พลังงานแสงอาทิตย์

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ปาฏิหาริย์, 6 มิถุนายน 2008.

  1. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    จากกระทู้พลังงานลม
    ที่สามารถทำได้เอง
    ผมเลยคลิ๊กไปดู เห็นว่ามีการทำโซล่าร์เซลใช้เองด้วย
    ก็เอามาเป็นไอเดียให้เพื่อนเพื่อนท่านใด
    อาจนำไปใช้
    ดูราคาแล้ว ที่104.8เหรียญ ประมาณสามพันกว่าบาท
    และได้พลังงานไฟฟ้า18.88 Volts
    วัดจากตอนกลางวันฤดูหนาว
    (ผมอ่านไม่เจอว่า มลรัฐไหน
    เพราะจะเทียบเส้นแวงได้ถูก)
    อ่านต่อตามลิงค์นี้ครับ
    http://www.mdpub.com/SolarPanel/index.html
    ยังไงก็ตามที่ต้นทุนราคาถูกเพราะต้องไปประมูลของจากอีเบย์
    แต่ถ้าส่งมาเมืองไทยก็คงไม่คุ้มค่าส่งของมาแน่ครับ

    <CENTER>How I built an electricity producing Solar Panel
    [SIZE=+1]It was easy. You can do it too[/SIZE] [​IMG] </CENTER>
    <TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=top>[SIZE=+1][​IMG] Several years ago I bought some remote property in Arizona. I am an astronomer and wanted a place to practice my hobby far away from the sky-wrecking light pollution found near cities of any real size. I found a great piece of property. The problem is, it's so remote that there is no electric service available. That's not really a problem. No electricity equals no light pollution. However, it would be nice to have at least a little electricity, since so much of life in the 21st century is dependant on it.
    I built a wind turbine to provide some power on the remote property. It works great, when the wind blows. However, I wanted more power, and more dependable power. The wind seems to blow all the time on my property, except when I really need it too. I do get well over 300 sunny days a year on the property though, so solar power seems like the obvious choice to supplement the wind turbine. Solar panels are very expensive though. So I decided to try my hand at building my own. I used common tools and inexpensive and easy to acquire materials to produce a solar panel that rivals commercial panels in power production, but completely blows them away in price. Read on for step by step instructions on how I did it.

    Let me state up front that I probably won't be able to help you out much if you decide to build your own solar panel(s). This web site has become insanely popular, often taxing the bandwidth limits of the server. I get dozens of requests for help each day. I simply don't have time to answer the majority of them. Simple questions which only require a quick and simple answer may get replies if time permits. However, there is no way I can help you out with complex issues, teach you electronics theory, help you locate parts, build a charge controller for you, or custom design a system for you. There just aren't enough hours in the day. Sorry.

    So what is a solar panel anyway? It is basically a box that holds an array of solar cells. Solar cells are the things that do the actual work of turning sunlight into electricity. However, it takes a lot of cells to make a meaningful amount of power, and they are very fragile, so the individual cells are assembled into panels. The panels hold enough cells to make a useful amount of power and protect the cells from the elements. It doesn't sound too complicated. I was convinced I could do it myself.
    I started out the way I start every project, by Googling for information on home-built solar panels. I was shocked at how few I found. The fact that very few people were building their own panels led me to think it must be harder to do than I thought. The project got shelved for a while, but I never stopped thinking about it.

    After a while, I came to some conclusions:
    • The main stumbling block to building solar panels is acquiring solar cells at a reasonable price.
    • New solar cells are very expensive, and can even sometimes be hard to find in quantity at any price.
    • Blemished and damaged solar cells are available on<SCRIPT language=JavaScript1.1> document.write("Ebay[​IMG]");</SCRIPT> Ebay[​IMG] <NOSCRIPT> Ebay[​IMG]</NOSCRIPT>and other places at a fraction of the cost of new perfect cells.
    • These second rate solar cells could probably be used to make a solar panel that would work just fine.
    Once I came to the realization that I could use blemished and factory-second solar cells to build my panels, I finally got to work. I started by buying some solar cells off of<SCRIPT language=JavaScript1.1> document.write("Ebay[​IMG]");</SCRIPT> Ebay[​IMG] <NOSCRIPT> Ebay.[​IMG]</NOSCRIPT>
    <SCRIPT language=JavaScript src="http://lapi.ebay.com/ws/eBayISAPI.dll?EKServer&ai=mwrez%60%22*&bdrcolor=FFCC00&cid=0&eksize=1&encode=UTF-8&endcolor=FF0000&endtime=y&fbgcolor=FFFFFF&fntcolor=000000&fs=0&hdrcolor=FFFFCC&hdrimage=1&hdrsrch=y&height=450&img=y&lnkcolor=0000FF&logo=3&num=7&numbid=y&paypal=n&popup=y&prvd=9&query=solar+cells&r0=3&shipcost=n&sid=solar+cell+ad&siteid=0&sort=MetaEndSort&sortby=endtime&sortdir=asc&srchdesc=n&tbgcolor=FFFFFF&title=Solar+Cell+Items+For+Sale+On+Ebay+Now&tlecolor=FFCE63&tlefs=0&tlfcolor=000000&toolid=10004&track=first&width=570"></SCRIPT><TABLE height=58 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=570 border=0><TBODY><TR><TD width=1 bgColor=#ffcc00 rowSpan=2>[​IMG][​IMG]</TD><TD width=570 bgColor=#ffcc00 colSpan=3 height=1>[​IMG]</TD><TD width=1 bgColor=#ffcc00 rowSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR bgColor=#ffffcc><TD colSpan=3 height="100%"><TABLE height="100%" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG][​IMG]</TD><TD vAlign=center align=right>
    <FORM class=nomargin name=EditorKitSearch onsubmit="return _nullSearch(this)" action="" method=get><INPUT size=12 value="solar cells" name=satitle>[​IMG]<INPUT type=submit value=Search name=search></FORM></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=570 border=0><TBODY><TR><TD noWrap width=1 bgColor=#ffcc00>[​IMG]</TD><TD width="100%" bgColor=#ffce63>[SIZE=-1][​IMG]Solar Cell Items For Sale On Ebay Now[/SIZE]</TD><TD width=1 bgColor=#ffcc00>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=415 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=570 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=1 bgColor=#ffcc00>[​IMG]</TD><TD width=5 bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=558 bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=558 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width="15%">[SIZE=-1]Picture[/SIZE]</TD><TD width="40%">[SIZE=-1]Product[/SIZE]</TD><TD align=middle width="15%">[SIZE=-1]Price[/SIZE]</TD><TD align=middle width="18%">[SIZE=-1][​IMG][/SIZE][SIZE=-1]Bids[/SIZE][SIZE=-1][​IMG][/SIZE]</TD><TD align=right width="12%">[SIZE=-1]Time Left[/SIZE]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG][​IMG][​IMG]</TD><TD vAlign=top>[SIZE=-1]HOW TO BUILD SOLAR~C<WBR>ELLS~PA<WBR>NELS~AR<WBR>RAYS~DI<WBR>Y~FREE ENERGY[/SIZE][SIZE=-1][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1]$9.99[/SIZE]</TD><TD noWrap align=middle>[SIZE=-1][​IMG][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1][​IMG]4h 50m [/SIZE]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG][​IMG][​IMG]</TD><TD vAlign=top>[SIZE=-1]HOW TO BUILD SOLAR~C<WBR>ELLS~PA<WBR>NELS~AR<WBR>RAYS~DI<WBR>Y~FREE ENERGY[/SIZE][SIZE=-1][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1]$9.99[/SIZE]</TD><TD noWrap align=middle>[SIZE=-1][​IMG][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1][​IMG]15h 17m [/SIZE]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG][​IMG][​IMG]</TD><TD vAlign=top>[SIZE=-1]Batch of broken solar cells. Build a photovo<WBR>ltaic panel[/SIZE][SIZE=-1][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1]$36.00[/SIZE]</TD><TD noWrap align=middle>[SIZE=-1]7[/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1][​IMG]15h 39m [/SIZE]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG][​IMG][​IMG]</TD><TD vAlign=top>[SIZE=-1]HOW TO BUILD SOLAR~C<WBR>ELLS~PA<WBR>NELS~AR<WBR>RAYS~DI<WBR>Y~FREE ENERGY[/SIZE][SIZE=-1][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1]$9.99[/SIZE]</TD><TD noWrap align=middle>[SIZE=-1][​IMG][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1][​IMG]18h 17m [/SIZE]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG][​IMG][​IMG]</TD><TD vAlign=top>[SIZE=-1]NEW Thin Film Solar Cells [/SIZE][SIZE=-1][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1]$299.00[/SIZE]</TD><TD noWrap align=middle>[SIZE=-1][​IMG][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1][​IMG]18h 42m [/SIZE]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG][​IMG][​IMG]</TD><TD vAlign=top>[SIZE=-1]36 new, unbroke<WBR>n, solar cells w/tabs 3x6 .55v 3600 ma. [/SIZE][SIZE=-1][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1]$150.00[/SIZE]</TD><TD noWrap align=middle>[SIZE=-1][​IMG][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1][​IMG]19h 39m [/SIZE]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG][​IMG][​IMG]</TD><TD vAlign=top>[SIZE=-1]30 SOLAR CELLS, 0.55 VOLTS EACH[/SIZE][SIZE=-1][/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1]$71.00[/SIZE]</TD><TD noWrap align=middle>[SIZE=-1]13[/SIZE]</TD><TD noWrap align=right>[SIZE=-1][​IMG]21h 45m [/SIZE]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc00 colSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5 bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD><TD width=1 bgColor=#ffcc00>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=1 bgColor=#ffcc00>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom colSpan=3><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD><TD bgColor=#ffffff>[SIZE=-1]View all 59 items on eBay[/SIZE]</TD><TD align=right bgColor=#ffffff>[SIZE=-1]disclaimer[/SIZE]</TD><TD bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=1 bgColor=#ffcc00>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=1 bgColor=#ffcc00>[​IMG]</TD><TD width=558 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD width=1 bgColor=#ffcc00>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=558 bgColor=#ffcc00 colSpan=5 height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG] I bought a couple of bricks of 3 X 6 mono-crystalline solar cells. It takes a total of 36 of these type solar cells wired in series to make a panel. Each cell produces about 1/2 Volt. 36 in series would give about 18 volts which would be good for charging 12 volt batteries. (Yes, you really need that high a Voltage to effectively charge 12 Volt batteries) This type of solar cell is as thin as paper and as brittle and fragile as glass. They are very easily damaged. The seller of these solar cells dips stacks of 18 in wax to stabilize them and make it easier to ship them without damaging them. The wax is quite a pain to remove though. If you can, find cells for sale that aren't dipped in wax. Keep in mind though that they may suffer some more damage in shipping. Notice that these cells have metal tabs on them. You want cells with tabs on them. You are already going to have to do a lot of soldering to build a panel from tabbed solar cells. If you buy cells without tabs, it will at least double the amount of soldering you have to do. So pay extra for tabbed cells.

