พลังงาน...ยามเกิดภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ZZ, 19 มกราคม 2007.

  1. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    หัวข้อนี้...จัดตั้งเพื่อรวบรวม เทคโนโลยีประดามี ที่สามารถให้พลังงานแก่เรา ในยามเกิดภัยพิบัติ

    โดยไม่จำกัดแค่พลังงานไฟฟ้า แต่หมายถึง...พลังงานที่ใช้ในชีวิตประจำวันทั้งหมด...

    1. พลังงานความร้อน...ใช้ในการหุงหาอาหาร และให้ความอบอุ่น เช่น ยามเกิดความหนาวจากนิวเคียร์ โลกมืดไประยะเวลาหนึ่ง เนื่องจากละอองฝุ่นฟุ้งกระจายไปทั่วโลก หรืออื่นๆ

    2. พลังงานไฟฟ้า... ใช้เพื่อจ่ายให้แก่อุปกรณ์บางชนิดที่มีความจำเป็น เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสาร เครื่องมือทางการแพทย์

    3. แสงสว่าง... ให้ความสว่างในพื้นที่หลบภัย และพื้นที่จำเป็น หรือใช้เพื่อการส่งสัญญาณติดต่อสื่อสาร หรือส่งสัญญาณฉุกเฉิน (เช่น พลุสัญญาณ)

    4. พลังงานกลและเครื่องกล...ใช้เพื่อการคมนาคม หรือเพื่อเป็นต้นกำลังในการผลิตไฟฟ้า หรือเพื่อผ่อนแรงในการทำงาน หมายรวมถึง เครื่องจักรกลที่มีความจำเป็นในภาวะวิกฤติ เครื่องกลช่วยกู้ภัย (ท่านที่อยู่มูลนิธิกู้ภัยต่างๆคงทราบดี)

    5. อื่นๆ
     
  2. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    น้ำมันพืช และประโยชน์ของน้ำมันพืช

    น้ำมันที่ได้จากพืช ก็น้ำมันพืช ต่างๆนั่นแหละ...สามารถให้พลังงานได้หลายอย่างในตัวของมันเองอยู่แล้ว เช่น...

    1. พลังงานความร้อน...นำไปผ่านความร้อนแก่อาหาร เพื่อการปรุงอาหาร เช่น การทอด

    2. แสงสว่าง...นำไปจุดตะเกียงเพื่อให้แสงสว่าง และปั่นไฟ

    3. พลังงานกล...นำไปใส่เครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็ก...เพื่อปั่นไฟ หรือนำไปทำไบโอดีเซล เพื่อใส่รถยนต์เพื่อการคมนาคม ยามขาดแคลนน้ำมันปิโตเลี่ยม


    อนึ่งเราสามารถนำ...น้ำมันพืช...ไปใส่รถยนต์ดีเซลรุ่นเก่าๆได้ทันทีเพียงแต่ต้อง

    3.1 กรอง...เพื่อป้องกันการอุดตันในหัวฉีด
    3.2 และต้องมีการอุ่นน้ำมัน....เพื่อลดความหนืด (ก่อนจ่ายไปยังเครื่องยนต์)


