เหล็กนั้น

    แต่ผมเห็นแย้งในข้อความ คือ ทั้งกาแล็คซี่ทางช้างเผือก เคลื่อนที่ตัดผ่านแนวระนาบศูนย์กลางของเอกภพ
     
  19. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652

    ลองสังเกตุดูเข็มทิศน่าจะได้...นะครับพี่

    เข็มทิศน่าจะ...ชี้ผิดทิศทาง...หรือ...ถูกรบกวน

    .
     
  20. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652

    ลองติดตั้งดูแล้ว...ครับ

    ช่วงติดตั้งครั้งแรก...ต้องรอ Update โปรแกรม...สักหน่อย

    ใช้งาน OK เลย...ครับ

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...