    [​IMG] I also bought a couple of lots of cells that weren't dipped in wax from another Ebay seller. These cells came packed in a plastic box. They rattled around in the box and got a little chipped up on the edges and corners. Minor chips don't really matter too much. They won't reduce the cell's output enough to worry about. These are all blemished and factory seconds anyway. The main reason solar cells get rejected is for chips. So what's another chip or two? All together I bought enough cells to make 2 panels. I knew I'd probably break or otherwise ruin at least a few during construction, so I bought extras.

    There are lots of other sizes of solar cells besides 3 X 6 inches available. You could use larger or smaller cells for your panel. Just keep a few things in mind.
    • Cells of the same type all produce the same voltage no matter what size they are. So the same number of cells is always needed.
    • Larger cells produce more current (Amps) and smaller cells produce less current.
    • The total power your panel can produce is determined by Amps X Volts.
    So using bigger cells produces more power, but the panel will be large and heavy. Using smaller cells keeps the panel small and light, but won't produce as much power. Also, mixing cell sizes is not a good idea. This is because the current your panel can produce will be limited by the smallest cell in the group and the larger cells won't work to their full potential.

    The cells I settled on are 3 X 6 inches in size and are rated at roughly 3 amps. I will wire 36 of them in series to get a little over 18 volts. The result should be a panel capable of delivering almost 60 Watts of power in bright sunlight. It doesn't sound like a lot, but it sure beats no power at all, which is what I had on my property before. And that is 60 Watts all day when the sun is shining. That power will go into charging batteries which will primarily be used for powering lights and small appliances for only a few hours after dark. Once I go to bed, my power requirements drop to almost nothing. So 60 Watts is actually quite a lot of useful power, especially when I also have my wind turbine adding to the power production when the wind is blowing.
    After you buy your solar cells, put them away in a safe place where they won't get dropped, played with by the kids, or eaten by the dog until you are ready to install them in the panel. These cells are very fragile. Rough treatment and excessive handling will turn your expensive solar cells into little, blue, shiny shards that aren't useful for anything.
    [​IMG] A solar panel is really just a shallow box. So I started out by building myself a shallow box. I made the box shallow so the sides wouldn't shade the solar cells when the sun comes at an angle from the sides. It is made of 3/8 inch thick plywood with 3/4 X 3/4 pieces of wood around the edges. The pieces are glued and screwed in place. This panel will hold 36 3 X 6 inch solar cells. I decided to make 2 sub-panels of 18 cells each just so make it easier to assemble later. So there is a center divider across the middle of the box. Each sub-panel will fit into one well in the main panel.

    [​IMG] Here is my sort of back of the envelope sketch showing the overall dimensions of the solar panel. All dimensions are in inches (sorry you fans of the metric system). The side pieces are 3/4 by 3/4 and go all the way around the edges of the plywood substrate. also a piece goes across the center to divide the panel into two sub-panels. This is just the way I chose to do it. There is nothing critical about these dimensions, or even the overall design. Feel free to deviate in your own design. These dimensions are included here for those people who always clamor for me to include dimensions on my projects. I always encourage people to experiment and innovate on their own, rather than blindly follow the way I (or anyone else) does things. You may well come up with a better design.

    [​IMG] Here is a close-up showing one half of the main panel. This well will hold one 18 cell sub-panel. Notice the little holes drilled in the edges of the well. This will be the bottom of the panel (it is upside down in the photo, sorry). These are vent holes to keep the air pressure inside the panel equalized with the outside, and to let moisture escape. These holes must be on the bottom of the panel or rain and dew will run inside. There must also be vent holes in the center divider between the two sub panels.

    [​IMG] Next I cut two pieces of masonite peg-board to fit inside the wells. These pieces of peg-board will be the substrates that each sub-panel will be built on. They were cut to be a loose fit in the wells. You don't have to use peg-board for this. I just happened to have some on hand. Just about any thin, rigid and non-conducting material should work.

    [​IMG] To protect the solar cells from the weather, the panel will have a plexiglass front. Here two pieces of scrap plexiglass have been cut to fit the front of the panel. I didn't have one piece big enough to do the whole thing. Glass could also be used for this, but glass is fragile. Hail stones and flying debris that would shatter glass will just bounce off the plexi. Now you can start to see what the finished panel will look like.

    [​IMG] Oops! This photo shows a close-up of where the two halves of the plexiglass cover meet over the center divider. I drilled and countersunk holes all around the edges of both pieces of plexiglass so I could screw them onto the face of the panel with 1 inch drywall screws. Be careful working close to the edge of the plexi. If you get to aggressive it will break, as happened here. I just glued the broken piece back in and drilled another hole a short distance away.

    [​IMG] Next I gave all the wooden parts of the panel several coats of paint to protect them from moisture and the weather. The box was painted inside and out. The type of paint and color was scientifically chosen by shaking all the paint cans I had laying around in my garage and choosing the one that felt like it had enough left in it to do the whole job.

    [​IMG] The peg-board pieces were also painted. They got several coats on both sides. Be sure to paint them on both sides or they will curl when exposed to moisture. Curling could damage the solar cells that will be glued to them.

    Now that I had the structure of the panel finished, it was time to get the solar cells ready
    [​IMG] As I said above, getting the wax off the cells is a real pain. After some trial and error, I came up with a way that works fairly well. Still, I would recommend buying from someone who doesn't dip their cells in wax. The first step is a bath in hot water to melt the wax and separate the cells from each other. Don't let the water boil or the bubbles will jostle the cells against each other violently. Also, boiling water may be hot enough to loosen the electrical connections on the cells. I also recommend putting the brick of cells in the water cold, and then slowly heating it up to just below boiling temperature to avoid harsh thermal shocks to the cells. Plastic tongs and spatulas come in handy for teasing the cells apart once the wax melts. Try not to pull too hard on the metal tabs or they may rip off. I found that out the hard way while trying to separate the cells. Good thing I bought extras.

    [​IMG] This photo shows the complete setup I used. My girlfriend asked what I was cooking. Imagine her surprise when I said solar cells. The initial hot water bath for melting the wax is in the right-rear. On the left-front is a bath of hot soapy water. On the right-front is a bath of hot clean water. All the pots are at just below boiling temperature. The sequence I used was to melt the bricks apart in the hot water bath on the right-rear. I'd tease the cells apart and transfer them one at a time to the soapy water bath on the left-front to remove any wax on the cell. Then the cell would be given a rinse in the hot clean water on the right-front. The cells would then be set out to dry on a towel. You should change the water frequently in the soapy and rinse water baths. Don't pour the water down the sink though, because the wax will solidify in your drains and clog them up. Dump the water outside. This process removed almost all the wax from the cells. There is still a very light film on some of the cells, but it doesn't seem to interfere with soldering or the working of the cells. A solvent bath would probably remove the rest of the wax, but that would be dangerous and stinky since the only solvents I could think of that would cut wax are either flamable, toxic or smelly, or all three.

    [​IMG] Here are some separated and cleaned solar cells drying on a towel. Once separated from their wax stabilized brick form, they are amazingly fragile and difficult to handle and store. I would recommend leaving them as bricks until you are ready to install them in your panel. That way you won't wreck them before you get to use them. So build the panel first. Now it's time to start installing them in the panel

    [​IMG] I started out by drawing a grid pattern on each of the two pieces of pegboard, lightly in pencil, so I would know where each of the 18 cells on them would be located. Then I laid out the cells on that grid pattern upside-down so I could solder them together. All 18 cells on each half panel need to be soldered together in series, then both half panels need to be connected in series to get the desired voltage.

    Soldering the cells together was tricky at first, but I got the hang of it fairly quickly. Start out with just two cells upside-down. Lay the solder tabs of one cell across the solder points on the back of the other cell. I made sure the spacing between the cells matched the grid pattern.

    [​IMG] I used a low-Wattage soldering iron and fine rosen-core solder. I also used a rosen pen on the solder points on the back of the cells before soldering. Use a real light touch with the soldering iron. The cells are thin and delicate. If you push too hard, you will break the cells. I got careless a couple of times and scrapped a couple of cells.

    [​IMG] I repeated the above steps and soldered solar cells together until I had a string of six cells. I soldered tabs from scrapped cells to the solder points on the back of the last cell in the string of six. Then I repeated the whole process two more times to get three strings of six cells for a total of 18 for this half of the panel.

    The three strings of cells need to be wired in series. So the middle string needs to be rotated 180 degrees with respect to the other two. I got the strings oriented the way I wanted them (still upside-down) on top of the pegboard panel before the next step of gluing the cells in place.

    [​IMG] Gluing the cells in place proved to be a little tricky. I placed a small blob of clear silicone caulk in the center of each cell in a six cell string. Then I flipped the string over and set in place on the pencil line grid I had laid out earlier. I pressed lightly in the center of each cell to get it to stick to the pegboard panel. Flipping the floppy string of cells is tricky. Another set of hands may be useful in during this step.

    Don't use too much glue, and don't glue the cells anywhere but at their centers. The cells and the panel they are mounted on will expand, contract, flex and warp with changes in temperature and humidity. If you glue the cells too tightly to the substrate, they will crack in time. gluing them at only one point in the center allows the cells to float freely on top of the substrate. Both can expand and flex more or less independently, and the delicate solar cells won't crack.

    [​IMG] Next time I will do it differently. I will solder tabs onto the backs of all the solar cells. Then I will glue all the cells down in their proper places. Then I will solder the tabs together. It seems like the obvious way to go to me now, but I had to do it the hard way once to figure it out.

    Here is one half panel, finally finished.

    [​IMG] Here I used copper braid to interconnect first and second strings of cells. You could use solar cell tabbing material or even regular wire. I just happened to have the braid on hand. There is another similar interconnection between the second and third strings at the opposite end of the board. I used blobs of silicone caulk to anchor the braid and prevent it from flopping around.

    [​IMG] Here I am testing first half panel outside in the sun. In weak sun through clouds the half panel is producing 9.31 Volts. YAHOO! It works! Now all I had to do is build another one just like it.

    Once I had two half panels complete, I could install them in their places in the main panel frame and wire them together.

    [​IMG] Each of the half panels dropped right into their places in the main panel frame. I used four small screws (like the silver one in the photo) to anchor each of the half panels in place.



    [​IMG] Wires to connect the two half panels together were run through the vent holes in the central divider. Again, blobs of silicone caulk were used to anchor the wire in place and prevent it from flopping around.