    กรรมวิธีได้มาซึ่งน้ำมันพืช...(ขอการสนับสนุนจากท่านที่มีข้อมูลด้วยครับ...)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มกราคม 2007
  3. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    <TABLE align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>ไบโอดีเซล</TD></TR><TR><TD align=middle><HR></TD></TR><TR><TD>ไบโอดีเซล คือน้ำมันเชื้อเพลิงที่ผลิตมาจากน้ำมันพืชหรือไขมันสัตว์ โดยผ่านขบวนการที่ทำให้โมเลกุลเล็กลง ให้อยู่ในรูปของ เอทิลเอสเตอร์ (Ethyl esters) หรือ เมทิลเอสเตอร์ (Methyl esters) ซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับน้ำมันดีเซลมาก สามารถใช้ทดแทนน้ำมันดีเซลได้โดยตรง </TD></TR><TR><TD>ปฏิกิริยาเคมี</TD></TR><TR><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD><TABLE borderColor=#000000 cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#ccffcc border=1><TBODY><TR><TD>น้ำมันพืช </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>+ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE borderColor=#000000 cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#ccffff border=1><TBODY><TR><TD>เมทานอล (Methanol)
    หรือ เอทานอล (Ethanol)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>--------> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE borderColor=#000000 cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#ffff99 border=1><TBODY><TR><TD>เมทิลเอสตอร์ (Methyl esters)</U>
    หรือ เอทิลเอสเตอร์ (Ethyl esters)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>+ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE borderColor=#000000 cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#c0c0c0 border=1><TBODY><TR><TD>กลีเซอรีน </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD>วิธีการผลิตไบโอดีเซล (Biodiesel) จากน้ำมันพืช</TD></TR><TR><TD>สารตั้งต้น</TD></TR><TR><TD>1. น้ำมันมรกต (จากปาล์ม)</TD></TR><TR><TD>2. โปเตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) หรือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 1 % (g/ml)</TD></TR><TR><TD>3. เมทานอล (Methanol) หรือ เอทานอล (Ethanol) 25 %</TD></TR><TR><TD>ขั้นตอน</TD></TR><TR><TD><TABLE><TBODY><TR><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>1. นำน้ำมันพืชที่ทำจากปาล์มมาจำนวนหนึ่ง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>2.ชั่งสารโปเตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) 1 % โดยน้ำหนัก
    ต่อปริมาตรของน้ำมันพืช (g/ml)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0><TBODY><TR><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>3. ตวงเมทานอลจำนวน 25 % ของน้ำมันพืช
    แล้วผสมโปเตสเซียมไฮดรอกไซด์ที่เตรียมไว้
    คนให้เข้ากัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>4. อุ่นน้ำมันพืชที่เตรียมไว้ให้ได้อุณหภูมิ 45 - 50 C</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0><TBODY><TR><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>5. เทสารละลายโปเตสเซียมไฮดรอกไซด์กับเมทานอล
    ลงในน้ำมันพืชที่อุ่น คนเข้ากัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>6. ยกส่วนผสมลงจากเตาตั้งทิ้งไว้จะเกิดการแยกชั้นระหว่าง
    เมทิลเอสเตอร์ กับ กลีเซอรีน
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE border=0><TBODY><TR><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>7. แยกน้ำมันไบโอดีเซล (เมทิลเอสตอร์ ) ส่วนบนออกจาก
    กลีเซอรีนด้านล่าง แล้วผ่านกระบวนการ Wash เพื่อกำจัด
    แอลกอฮอล์และโปเตสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ตกค้าง
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD></TD><TD><TABLE><TBODY><TR><TD>8. นำไปเติมแทนน้ำมันดีเซลหรือใช้ร่วมกับก๊าซธรรมชาติได้เป็นอย่างดี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></U>
    จาก... http://www.navy.mi.th/dockyard/biodesel.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มกราคม 2007
  4. boko0121

    boko0121 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +7,736
    และพลังงานจากแบ็ตเตอร์รี่ละอาจจะใช้ได้ถ้าเราชาจไว้ให้เต็มก่อนเกิดภัย
     
  5. boko0121

    boko0121 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +7,736
    เติมแทนน้ำมันได้ อย่างนี้ก็ดีซิครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มกราคม 2007
  6. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    Biodiesel Recipe from New Oil

    The following are recipes from research reports acquired from the National Biodiesel Board.

    University of Idaho
    Transesterification Process to Manufacture Ethyl Ester of Rape Oil by Roger A Korus, et al.
    Ingredients:
    • 250g of rapeseed oil
    • 2.5 g (1% by weight of the oil) of potassium hydroxide - The catalyst
    • 72 g of ethanol (200 proof) (twice as much as the minimum necessary)
    Dissolve the catalyst in the ethanol which will require stirring and slight heating. Add ethanol/catalyst mixture to the oil and stir the mixture vigorously. After 120 minutes of reaction time at room temperature the mixture was allowed to sit overnight while separation occurs. Pour off the biodiesel from the top of the container.
    Washing the biodiesel
    Water is sprayed at low velocity on top of a tall column of biodiesel. The water will wash away any excess alcohol and catalyst.It will emulsify somewhat with the biodiesel. The less this is agitated the better as agitation will cause more emulsification and less useful biodiesel. Let this sit for 24-48 hours until the water has settled.
    University of Idaho
    Production and Testing of Ethyl and Methyl Esters by Charles L Peterson, etal. 1994
    Methyl Ester Biodiesel Ingredients:
    For Methyl Ester Biodiesel
    MeOH = .225 x Oil
    KOH = Oil/100
    where:
    • Oil = desired amount of oil in liters
    • MeOH = amount of methanol in liters
    • KOH = amount of potassium hydroxide require in Kg
    For Ethyl Ester Biodiesel

    EtOH= .2738 x Oil
    KOH = Oil/85
    where:
    • Oil = desired amount of oil in liters
    • EtOH = amount of ethanol in liters
    • KOH = amount of potassium hydroxide require in Kg
    Methods
    The catalyst is dissolved into the alcohol by vigorous stirring in a small reactor. The oil is transferred into the biodiesel reactor and then the catalyst /alcohol mixture is pumped into the oil and the final mixture is stirred vigorously for 2 hours. A successful reaction produces two liquid phases: ester and crude glycerol. Crude glycerol,the heavier liquid will collect at the bottom after several hours of settling.Phase separation can be observed with 10 minutes and can be complete within 2 hours of settling. Complete settling can take as long as 20 hours.
    After settling is complete, water is added at the rate of 5.5 percent by volume of the oil and then stirred for 5 minutes and the glycerol is allowed to settle again. After settling is complete the glycerol is drained and the ester layer remains. Washing the ester is a two step process which is carried out with extreme care.A water wash solution at the rate of 28 percent by volume of oil and 1 gram of tannic acid per liter of water is added to the ester and gently agitated. Air is carefully introduced into the aqueous layer while simultaneously stirring very gently. This process is continued until the ester layer becomes clear. After settling the aqueous solution is drained and water alone is added at 28 percent by volume of oil for the final washing.
    Anonymous Recipe

    Ingredients:

    • 100 lbs of Soybean Oil
    • 15 lbs of alcohol (methynol)
    • 1 lb of catalyst (sodium hydroxide)
    Products:

    • 100 lbs biodiesel
    • 10 lbs glycerol
    • 5 lbs methynol (reusable)
    • 1 lb soap
     
  7. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    [FONT=Times New Roman,Georgia,Times][FONT=Times New Roman,Georgia,Times][FONT=Times New Roman,Georgia,Times][FONT=Times New Roman,Georgia,Times][FONT=Times New Roman,Georgia,Times][FONT=Times New Roman,Georgia,Times]Make your own biodiesel[/FONT]

    [FONT=Arial,Helvetica,Geneva,Swiss,SunSans-Regular]Spanish version -- Versi&oacute;n en espa&ntilde;ol[/FONT]
    [FONT=Arial,Helvetica,Geneva,Swiss,SunSans-Regular]Portuguese version[/FONT]
    [FONT=Times New Roman,Georgia,Times][​IMG]Anybody can make biodiesel. It's easy, you can make it in your kitchen -- and it's BETTER than the petro-diesel fuel the big oil companies sell you. Your diesel motor will run better and last longer on your home-made fuel, and it's much cleaner -- better for the environment and better for health. If you make it from used cooking oil it's not only cheap but you'll be recycling a troublesome waste product. Best of all is the GREAT feeling of freedom, independence and empowerment it will give you. Here's how to do it -- everything you need to know. [/FONT]
    [FONT=Times New Roman,Georgia,Times]Three choices[/FONT][FONT=Times New Roman,Georgia,Times]
    1. Mixing it
    2. Straight vegetable oil
    3. Biodiesel or SVO?
    Biodiesel
    Where do I start?
    What's next?
    The process
    Make your first test batch
    Our first biodiesel
    Biodiesel from new oil
    Biodiesel from waste oil
    Moving on to bigger things
    Scaling up
    Removing the water
    Washing
    Using biodiesel
    Safety
    More about methanol
    How much methanol?
    Ethyl esters -- making ethanol biodiesel
    Reclaiming excess methanol
    More about lye
    Using KOH
    How much lye to use?
    Basic titration
    Better titration
    Accurate measurements
    Joe Street's titrator
    pH meters

    Phenolphthalein
    pH meters vs phenolphthalein
    High FFA levels
    Deacidifying WVO
    No titration?
    The basic lye quantity -- 3.5 grams?
    Mixing the methoxide
    Stock methoxide solution
    Poor man's titration
    How much glycerine? Why isn't it solid?