    [​IMG] Each solar panel in a solar power system needs a blocking diode in series with it to prevent the panel from discharging your batteries at night or during cloudy weather. I used a Schottky diode with a 3.3 Amp current rating. Schottky diodes have a much lower forward voltage drop than ordinary rectifier diodes, so less power is wasted. Every Watt counts. I got a package of 25 3DQ03 Schottky diodes on<SCRIPT language=JavaScript1.1> document.write("Ebay[​IMG]");</SCRIPT> Ebay[​IMG] <NOSCRIPT> Ebay[​IMG]</NOSCRIPT>for only a few bucks. So I have enough left-overs for lots more solar panels

    My original plan was to mount the diode inline with the positive wire outside the panel. After looking at the spec-sheet for the diode though, I decided to mount it inside since the forward voltage drop gets lower as the temperature rises. It will be warmer inside the panel and the diode will work more efficiently. More silicone caulk was used to anchor the diode and wires.

    [​IMG] I drilled a hole in the back of the panel near the top for the wires to exit. I put a knot in the wires for strain relief, and anchored them in place with yet more of the silicone caulk.

    It is important to let all the silicone caulk cure well before screwing the plexiglass covers in place. I have found through past experience that the fumes from the caulk may leave a film on the inside of the plexiglass and the cells if it isn't allowed to thoroughly cure in the open air before screwing on the cover.

    [​IMG] And still more silicone caulk was used to seal the outside of the panel where the wires exit.

    [​IMG] I added a polarized two-pin jones plug to the end of the panel wires. A mating female plug will be wired into the charge controller I use with my home-built wind turbine so the solar panel can supplement it's power production and battery charging capacity.

    [​IMG] Here is the completed panel with the plexiglass covers screwed into place. It isn't sealed shut yet at this point. I wanted to wait until after testing it because was worried that I might have to get back inside it if there were problems. Sure enough, a tab popped off one of the cells. Maybe it was due to thermal stresses or shock from handling. Who knows? I opened up the panel and replaced that one cell. I haven't had any more trouble since. I will probably seal the panel with either a bead of silicone caulk, or aluminum AC duct tape wrapped around the edges.

    [​IMG] Here I am testing the Voltage output of the completed panel in bright winter sunlight. My meter says 18.88 Volts with no load. That's exactly what I was aiming for.

    [​IMG] Here I am testing the current capacity of the panel, again in bright winter sunlight. My meter says 3.05 Amps short circuit current. That is right about what the cells are rated for. So the panel is working very well.

    So how much did all this cost to build? Well, I saved all the receipts for everything I bought related to this project. Also, my workshop is well stocked with all sorts of building supplies and hardware. I also have a lot of useful scrap pieces of wood, wire and all sorts of miscellaneous stuff (some would say junk) laying around the shop. So I had a lot of stuff on hand already. Your milage may vary.
    <TABLE cellSpacing=0 cols=3><TBODY><TR><TD align=left height=16>Part</TD><TD align=left>Origin</TD><TD align=left>Cost</TD></TR><TR><TD align=left height=16>
    </TD><TD align=left>
    </TD><TD align=left>
    </TD></TR><TR><TD align=left height=16>Solar Cells</TD><TD align=left><SCRIPT language=JavaScript1.1> document.write("Ebay[​IMG]");</SCRIPT>Ebay[​IMG] <NOSCRIPT> Ebay[​IMG]</NOSCRIPT></TD><TD align=left>$74.00*</TD></TR><TR><TD align=left height=16>Misc. Lumber</TD><TD align=left>Homecenter Store</TD><TD align=left>$20.62</TD></TR><TR><TD align=left height=16>Plexiglass</TD><TD align=left>Scrap Pile</TD><TD align=left>$0.00</TD></TR><TR><TD align=left height=16>Screws & Misc. Hardware </TD><TD align=left>Already on hand</TD><TD align=left>$0.00</TD></TR><TR><TD align=left height=16>Silicone Caulk</TD><TD align=left>Homecenter Store</TD><TD align=left>$3.95</TD></TR><TR><TD align=left height=16>Wire</TD><TD align=left>Already on hand</TD><TD align=left>$0.00</TD></TR><TR><TD align=left height=16>Diode</TD><TD align=left><SCRIPT language=JavaScript1.1> document.write("Ebay[​IMG]");</SCRIPT>Ebay[​IMG] <NOSCRIPT> Ebay[​IMG]</NOSCRIPT></TD><TD align=left>$0.20&plusmn;</TD></TR><TR><TD align=left height=16>Jones Plug</TD><TD align=left>Newark Electronics</TD><TD align=left>$6.08</TD></TR><TR><TD align=left height=16>Paint</TD><TD align=left>Already on hand</TD><TD align=left>$0.00</TD></TR><TR><TD align=left height=16>
    </TD><TD align=left>
    </TD><TD align=left>
    </TD></TR><TR><TD align=left height=16>Total</TD><TD align=left>
    </TD><TD align=left>$104.85</TD></TR></TBODY></TABLE>
    Not too bad. That's a fraction of what a commercially made solar panel with a comparable power output would cost, and it was easy. I already have plans to build more panels to add to the capacity of my system. I'll post more here as the project evolves. Stay tuned
    [SIZE=-1]* I actually bought 4 lots of 18 solar cells. This price represents only the two lots that went into building this panel. Also, the price of factory second solar cells on<SCRIPT language=JavaScript1.1> document.write("Ebay[​IMG]");</SCRIPT> Ebay[​IMG] <NOSCRIPT> Ebay[​IMG]</NOSCRIPT>has gone up quite a lot recently as oil prices have skyrocketed.[/SIZE]
    [SIZE=-1]&plusmn; This price represents 1 out of a lot of 25 diodes I bought on<SCRIPT language=JavaScript1.1> document.write("Ebay[​IMG]");</SCRIPT> Ebay[​IMG] <NOSCRIPT> Ebay[​IMG]</NOSCRIPT>for $5.00.[/SIZE]
    [/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. surapong chot

    surapong chot เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,212
    ในประเทศไทยก็มีบริษัทที่ผลิตแล้วครับ ชื่อ บริษัท โซลาร์ตรอน (solar) และ บริษัท เอกรัฐหรือเอกราช (akr)ผลิตหม้อแปลงไฟฟ้า และโซลาร์เซลล์ เป็นบริษัทที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยด้วยครับ ราคาผมไม่รู้ครับ ต้องลองติดต่อสอบดูเอาเองนะครับ....
     
  3. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

    ปัจจุบันรัฐบาลและหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ของไทย ได้พยายามลดและแทนที่การใช้พลังงานเชื้อเพลิงด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยจุดมุ่งหมายหลักคือการเพิ่มการใช้พลังงานทดแทนจากเดิม 0.5% เป็น 8% ภายในปี 2554 (5% RPS ของพลังงานหมุนเวียน) แหล่งพลังงานทดแทนในประเทศไทยส่วนใหญ่ คือ พลังงานจากชีวมวล แต่ปัจจุบันคงมีศักยภาพต่ำ และ ต้นทุนการผลิตยังคงมีราคาสูง

    จุดมุ่งหมายของการวิจัยนี้เพื่อ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งในเชิงเทคโนโลยีและเชิงเศรษฐศาสตร์ วิธีการคือ การนำค่าความเข้มรังสีตรงจากการวัด 5 ปี มาสร้างแบบจำลองการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาด 10 เมกกะวัตต์ 3 ระบบ ได้แก่ ระบบรางพาราโบลา ระบบหอคอย และ ระบบจานพาราโบลาร่วมกับเครื่องยนต์สเตอร์ลิง แล้วทำการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ และเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตไฟฟ้าในรูปของ Livelized Electricity Cost (LED)


    หากหน่วยงานหรือบุคคลใดสนใจ กรุณาเข้ามาอ่านผลงานวิจัยฉบับเต็มได้ที่นี่(pdf)

    1) ระบบรางพาราโบลา เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
    <CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=1><TBODY><TR><TD width="50%">[​IMG] รูปที่ 1. แบบจำลองโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบรางพาราโบลา

    [​IMG]

    รูปที่ 2. โครงสร้างแบบบล็อค
    </TD><TD width="50%">[​IMG] รูปที่ 3. แผนผังภาพวาด
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​



    2) ระบบหอคอย เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
    <CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=1><TBODY><TR><TD width="50%">[​IMG]
    รูปที่ 4. โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบหอคอย

    [​IMG]
    รูปที่ 5.
    โครงสร้างแบบบล็อค
    </TD><TD width="50%">[​IMG]
    รูปที่ 6.
    ผลการจำลองตำแหน่งเหมาะสมของกระจก</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​



    3) ระบบจานพาราโบล่าร่วมกับเครื่องยนต์สเตอร์ลิง เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
    <CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=1><TBODY><TR><TD width="50%">[​IMG] รูปที่ 7. โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบจานพาราโบลาร่วมกับเครื่องยนต์สเตอรลิง

    [​IMG]

    รูปที่ 8. โครงสร้างแบบบล็อค
    </TD><TD width="50%">[​IMG] รูปที่ 9.แผนผังภาพวาด
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​

    บทสรุป
    จากการดำเนินโครงการ ได้นำข้อมูลการวัดรังสีตรง และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมร่วมกับข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา สร้างแผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของความเข้มรังสีตรงทั่วประเทศไทย แล้วทำการวิเคราะห์หาพื้นที่ที่ได้รับความเข้มรังสีตรงค่อนข้างสูง เพื่อใช้เป็นพื้นที่วิเคราะห์สมรรถนะของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาด 10 MW ทั้ง 3 ระบบ (ระบบรางพาราโบลา ระบบหอคอย และ ระบบจานพาราโบลาร่วมกับเครื่องยนต์สเตอร์ลิง) โดยได้ทำการพัฒนาโปรแกรมสำหรับจำลองการทำงานของระบบด้วยซอฟแวร์ TRNSYS เพื่อการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ แล้วเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตไฟฟ้าในรูปของ Livelized Electricity Cost (LED)

    จากการศึกษาพบว่า พื้นที่ที่ได้รับความเข้มรังสีตรงสูงสุด ได้รับรังสีตรงต่อปีในช่วง 1,300 - 1,500 kWh/m2-yr ซึ่งถ้าใช้ระบบรางพาราโบลาหรือระบบหอคอยจะสามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 15-20 กิโลวัตต์ต่อปี ในขณะที่ระบบจานพาราโบลาร่วมกับเครื่องยนต์สเตอร์ลิง จะสามารถผลิตไฟฟ้าได้เพียงประมาณ 11.5 กิโลวัตต์ต่อปี เพราะระบบนี้ไม่มีพลังงานสะสม ระบบรางพาราโบลามีต้นทุนการผลิตไฟฟ้าต่ำสุดแต่มีศักยภาพการผลิตไฟฟ้าได้สูงสุด ดังนั้นระบบนี้จึงเรียกได้ว่ามีประสิทธิภาพมากที่สุดในปัจจุบัน ผลการเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตไฟฟ้าในรูปของ Levelized Electricity Cost (LED) พบว่าระบบรางพาราโบลามีต้นทุนการผลิตไฟฟ้าเท่ากับ 0.25 USD และหากอัตรารับซื้อไฟฟ้าอยู่ที่ 15 บาท/กิโลวัตต์ (0.38 USD/KWh) ผลตอบแทนจะอยู่ที่ประมาณ 15.8% และจากการวิเคราะห์ของกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) การผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย ยังคงมีผลตอบแทนค่อนข้างต่ำ (ประมาณ 2% ของรายได้ทั้งหมดต่อปี)


    ท่านสามารถอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ ที่เกี่ยวข้อง สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานต่างๆ ของห้องปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ ได้ที่นี่ (เพิ่มเติม
     
  4. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ของประเทศไทย

    ห้องปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ เริ่มติดตั้งสถานีวัดความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2524 หลังจากนั้นได้ติดตั้งเพิ่มเติมอีก 3 แห่ง คือ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก จังหวัดสงขลา และศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 ห้องปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน จัดตั้งเครือข่ายสถานีวัดความเข้มรังสีดวงอาทิตย์โดยติดตั้งสถานีวัดความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ จำนวน 25 แห่ง ซึ่งมีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างต่อเนื่องและจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) มีเครือข่ายสถานีวัด รวมทั้งสิ้น 40 สถานี
    ในปี พ.ศ. 2549 ได้ติดตั้งสถานีวัดความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ที่ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ เวียงจันทน์ หลวงพระบาง ซำเหนือ ท่าแขก และปากเซ นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2550 ยังได้ติดตั้งสถานีวัดความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ และสถานีวัดลมเพื่อศึกษาศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม ที่ประเทศกัมพูชา จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ พนมเปญ สีหนุวิลล์ เสียมเรียบ กัมปอต และกัมปงธม


    งานวิจัยที่ทำการศึกษา คือ

    • ความเข้มรังสีรวม
    • ความเข้มรังสีกระจาย
    • ความเข้มรังสีตรงในระนาบตั้งฉาก
    • ความเข้มรังสีอุลตราไวโอเลต
    • ความเข้มแสงสว่างธรรมชาติ
    แผนที่ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม

    นอกเหนือจากการวัดภาคพื้นดินแล้ว ห้องปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ มีการพัฒนาวิธีการคำนวณความเข้มรังสีดวงอาทิตย์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม โดยแสดงการกระจายความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ในพื้นที่ต่างๆ ในรูปของแผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ แผนที่ปริมาณรังสีตรงของประเทศไทย แผนที่ศักยภาพแสงสว่างธรรมชาติ และแผนที่ความเข้มรังสีอุลตราไวโอเลตที่มีผลกระทบต่อผิวหนังของมนุษย์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม จากแผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ พบว่าประเทศไทยมีพลังงานแสงอาทิตย์รายวันเฉลี่ยทั้งปี เท่ากับ 18.2 MJ/m<SUP>2</SUP>-day นอกจากนี้ยังมีการศึกษาและแสดงแผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวอีกด้วย


    ท่านสามารถอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้อง สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม เกี่ยวกับการจำลองระบบผลิตไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์ได้ที่ ห้องปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ (เพิ่มเติม
     
  5. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

    เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สามารถใช้ได้ใน ภาคการเกษตร และ ภาคอุตสาหกรรม

    <CENTER><TABLE cellSpacing=1 width=595 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width=437>
    The advantage of solar drying systems is low operation costs combined with high product quality. A solar dryer avoids problems of other drying technologies such as high energy consumption, complex technology (maintenance costs), contamination and pollution problems.
    Solar dryers are used in the agricultural and industrial sector:

    </TD><TD width=155>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    ภาคอุตสาหกรรม
    เป้าหมายหลักของ เทคโนโลยีการอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่ออุตสาหกรรม คือ เพื่อช่วยลดต้นทุน ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าและน้ำมันสัตว์ พลังงานแสงอาทิตย์ได้นำมาใช้เพื่อ การตากแห้งเป็นเวลาช้านาน ปัจจุบันได้มีการนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในอุตสาหกรรมมากมาย อาทิ การตากแห้งกระเบื้องและกระจกสี ยางรถ และอุตสาหกรรมที่ใช้ยาง อุตสาหกรรมสิ่งทอ การหล่อเหล็ก เภสัชกรรม โรงงานยาสูบ เป็นต้น


    ภาคการเกษตร
    เทคโนโลยีการอบแห้ง ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นกรรมวิธีที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการแปรรูป และ ถนอมอาหาร ผลไม้ สมุนไพร เนื้อสัตว์ และพืชผลทางการเกษตรทุกชนิด

    <CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 height=96 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=0><TBODY><TR><TD width=141 height=96>
    [​IMG]
    </TD><TD width=451 height=96>
    สมุนไพรและเครื่องเทศ : พริก พริกไทย ตะไคร้ หอม กระเทียม ชา กาแฟ...
    ผลไม้อบแห้ง : กล้วย ลำไย สัปปะรด มะม่วง มะพร้าว...

    ผัก : มะเขือเทศ แครอท ถั่ว ข้าวโพด เห็ด
    เนื้อสัตว์อบแห้ง : ปลา ปลาหมึก หมู...
    อื่นๆ เช่น การอบหวายหรือไม้เพื่อผลิตเฟอร์นิเจอร์ ดอกไม้แห้ง เครื่องจักสาน..
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​

    นอกจากจะสามารถทำให้ได้ผลผลิตที่มีปริมาณคงที่ เทคโนโลยีนี้ยังสามารถควบคุมคุณภาพและเพิ่มกำลังผลิตได้ การอบแห้งแบบดั้งเดิมนั้น ถึงแม้ว่าจะมีราคาที่ถูก แต่มีปัจจัยหลายอย่างทำให้ประสิทธิภาพลดลง เช่น สภาวะอากาศ แมลง ฝุ่นซึ่งทำให้ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพต่ำและเสียเปรียบในการแข่งขันทางการค้า


    More about fruit drying:
    1. SOLAR DRYING TECHNOLOGY, Dr. S. Janjai
    2. Production of dried- or dehydrated fruits, Dr. B. Mahayothee
    ห้องปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ ได้ให้การช่วยเหลือกลุ่มแม่บ้าน พัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยใช้เทคโนโลยีการอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ (อ่านเพิ่มเติม)

    ห้องปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ ได้พัฒนาเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ตั้งแต่ปี 2534 ได้แก่

    1. เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ แบบอุโมงค์ลม
    <CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=1><TBODY><TR><TD width=196>
    [​IMG]
    </TD><TD width=396>ครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ แบบอุโมงค์ลม เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในปี 2534 และปี 2548 ได้เริ่มเผยแพร่ในภาคเหนือ 14 แห่ง (อ่านเพิ่มเติม) ปัจจุบันมีการพัฒนาระบบใหม่ และทดลองใช้ในพื้นที่ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ
    -> ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอุโมงค์ลม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​

    2. เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ แบบเรือนกระจก
    <CENTER><TABLE style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-TOP-WIDTH: 1px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 1px; BORDER-BOTTOM-COLOR: #111111; BORDER-TOP-COLOR: #111111" width=198>
    [​IMG]
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1px solid; BORDER-TOP: 1px solid; BORDER-LEFT: 1px solid; BORDER-BOTTOM: 1px solid" width=394>
    ห้องปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ ได้มีการพัฒนาระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์มาอย่างต่อเนื่อง สำหรับเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ แบบเรือนกระจกได้มีการพัฒนาและติดตั้งใช้งานและเป็นศูนย์สาธิตการอบแห้งภายในประเทศ 8 แห่ง และมีการเผยแพร่ที่ต่างประเทศ 2 แห่ง คือ ประเทศ Sierra Leone และ ประเทศ สปป.ลาว
    -> ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ แบบเรือนกระจก
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​

    3. เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ แบบใช้ความร้อนจากหลังคาโรงอบ
    <CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=1><TBODY><TR><TD width=195>[​IMG]</TD><TD width=397>
    ในปี 2547 ห้องปฏิบัติการฯได้ติดตั้งเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ แบบใช้ความร้อนจากหลังคาโรงอบ เป็นศูนย์สาธิตเทคโนโลยีการอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ที่อุทยานธรรมชาติวิทยา ในพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี และในปี 2550 ได้เผยแพร่ไปติดตั้งที่ประเทศ สปป.ลาว
    -> ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ แบบใช้ความร้อนจากหลังคาโรงอบ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​

    4. ระบบอบไม้พลังงานแสงอาทิตย์
    <CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=1><TBODY><TR><TD width=195>
    [​IMG]
    </TD><TD width=397>ห้องปฏิบัติการฯ ได้พัฒนาระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์เพิ่มเติม 2 ระบบ คือระบบอบไม้และระบบอบหวาย โดยมีจุดประสงค์หลักคือต้องการเพิ่มขนาดความจุเป็น 100 ลูกบาศก์เมตรและปรับปรุงเพื่ออบผลิตภัณฑ์ชนิดอื่น เช่น ยางพารา ทั้งนี้เพื่อขยายผลไปยังกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตยางพารา
    -> ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ระบบอบไม้พลังงานแสงอาทิตย์

    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​

    http://www.thaisolarpower.com/su/drying/solardry-thai.htm
     
  6. แม่นายมล

    แม่นายมล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,069
    ค่าพลัง:
    +6,258
    ขอชื่นชมความพยายาม อุตสาหะของทุกท่าน ในการหาข้อมูลได้อย่างยอดเยี่ยม
    แต่ในช่วงชำระโลก 56 วัน 7 ราตรี เราจะเอาแสงแดดมาจากไหน
    นอกจากเอาไว้ใช้หลังชำระโลกแล้ว เพราะพลังงานนี้เป็นพลังงานสะอาด

    ตอนนี้ ยังอยากใช้เลย จริงๆ นะ แต่ต้นทุนแพงมาก ถ้าลงทุนไปแล้ว
    เดี๋ยวโดนเจ้ากรรมนายเวรทำลายหมด ก็เลยตัดใจ
     
  7. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ก็เอาไปใช้ก่อนหรือหลังจากนั้นไงครับ

    เพราะมันไม่ได้มืดตลอดไป
     
  8. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    พลังงานช่วงนั้น อาจใช้ปั่นจักรยาน รัน ใส่แบตเตอรี่ไว้ครับ

     
  9. ภูติอาคเนย์

    ภูติอาคเนย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    723
    ค่าพลัง:
    +1,326
    ถ้าโรงไฟฟ้าถูกทำลายเพราะภัยพิบัติต่างๆกว่าจะฟื้นฟูได้ใช้เวลานานมาก
    แต่โซล่าเซลกับพลังงานลมนี่เอามาใช้ได้ทันทีไงครับมีประโยชน์อย่างนี้อิอิ
     
  10. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ญี่ปุ่นนำร่องบ้านพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง


    [​IMG]

    โตเกียว 8 มิ.ย. - ญี่ปุ่นผลักดันโครงการใช้พลังงานจากเซลล์เชื้อเพลิงให้แสงสว่างและทำความร้อนในที่พักอาศัย มีประชาชนสมัครเข้าร่วมโครงการแล้วหลายพันครอบครัว

    โครงการนี้มีเป้าหมายเพื่อผลักดันให้ญี่ปุ่นเป็นสังคมที่พึ่งพาพลังงานจากไฮโดรเจน เพื่อลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงปิโตรเลียม รวมทั้งลดก๊าซเรือนกระจกอันเป็นสาเหตุสำคัญของภาวะโลกร้อน และว่า ระบบเซลล์เชื้อเพลิงสำหรับครัวเรือนนอกจากจะใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าแล้ว ยังสามารถใช้เป็นแหล่งพลังงานระบบทำความร้อน ทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานต่อเนื่องโดยปราศจากเสียงรบกวน

    ที่ผ่านมา ทางการญี่ปุ่นได้เรียกร้องให้ประชาชนร่วมกันประหยัดพลังงานเพื่อลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ในอีกทางหนึ่งก็สนับสนุนให้ภาคเอกชนผู้นำด้านพลังงานและเทคโนโลยีร่วมกันพัฒนาโครงการพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง โดยทางการคาดว่า ความต้องการเซลล์เชื้อเพลิงสำหรับครัวเรือนอาจเพิ่มขึ้นถึง 550,000 ชุดในระยะอันใกล้นี้

    ด้านนายมิชิฮิโระ โมะริ รองประธานอาวุโสของบรรษัทนิปปอน ออยล์ คอร์ป หนึ่งในเอกชนที่มีส่วนร่วมในโครงการพัฒนาเซลล์เชื้อเพลิงอธิบายว่า หลักการทำงานของเซลล์เชื้อเพลิงอาศัยกระบวนการทางเคมีระหว่างออกซิเจนกับไฮโดรเจน ซึ่งไฮโดรเจนสามารผลิตได้จากวัตถุดิบหลายประเภท รวมทั้งจากขยะ นอกจากนี้ การติดตั้งระบบเซลล์เชื้อเพลิงยังรับประกันว่า ประชาชนจะมีพลังงานใช้อย่างต่อเนื่องแม้ในช่วงภัยพิบัติทางธรรมชาติ

    ปัจจุบัน ระบบเซลล์เชื้อเพลิงยังคงมีราคาสูงถึงชุดละประมาณ 2 ล้านเยน (ราว 620,000 บาท) ไม่รวมค่าติดตั้ง ซึ่งขณะนี้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่างพยายามศึกษาแนวทางลดราคาให้ต่ำที่สุด เบื้องต้นระบุว่า จะพยายามลดราคาลดครึ่งหนึ่งเพื่อกระตุ้นความต้องการของผู้บริโภค และจะลดลงให้เหลือ 500,000 เยน (ราว 157,816 บาท) ภายในปี 2558. - สำนักข่าวไทย

    2008-06-08 11:49:24

    ที่มา http://news.mcot.net/international/<!-- / message --><!-- attachments -->
     
  11. Forever In LoVE

    Forever In LoVE เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,348
    ค่าพลัง:
    +3,864
    เก็บตกเอกสารจากงาน Renewable ที่ไบเทค-บางนา ค่ะ

    ไม่ค่อยได้อะไรติดมือมาสักเท่าไร มีเวลาเดินดูงานน้อยไปนิดค่ะ

    ข้อมูลเพิ่มเติมต่อที่ http://www.mtec.or.th/th/index.asp
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • solar.jpg
      solar.jpg
      ขนาดไฟล์:
      175.1 KB
      เปิดดู:
      117
  12. Forever In LoVE

    Forever In LoVE เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,348
    ค่าพลัง:
    +3,864
    <TABLE cellPadding=0 width=705 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell Technology)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left><TABLE borderColor=#ccccff cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD>
    เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) เป็นสิ่งประดิษฐ์กรรมทางอิเลคทรอนิกส์ ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นอุปกรณ์สำหรับเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยการนำสารกึ่งตัวนำ เช่น ซิลิกอน ซึ่งมีราคาถูกที่สุดและมีมากที่สุดบนพื้นโลกมาผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อผลิตให้เป็นแผ่นบางบริสุทธิ์ และทันทีที่แสงตกกระทบบนแผ่นเซลล์ รังสีของแสงที่มีัอนุภาคของพลังงานประกอบที่เรียกว่า โฟตอน (Proton) จะถ่ายเทพลังงานให้กับอิเล็กตรอน (Electron) ในสารกึ่งตัวนำจนมีพลังงานมากพอที่จะกระโดดออกมาจากแรงดึงดูดของอะตอม (atom) และเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ ดังนั้นเมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ครบวงจรจะทำให้เกิดไฟฟ้ากระแสตรงขึ้น เมื่อพิจารณาลักษณะการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์พบว่า เซลล์แสงอาทิตย์จะมีประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงที่สุดในช่วงเวลากลางวัน ซึ่งสอดคล้องและเหมาะสมในการนำเซลล์แสงอาทิตย์มาใช้ผลิตไฟฟ้า เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพลังงานไฟฟ้าในช่วงเวลากลางวัน


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top align=right><TD width="44%">[​IMG]</TD><TD width="28%">[​IMG]</TD><TD width="28%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width="100%" bgColor=#99ccff border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left>การผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์มีจุดเด่นที่สำคัญ แตกต่างจากวิธีอื่นหลายประการ ดังต่อไปนี้
      1. ไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหวในขณะใช้งาน จึงทำให้ไม่มีมลภาวะทางเสียง
      2. ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะเป็นพิษจากขบวนการผลิตไฟฟ้า
      3. มีการบำรุงรักษาน้อยมากและใช้งานแบบอัตโนมัติได้ง่าย
      4. ประสิทธิภาพคงที่ไม่ขึ้นกับขนาด
      5. สามารถผลิตเป็นแผงขนาดต่างๆ ได้ง่าย ทำให้สามารถผลิตได้ปริมาณมาก
      6. ผลิตไฟฟ้าได้แม้มีแสงแดดอ่อนหรือมีเมฆ
      7. เป็นการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่ได้มาฟรีและมีไม่สิ้นสุด
      8. ผลิตไฟฟ้าได้ทุกมุมโลกแม้บนเกาะเล็กๆ กลางทะเล บนยอดเขาสูง และในอวกาศ
      9. ได้พลังงานไฟฟ้าโดยตรงซึ่งเป็นพลังงานที่นำมาใช้ได้สะดวกที่สุด



        ดังนั้น ไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จึงเป็นความหวังของคนทั่วโลก ในศตวรรษที่ 21 ที่จะมาถึงในอีกไม่นาน​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=title-2 vAlign=top align=left>ประวัติความเป็นมาของเซลล์แสงอาทิตย์

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left>
    เซลล์แสงอาทิตย์ถูกสร้างขึ้นมาครั้งแรกในปี ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) โดย แชปปิน (Chapin) ฟูลเลอร์ (Fuller) และเพียสัน (Pearson) แห่งเบลล์เทลเลโฟน (Bell Telephon) โดยทั้ง 3 ท่านนี้ได้ค้นพบเทคโนโลยีการสร้างรอยต่อ พี-เอ็น (P-N) แบบใหม่ โดยวิธีการแพร่สารเข้าไปในผลึกของซิลิกอน จนได้เซลล์แสงอาทิตย์อันแรกของโลก ซึ่งมีประสิทธิภาพเพียง 6% ซึ่งปัจจุบันนี้เซลล์แสงอาทิตย์ได้ถูกพัฒนาขึ้นจนมีประสิทธิภาพสูงกว่า 15% แล้ว ในระยะแรกเซลล์แสงอาทิตย์ส่วนใหญ่จะใช้สำหรับโครงการด้านอวกาศ ดาวเทียมหรือยานอวกาศที่ส่งจากพื้นโลกไปโคจรในอวกาศ ก็ใช้แผงเซลล์แสงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังไฟฟ้า ต่อมาจึงได้มีการนำเอาแผงเซลล์แสงอาทิตย์มาใช้บนพื้นโลกเช่นในปัจจุบันนี้ เซลล์แสงอาทิตย์ในยุคแรกๆ ส่วนใหญ่จะมีสีเทาดำ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาให้เซลล์แสงอาทิตย์มีสีต่างๆ กันไป เช่น แดง น้ำเงิน เขียว ทอง เป็นต้น เพื่อความสวยงาม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="58%"><TABLE cellPadding=0 width=398 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD><HR></TD></TR><TR><TD class=style37 vAlign=top align=middle>เซลล์แสงอาทิตย์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำประเภทซิลิคอน</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top align=middle><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=middle><TD>แบบผลึกเดี่ยว
    ( Single Crystal )
    </TD><TD>แบบผลึกรวม
    ( Poly Crystal )
    </TD><TD>แบบอะมอร์ฟัส
    ( Amorphous )
    </TD></TR><TR vAlign=top align=middle><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top align=left width="42%"><TABLE cellPadding=5 width=290 border=0><TBODY><TR><TD><HR></TD></TR><TR><TD>ประเภทของ " เซลล์แสงอาทิตย์ " </TD></TR><TR><TD><HR></TD></TR><TR><TD>เซลล์แสงอาทิตย์ที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
    จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
    </TD></TR><TR><TD>
    1. กลุ่ม เซลล์แสงอาทิตย์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำประเภทซิลิคอน จะแบ่งตามลักษณะของผลึกที่เกิดขึ้น คือ แบบที่เป็น รูปผลึก ( Crystal ) และแบบที่ไม่เป็นรูปผลึก (Amorphous) แบบที่เป็นรูปผลึก จะแบ่งออกเป็น2 ชนิด คือ ชนิดผลึกเดี่ยวซิลิคอน ( Single Crystalline Silicon Solar Cell) และ ชนิดผลึกรวมซิลิคอน ( Poly Crystalline Silicon Solar Cell) แบบที่ไม่เป็นรูปผลึก คือ ชนิดฟิล์มบางอะมอร์ฟัสซิลิคอน ( Amorphous Silicon Solar Cell)
    </TD></TR><TR><TD>
    2. กลุ่มเซลล์แสงอาทิตย์ที่ทำจากสารประกอบที่ไม่ใช่ซิลิคอน ซึ่งประเภทนี้ จะเป็นเซลล์แสงอาทิตย์ที่มีประสิทธิภาพสูงถึง 25% ขึ้นไป แต่มีราคาสูงมาก ไม่นิยมนำมาใช้บนพื้นโลก จึงใช้งานสำหรับดาวเทียมและระบบรวมแสงเป็นส่วนใหญ่ แต่การพัฒนาขบวนการผลิตสมัยใหม่จะทำให้มีราคาถูกลง และนำมาใช้มากขึ้นในอนาคต ( ปัจจุบันนำมาใช้เพียง 7 % ของปริมาณที่มีใช้ทั้งหมด )
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left><TABLE borderColor=#ffcc00 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left>ส่วนประกอบของเซลล์แสงอาทิตย์</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left>
    [SIZE=+1]แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นจากเซลล์แสงอาทิตย์เพียงเซลล์เดียวจะมีค่าต่ำมาก การนำมาใช้งานจะต้องนำเซลล์หลาย ๆ เซลล์ มาต่อกันแบบอนุกรมเพื่อเพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าให้สูงขึ้น เซลล์ที่นำมาต่อกันในจำนวนและขนาดที่เหมาะสมเรียกว่า แผงเซลล์แสง อาทิตย์ (Solar Module หรือ Solar Panel)[/SIZE]
    [SIZE=+1]การทำเซลล์แสงอาทิตย์ให้เป็นแผงก็เพื่อความสะดวกในการนำไปใช้งาน ด้านหน้าของแผงเซลล์ ประกอบด้วย แผ่นกระจกที่ มีส่วนผสมของเหล็กต่ำ ซึ่งมีคุณสมบัติในการยอมให้แสงผ่านได้ดี และยังเป็นเกราะป้องกันแผ่นเซลล์อีกด้วย แผงเซลล์จะต้องมีการ ป้องกันความชื้นที่ดีมาก เพราะจะต้องอยู่กลางแดดกลางฝนเป็นเวลายาวนาน ในการประกอบจะต้องใช้วัสดุที่มีความคงทนและป้อง กันความชื้นที่ดี เช่น ซิลิโคนและ อีวีเอ (Ethelele Vinyl Acetate) เป็นต้น เพื่อเป็นการป้องกันแผ่นกระจกด้านบนของแผงเซลล์ จึง ต้องมีการทำกรอบด้วยวัสดุที่มีความแข็งแรง แต่บางครั้งก็ไม่มีความจำเป็น ถ้ามีการเสริมความแข็งแรงของแผ่นกระจกให้เพียงพอ ซึ่งก็สามารถทดแทนการทำกรอบได้เช่นกัน ดังนั้นแผงเซลล์จึงมีลักษณะเป็นแผ่นเรียบ (laminate) ซึ่งสะดวกในการติดตั้ง [/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><HR></TD></TR><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=title>ขบวนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width="97%">วัสดุที่ใช้ทำเซลล์แสงอาทิตย์

    </TD><TD vAlign=top align=left width="3%"></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left>
    วัสดุสำคัญที่ใช้ทำเซลล์แสงอาทิตย์ ที่ใช้มากที่สุดในปัจจุบันได้แก่ สารซิลิคอน (Si) ซึ่งเป็นสารชนิดเดียวกับที่ใช้ทำชิพในคอมพิวเตอร์และเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ซิลิคอนเป็นสารซึ่งไม่เป็นพิษ มีการนำมาผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ใช้กันอย่างแพร่หลายเพราะมีราคาถูก คงทน และเชื่อถือได้ นอกจากนี้ยังมีวัสดุชนิดอื่นที่สามารถนำมาผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ได้ เช่น แกลเลียมอาเซไนด์ CIS และ แคดเมียมเทลเลอไรด์ แต่ยังมีราคาสูง และบางชนิดยังไม่มีการพิสูจน์เรื่องอายุการใช้งานว่าสามารถใช้งานได้นาน
    ข้อเสียของ Si : การทำให้บริสุทธิ์และอยู่ในรูปสารที่พร้อมจะทำเซลล์ฯ มีราคาแพง และ แตกหักง่ายในขบวนการผลิต
    </TD><TD vAlign=top align=left></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left>
    ขั้นตอนการผลิตสารซิลิคอนบริสุทธิ์
    </TD><TD vAlign=top align=left></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left>
    1) การผลิต MG-Si จากหินควอทไซต์หรือทราย
    SiO<SUB>2</SUB>+ 2C ----> Si + 2CO (ปฏิกิริยาภายในเตาหลอม)
    ความบริสุทธิของ Si 98 - 99%
    2) การผลิต SeG-Si จาก MG-Si
    2.1) เปลี่ยนสถานะ Si เป็นแก๊ส โดยวิธี Fractional Distillation
    Si + 3 HCl -------> SiHCl<SUB>3</SUB>+ H<SUB>2
    </SUB>2.2) SiHCl3 ทำปฏิกริยากับ H2 ได้ Si บริสุทธิ์ 99.999%
    SiHCl<SUB>3 </SUB>+ H<SUB>2</SUB> -------> Si + HCl
    เป็นการทำ Si ให้บริสุทธิ์ ขั้นตอนนี้ได้ Polycrystal
    </TD><TD vAlign=top align=left></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left><TABLE borderColor=#660099 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>
    ขบวนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ แบบผลึกเดี่ยว ( Single Crystalline )


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=bodyback>[​IMG] การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ แบบผลึกเดี่ยว ( Single Crystalline ) หรือที่รู้จักกันในชื่อ Mono-Crystalline
    การเตรียมสารซิลิคอนชนิดนี้ เริ่มต้นจากนำสารซิลิคอนซึ่งผ่านการทำให้เป็นก้อนที่มีความบริสุทธิ์สูงมาก (99.999%) มาหลอมละลายในเตา Induction Furnace ที่อุณหภูมิสูงถึง 1,500 องศาเซลเซียส เพื่อทำการสร้างแท่งผลึกเดี่ยวขนาดใหญ่ (เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-8 นิ้ว) พร้อมกับใส่สารเจือปน Boron เพื่อทำให้เกิด P-type แล้วทำให้เกิดการเย็นตัวจับตัวกันเป็นผลึกด้วย Seed ซึ่งจะตกผลึกมีขนาดหน้าตัดใหญ่ แล้วค่อยๆ ดึงแท่งผลึกนี้ขึ้นจากเตาหลอม ด้วยเทคโนโลยีการดึงผลึก จะได้แท่งผลึกยาวเป็นรูปทรงกระบอก คุณภาพของผลึกเดี่ยวจะสำคัญมากต่อคุณสมบัติของเซลล์แสงอาทิตย์ จากนั้นนำแท่งผลึกมาตัดให้เป็นแผ่นบาง ๆ ด้วยลวดตัดเพชร (Wire Cut) เรียกว่า เวเฟอร์ ซึ่งจะได้แผ่นผลึกมีความหนาประมาณ 300 ไมโครเมตร และขัดความเรียบของผิว จาก นั้นก็จะนำไปเจือสารที่จำเป็นในการทำให้เกิดเป็น p-n junction ขึ้นบนแผ่นเวเฟอร์ ด้วยวิธีการ Diffusion ที่อุณหภูมิระดับ 1,000 องศาเซลเซียสจากนั้นนำไปทำขั้วไฟฟ้าเพื่อนำกระแสไฟออกใช้ ที่ผิวบนจะเป็นขั้วลบ ส่วนผิวล่างเป็นขั้วบวก ขั้นตอนสุดท้ายจะเป็นการเคลือบฟิลม์ผิวหน้าเพื่อป้องกันการสะท้อนแสงให้น้อยที่สุด ตอนนี้จะได้เซลล์ที่พร้อมใช้งาน หลังจากนั้นก็นำไปประกอบเข้าแผงโดยใช้กระจกเป็นเกราะป้องกันแผ่นเซลล์ และใช้ซิลิโคน และ อีวีเอ (Ethelele Vinyl Acetate) ช่วยป้องกันความชื้น ในการใช้งานจริง เราจะนำเซลล์แต่ละเซลล์มาต่ออนุกรมกันเพื่อเพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟ้าให้ได้ตามต้องการ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE borderColor=#ff3300 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>
    ขบวนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ แบบผลึกรวม ( Poly Crystalline )


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG] การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ แบบผลึกรวม ( Poly Crystalline )
    การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์โดยวิธีนี้ จะมีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าวิธีแรก คือการทำแผ่นเซลล์ จะใช้วิธีการหลอมสารซิลิคอนให้ละลายพร้อมกับใส่สารเจือปน Boron เพื่อทำให้เกิด P-type แล้วเทลงในแบบพิมพ์ เมื่อสารละลายซิลิคอนแข็งตัวก็จะได้เป็นแท่งซิลิคอนแบบผลึกรวม ( ตกผลึกไม่พร้อมกัน ) จากนั้นนำไปตัดเป็นแผ่นเช่นเดียวกับแบบผลึกเดี่ยว ความแตกต่างระหว่างแบบผลึกเดี่ยวและแบบผลึกรวมสังเกตได้จากผิวผลึก ถ้ามีโทนสีที่แตกต่างกันซึ่งเกิดจากผลึกเล็กq หลายผลึกในแผ่นเซลล์จะเป็นแบบผลึกรวม ในขณะที่แบบผลึกเดี่ยวจะเห็นเป็นผลึกเนื้อเดียว คือ มีสีเดียวตลอดทั้งแผ่น ส่วนกรรมวิธีการผลิตเซลล์ที่เหลือจะเหมือนกัน เซลล์แสงอาทิตย์แบบผลึกรวม (Poly Crystalline) จะให้ประสิทธิภาพต่ำกว่าแบบผลึกเดี่ยว ประมาณ 2-3 % อย่างไรก็ตามเซลล์ทั้ง 2 ชนิด มีข้อเสียในการผลิต คือ แตกหักง่ายเช่นกัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><HR></TD></TR><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD></TD><TD align=left>หลักการทำงาน " เซลล์แสงอาทิตย์ </TD></TR><TR><TD width="48%"></TD><TD vAlign=top align=left width="52%">การทำงานของเซลล์แสงอาทิตย์ เป็นขบวนการเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นกระแสไฟฟ้าได้โดยตรง โดยเมื่อแสงซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและมีพลังงานกระทบกับสารกึ่งตัวนำ จะเกิดการถ่ายทอดพลังงานระหว่างกัน พลังงานจากแสงจะทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า (อิเลคตรอน) ขึ้นในสารกึ่งตัวนำ จึงสามารถต่อกระแสไฟฟ้าดังกล่าวไปใช้งานได้ (ตามรูป)</TD></TR><TR align=right><TD class=style41 vAlign=top colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style41 vAlign=top align=left>1. n - type ซิลิคอน ซึ่งอยู่ด้านหน้าของเซลล์ คือ สารกึ่งตัวนำที่ได้การโดปปิ้งด้วยสารฟอสฟอรัส มีคุณสมบัติเป็นตัวให้อิเล็กตรอนเมื่อรับพลังงานจากแสงอาทิตย์
    p - type ซิลิคอน คือสารกึ่งตัวนำที่ได้การโดปปิ้งด้วยสารโบรอน ทำให้โครงสร้างของอะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน (โฮล) เมื่อรับพลังงาน จากแสงอาทิตย์จะทำหน้าที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอน เมื่อนำซิลิคอนทั้ง 2 ชนิด มาประกบต่อกันด้วย p - n junction จึงทำให้เกิดเป็น " เซลล์แสงอาทิตย์ " ในสภาวะที่ยังไม่มีแสงแดด n - type ซิลิคอนซึ่งอยู่ด้านหน้าของเซลล์ ส่วนประกอบส่วนใหญ่พร้อมจะให้อิเล็กตรอน แต่ก็ยังมีโฮลปะปนอยู่บ้างเล็กน้อย ด้านหน้าของ n - type จะมีแถบโลหะเรียกว่า Front Electrode ทำหน้าที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอน ส่วน p - type ซิลิคอนซึ่งอยู่ด้านหลังของเซลล ์ โครงสร้างส่วนใหญ่เป็นโฮล แต่ยังคงมีอิเล็กตรอนปะปนบ้างเล็กน้อย ด้านหลังของ p - type ซิลิคอนจะมีแถบโลหะเรียกว่า Back Electrode ทำหน้าที่เป็นตัวรวบรวมโฮล
    </TD><TD vAlign=bottom align=right>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=left>2. เมื่อมีแสงอาทิตย์ตกกระทบ แสงอาทิตย์จะถ่ายเทพลังงานให้กับอิเล็กตรอนและโฮล ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว เมื่อพลังสูงพอทั้งอิเล็กตรอนและโฮลจะวิ่งเข้าหาเพื่อจับคู่กัน อิเล็กตรอนจะวิ่งไปยังชั้น n - type และโฮลจะวิ่งไปยังชั้น p type</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left>3. อิเล็กตรอนวิ่งไปรวมกันที่ Front Electrode และโฮลวิ่งไปรวมกันที่ Back Electrode เมื่อมีการต่อวงจรไฟฟ้าจาก Front Electrode และ Back Elec trode ให้ครบวงจร ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น เนื่องจากทั้งอิเล็กตรอนและโฮลจะวิ่งเพื่อจับคู่กัน </TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>การผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
    <HR></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left>การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left>
    [​IMG] การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ (PV Stand alone system)
    เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ได้รับการออกแบบสำหรับใช้งานในพื้นที่ชนบทที่ไม่มีระบบสายส่งไฟฟ้า อุปกรณ์ระบบที่สำคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับแบบอิสระ
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left>
    [​IMG] การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจำหน่าย (PV Grid connected system)
    เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ถูกออกแบบสำหรับผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ เข้าสู่ระบบสายส่งไฟฟ้าโดยตรง ใช้ผลิตไฟฟ้าในเขตเมือง หรือพื้นที่ที่มีระบบจำหน่ายไฟฟ้าเข้าถึง อุปกรณ์ระบบที่สำคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิดต่อกับระบบจำหน่ายไฟฟ้า
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left>
    [​IMG] การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน (PV Hybrid system)
    เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ถูกออกแบบสำหรับทำงานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าอื่นๆ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลม และเครื่องยนต์ดีเซล ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลม และไฟฟ้าพลังน้ำ เป็นต้น โดยรูปแบบระบบจะขึ้นอยู่กับการออกแบบตามวัตถุประสงค์โครงการเป็นกรณีเฉพาะ
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left><TABLE borderColor=#ff9900 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD><TABLE cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=title>คุณสมบัติและตัวแปรที่สำคัญของเซลล์แสงอาทิตย์ </TD></TR><TR><TD>ตัวแปรที่สำคัญที่มีส่วนทำให้เซลล์แสงอาทิตย์มีประสิทธิภาพการทำงานในแต่ละพื้นที่ต่างกัน และมีความสำคัญในการพิจารณานำไปใช้ในแต่ละพื้นที่ ตลอดจนการนำไปคำนวณระบบหรือคำนวณจำนวนแผงแสงอาทิตย์ที่ต้องใช้ในแต่ละพื้นที่ มีดังนี้ </TD></TR><TR><TD>1. ความเข้มของแสง </TD></TR><TR><TD>
    กระแสไฟ (Current) จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มของแสง หมายความว่าเมื่อความเข้มของแสงสูง กระแสที่ได้จากเซลล์แสงอาทิตย์ก็จะสูงขึ้น ในขณะที่แรงดันไฟฟ้าหรือโวลต์แทบจะไม่แปรไปตามความเข้มของแสงมากนัก ความเข้มของแสงที่ใช้วัดเป็นมาตรฐานคือ ความเข้มของแสงที่วัดบนพื้นโลกในสภาพอากาศปลอดโปร่ง ปราศจากเมฆหมอกและวัดที่ระดับน้ำทะเลในสภาพที่แสงอาทิตย์ตั้งฉากกับพื้นโลก ซึ่งความเข้ม ของแสงจะมีค่าเท่ากับ 100 mW ต่อ ตร.ซม. หรือ 1,000 W ต่อ ตร.เมตร ซึ่งมีค่าเท่ากับ AM 1.5 (Air Mass 1.5) และถ้าแสงอาทิตย์ทำมุม 60 องศากับพื้นโลกความเข้มของแสง จะมีค่าเท่ากับประมาณ 75 mW ต่อ ตร.ซม. หรือ 750 W ต่อ ตร.เมตร ซึ่งมีค่าเท่ากับ AM2 กรณีของแผงเซลล์แสงอาทิตย์นั้นจะใช้ค่า AM 1.5 เป็นมาตรฐานในการวัดประสิทธิภาพของแผง
    </TD></TR><TR><TD>2. อุณหภูมิ</TD></TR><TR><TD>
    กระแสไฟ (Current) จะไม่แปรตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่แรงดันไฟฟ้า (โวลท์) จะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้วทุกๆ 1 องศาที่เพิ่มขึ้น จะทำให้แรงดันไฟฟ้าลดลง 0.5% และในกรณีของแผงเซลล์แสงอาทิตย์มาตรฐานที่ใช้กำหนดประสิทธิภาพของแผงแสงอาทิตย์คือ ณ อุณหภูมิ 25 องศา C เช่น กำหนดไว้ว่าแผงแสงอาทิตย์มีแรงดันไฟฟ้าที่วงจรเปิด (Open Circuit Voltage หรือ V oc) ที่ 21 V ณ อุณหภูมิ 25 องศา C ก็จะหมายความว่า แรงดันไฟฟ้าที่จะได้จากแผงแสงอาทิตย์ เมื่อยังไม่ได้ต่อกับอุปกรณ์ไฟฟ้า ณ อุณหภูมิ 25 องศา C จะเท่ากับ 21 V ถ้าอุณหภูมิสูงกว่า 25 องศา C เช่น อุณหภูมิ 30 องศา C จะทำให้แรงดันไฟฟ้าของแผงแสงอาทิตย์ลดลง 2.5% (0.5% x 5 องศา C) นั่นคือ แรงดันของแผงแสงอาทิตย์ที่ V oc จะลดลง 0.525 V (21 V x 2.5%) เหลือเพียง 20.475 V (21V​
     
  13. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    พลังงานแสงอาทิตย์
    ถาม Solar cell (เซลล์แสงอาทิตย์) คืออะไร
    ตอบ
    Solar cell (เซลล์แสงอาทิตย์) เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นอุปกรณ์สำหรับการเปลี่ยนพลังงานแสง
    ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยการนำสารกึ่งตัวนำ เช่น ซิลิคอนซึ่งมีราคาถูกที่สุดนำมาผ่านกระบวนการผลิตให้เป็น
    เซลล์แสงอาทิตย์ การทำงานของเซลล์แสงอาทิตย์ในทันทีที่มีแสงตกกระทบบนแผ่นเซลล์ รังสีดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะถ่ายเทพลังงานให้แก่ Electron ใน เซลล์แสงอาทิตย์ หากมีพลังงานมากพอก็จะกระโดดออกมาจากแรงดึงดูดของ Atom และสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ เมื่อ Electron มีการเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อของสารกึ่งตัวนำ
    จนครบวงจร ก็จะทำให้เกิดไฟฟ้ากระแสตรงขึ้น เซลล์แสงอาทิตย์เป็นพลังงานสะอาด และไม่สร้างมลภาวะใดๆ ให้กับสิ่งแวดล้อมขณะใช้งาน การติดตั้งระบบเซลล์แสงอาทิตย์ ประกอบด้วย แผงเซลล์แสงอาทิตย์ ชุดแบตเตอรี่ อินเวอร์เตอร์ (กรณีเป็นระบบไฟฟ้ากระแสสลับ) อุปกรณ์ควบคุมการประจุ และวัสดุ/อุปกรณ์อื่นๆ เช่น สายไฟฟ้า เต้ารับ สวิทซ์แผงควบคุม เป็นต้น

    ถาม
    ขั้นตอนการทำเครื่องสูบน้ำพลังแสงอาทิตย์
    ตอบ
    ขั้นตอนการทำเครื่องสูบน้ำพลังแสงอาทิตย์ขนาดเล็ก สำหรับใช้ในครัวเรือนซึ่งมีความต้องการใช้น้ำไม่มากนัก ประมาณ 200 ลิตร/คน/วัน โดยระบบจะประกอบด้วย
    1. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ สำหรับผลิตกระแสไฟฟ้าจ่ายตรงให้กับมอเตอร์ของปั๊ม
    2. โครงสร้างรองรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์
    3. ชุดเครื่องสูบน้ำ (มอเตอร์และปั๊ม)
    4. อุปกรณ์ป้องกันชุดเครื่องสูบน้ำชำรุด ในกรณีน้ำในบ่อหรือแหล่งสูบน้ำแห้ง
    5. ท่อน้ำ สำหรับนำน้ำจากบ่อน้ำหรือแหล่งสูบน้ำขึ้นมาใช้ประโยชน์

    ถาม
    ถ้าจะนำระบบเซลล์แสงอาทิตย์มาผลิตไฟฟ้าใช้กับบ้านพักอาศัยควรจะใช้กี่กิโลวัตต์ ใช้เงินลงทุนประมาณเท่าไร
    อายุการใช้งานของอุปกรณ์แต่ละอย่างเป็นอย่างไรโดยรวมแล้วค่าใช้จ่ายจะแพงกว่าหรือถูกกว่าซื้อไฟจาการไฟฟ้า
    ตอบ
    ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้กับบ้านพักอาศัยโดยทั่วไปมีขนาดประมาณ 3 กิโลวัตต์ ใช้เงินลงทุนประมาณ 600,000 บาท โดยแผงเซลล์แสงอาทิตย์มีอายุการใช้งานประมาณ 25 ปี และอินเวอร์เตอร์มีอายุการใช้งานประมาณ
    10 ปี ทั้งนี้ ต้นทุนค่าไฟฟ้าของระบบเซลล์แสงอาทิตย์จะแพงกว่าที่ซื้อไฟฟ้าจากการไฟฟ้าประมาณ 3 เท่า

    ถาม
    อยากทราบต้นทุนติดตั้งอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ของบ้านพักอาศัยทั่วไป 2 ชั้น
    1 หลัง ระยะเวลาคุ้มทุน กระทรวงมีการสนับสนุนอย่างไร และจะติดต่อที่ได้ไหน
    ตอบ
    บ้านพักอาศัยทั่วไป 2 ชั้น ใช้แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่มีค่ากำลังไฟฟ้าประมาณ 3 กิโลวัตต์ โดย ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ มีราคาอยู่ที่ระดับประมาณ 200 บาท/วัตต์ ดังนั้นต้องลงทุนติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ทั้งหมดประมาณ 200*3*1,000 = 600,000 บาท เมื่อพิจารณาที่อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยจากการไฟฟ้าประมาณ 3.50 บาท ต่อหน่วยมีค่าบำรุงรักษาระบบฯ ปีละ 200 บาท ต่อกิโลวัตต์ โดยกำหนดให้อัตราค่าไฟและ
    ค่าบำรุงรักษารายปีคงที่ จะมีระยะเวลาคืนทุนของระบบเซลล์แสงอาทิตย์ประมาณ 50 ปี (มีระยะเวลาเกินอายุการใช้งานของระบบเซลล์แสงอาทิตย์ 25 ปี) ปัจจุบัน มีการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน(พลังงานแสงอาทิตย์) และมีการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก(VSPP)ที่ผลิตไฟฟ้าได้จากพลังงานหมุนเวียน ซึ่งทาง
    การไฟฟ้าจะรับซื้อไฟ โดยมีส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า(Adder)ในราคา 8 บาทต่อหน่วย รายละเอียดสามารถสอบถามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าได้ที่การไฟฟ้านครหลวง หรือ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

    ถาม
    ถ้าจะผลิตไฟฟ้าโดยพลังงานแสงอาทิตย์ขายให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิต ขอทราบขั้นตอนการติดต่อและค่าใช้จ่าย
    (มีเงินทุนประมาณ 500,000 บาท )และมีที่ไหนเปิดอบรมเกี่ยวกับกระบวนการนำพลังงานทดแทนมาใช้เชิงพาณิชย์
    ตอบ
    ปัจจุบัน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและการไฟฟ้านครหลวง ได้มีระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าชื่อ "ระเบียบการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่ายว่าด้วยการเดินเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนานกับระบบของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตสำหรับปริมาณพลังงานไฟฟ้าไม่เกิน
    10 เมกะวัตต์" ผู้ที่ประสงค์จะขายไฟฟ้าที่ผลิตได้จะต้องยื่นแบบคำขอจำหน่ายไฟฟ้าและการเชื่อมโยงระบบไฟฟ้า สำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ เพื่อจ่ายเข้าระบบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค/การไฟฟ้านครหลวง โดยสามารถขอแบบฟอร์มและยื่นได้ที่การไฟฟ้าฯ ดังกล่าว ทุกเขต ในกรณีที่มีการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าแล้วเสร็จ และได้ยื่นแบบคำขอฯ จะมีเจ้าหน้าที่ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค/การไฟฟ้านครหลวง) มาตรวจสอบระบบเซลล์แสงอาทิตย์ ก่อนที่จะขนานเข้ากับระบบของการไฟฟ้าฯ ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ด้วย รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถขอได้จากการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย กรณีที่มีเงินลงทุนติดตั้งระบบประมาณ
    500,000 บาท จะสามารถติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ขนาดประมาณ 2-2.5 กิโลวัตต์ ซึ่งพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ต่อปีประมาณ 1,200 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อกิโลวัตต์เซลล์แสงอาทิตย์ การเปิดอบรมเกี่ยวกับกระบวนการนำพลังงานทดแทนมาใช้เชิงพาณิชย์นั้น ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานใดดำเนินการเป็นการเฉพาะ แต่ท่านสามารถศึกษาได้จาก Web site ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทางด้านพลังงานทดแทน เช่น EGAT, PTT, DEDE เป็นต้น
    ถาม
    อยากทราบเรื่องพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ กับการเกษตรที่จะต้องเริ่มจากอะไร และต้องซื้อหนังสือเกี่ยวกับอะไร เริ่มจากพื้นฐาน
    ตอบ
    พลังงานแสงอาทิตย์สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานกับการเกษตรได้หลายแบบ เช่น
    1. ปั๊มสูบน้ำด้วยพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์
    2. เครื่องนวดข้าวด้วยพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์
    3. ระบบฉีดโปรยน้ำด้วยพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ เพื่อการเพาะปลูกพืชผัก
    4. ระบบชลประทานด้วยพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ โดยเครื่องสูบน้ำจากคลองไหลไปตามทางส่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการเพาะปลูก
    5. แสงไฟกรีดพาราด้วยพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์
    6. เครื่องอบแห้งผลิตผลทางการเกษตรด้วยพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์
    ดังนั้น ขึ้นอยู่กับว่าจะนำพลังงานแสงอาทิตย์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้งานในรูปแบบไหน โดยพลังงานจากแสงอาทิตย์นำไปประยุกต์ใช้งานได้ใน 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ ผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยใช้เซลล์แสงอาทิตย์ และผลิตพลังงานความร้อน
     
  14. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    สวนสาธิตพลังงานทดแทน

    บ้านประหยัดพลังงานนำร่อง 8 เทคโนโลยีสร้างสรรค์
    ปัจจุบัน น้ำมันเชื้อเพลิงยังคงเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งประเทศไทยไม่มีแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์มากเพียงพอกับความต้องการของปริมาณผู้ใช้ และยิ่งในขณะนี้ สถานการณ์ความต้องการใช้พลังงานมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ทำให้ประเทศไทยต้องนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์มากขึ้น จึงเป็นเรื่องจำเป็นและเร่งด่วนที่ต้องมีการรณรงค์ให้มีการอนุรักษ์ พัฒนา จัดหา และส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งสนับสนุนเทคโนโลยีพลังงานทดแทน เพื่อลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งต้องนำเข้าจากต่างประเทศ และเป็นการลดปัญหาการขาดแคลนพลังงานในอนาคต ตลอดจนช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากการใช้พลังงานในปัจจุบัน

    กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
    โดยสำนักถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยี (สถผ.)
    เป็นหน่วยงานที่จัดทำแผนพัฒนาและส่งเสริมการใช้พลังงาน
    ได้นำขบวนการผลิต ผลผลิตต่าง ๆ ทั้งในภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และในชีวิตประจำวัน มาจัดทำเป็นโครงการสวนสาธิตการใช้เทคโนโลยีพลังงานทดแทน เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางฝึกอบรม สาธิต และดูงานทางด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานให้แก่เยาวชน และประชาชน เพื่อที่จะได้นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน<O:p

    สวนสาธิตฯ แห่งนี้ตั้งอยู่ในบริเวณสำนักงานพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานพื้นที่ 4 จังหวัดราชบุรี เป็นสถานที่เรียนรู้
    และเผยแพร่เทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเพื่อการใช้ประโยชน์
    และลดค่าใช้จ่าย มีทั้งหมด 8 เทคโนโลยี ได้แก่<O:p
    1. เครื่องทำความร้อนพลังงานแสงอาทิตย์<O:p
    2. ระบบผลิตไฟฟ้าในครัวเรือนด้วยพลังแสงอาทิตย์
    <O:p3. เครื่องอบแห้งแบบต่าง ๆ <O:p
    4. เครื่องกลั่นน้ำพลังแสงอาทิตย์แบบต่าง ๆ <O:p
    5. เครื่องสูบน้ำพลังแสงอาทิตย์<O:p
    6. การผลิตและการใช้เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง “ซูเปอร์อั้งโล่”<O:p
    7. บ้านประหยัดพลังงาน ซึ่งเป็นบ้านพักอาศัยที่เน้นการออกแบบให้บ้านมีความเย็นและอยู่สบายโดยวิถีทางธรรมชาติเป็นหลัก<O:p
    สำหรับค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างบ้านประหยัดพลังงานนี้มีราคาเริ่มต้นเพียง 5 แสนบาท ถือได้ว่าเป็นทางเลือกใหม่ของผู้บริโภคชั้นกลาง ที่สามารถสร้างบ้านในราคาประหยัดด้วยงบประมาณที่ไม่สูงเกินความจำเป็น<O:p

    การผลิตและการใช้เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง “ซูเปอร์อั้งโล่”<O:p
    <O:p
    นอกจากนี้ ยังมีโครงการหมู่บ้านประหยัดพลังงานในชนบท เพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาการใช้พลังงานในชนบท หมู่บ้านแห่งนี้ตั้งอยู่ที่บ้านศรีสุราษฎร์ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี เป็นการนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาดัดแปลง โดยใช้เทคโนโลยีมาเพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุเหลือทิ้งภายในหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นผลที่ได้จะสามารถพัฒนากระบวนการถ่ายทอดและการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการใช้และอนุรักษ์พลังงานตามนโยบายของรัฐบาล ตลอดจนลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานลง ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และเกิดเป็นแบบอย่างการใช้พลังงานในครัวเรือนของหมู่บ้านพลังงานในชนบท สำหรับปัจจุบันและอนาคต.

    ข้อมูลเพิ่มติดต่อได้ที่ สำนักงานเลขานุการกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

    โทร. 0-2223-0021-9 ต่อ 1433-4 , 1268 ,1262 และ สำนักงานพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานพื้นที่ 4 (สพพ.4 ราชบุรี) โทร 0-3239-1124<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 สิงหาคม 2008

แชร์หน้านี้

Loading...