    PET bottle mixers

    Viscosity testing
    How the process works
    Animal fats, tallow and lard
    What are Free Fatty Acids?
    Iodine Values
    -- High Iodine Values
    -- Talking about the weather
    -- Summary
    Hydrogenated oil, shortening, margarine
    Oxidation and polymerisation
    Which method to use?
    Why can't I start with the Foolproof method?
    Quality
    Quality testing
    Cetane Numbers
    National standards for biodiesel
    -- standards and the homebrewer
    -- standard testing
    Biodiesel in gasoline engines
    Storing biodiesel
    Home heating

    Lamps and stoves
    Other uses
    Fats and oils -- resources
    Diesel information
    Identifying plastics[/FONT]

    จาก... http://journeytoforever.org/biodiesel_make.html[/FONT][/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มกราคม 2007
  8. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    <TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE><!-- This piece of code pulls in the file menu.html --><TBODY><TR><!-- Navigation Here --><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><!-- Biodiesel Tutorials Section --><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle bgColor=#003366><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD>Getting Started - Espa๑ol</TD></TR><TR><TD>How It's Made</TD></TR><TR><TD>Titrating Oil</TD></TR><TR><TD>Making A Small Batch</TD></TR><TR><TD>Washing A Small Batch</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><!-- Biodiesel Equipment Section --><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle bgColor=#003366><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD>'Appleseed' Processor</TD></TR><TR><TD>'Appleseed' Examples</TD></TR><TR><TD>Carboy Methoxide Mixer</TD></TR><TR><TD>'Dixie Cup' Scale</TD></TR><TR><TD>Fueling Station</TD></TR><TR><TD>Oil Collection Tank</TD></TR><TR><TD>Scales For Biodiesel</TD></TR><TR><TD>Standpipe Wash Tank</TD></TR><TR><TD>Titration Station</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><!-- Advanced Topics Section --><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle bgColor=#003366><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD>Biodiesel Safety</TD></TR><TR><TD>Buying Methanol</TD></TR><TR><TD>Storage Considerations</TD></TR><TR><TD>Testing Oil For Water</TD></TR><TR><TD>Quantitative Water Test</TD></TR><TR><TD>Negotiating For WVO</TD></TR><TR><TD>Filtering Oil</TD></TR><TR><TD>Pretreating Oil</TD></TR><TR><TD>Solar Preheat Oil</TD></TR><TR><TD>Recipe Calculator</TD></TR><TR><TD>Bubblewashing Biodiesel</TD></TR><TR><TD>Drying Washed Biodiesel</TD></TR><TR><TD>Breaking Emulsions</TD></TR><TR><TD>Testing For Soap</TD></TR><TR><TD>Titrating with Turmeric</TD></TR><TR><TD>5% Water Prewash</TD></TR><TR><TD>Online Resources</TD></TR><TR></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><!-- Biodiesel Forums Section --><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle bgColor=#003366><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD>Tutorial Page Forum</TD></TR><TR><TD>Biodiesel Pictures</TD></TR><TR><TD>Yahoo Biodieselbasics</TD></TR><TR><TD>InfoPop Biodiesel</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><!-- Navigation Ends Here --><TD vAlign=top width=550><!-- Page Title Begins Here --><CENTER>[​IMG]
    </CENTER><!-- Page Title Ends Here --><!-- Page Content Begins Here --><HR color=#003366>How Biodiesel Is Made
    by Graydon Blair from
    Utah Biodiesel Supply
    Questions? Comments? Feedback? Click Here
    Biodiesel is made by chemically altering an organic oil (typically vegetable oil) through a process called "transesterification". Essentially, the process thins down the oil to allow it to run in an unmodified diesel engine.
    [​IMG]

    <HR color=#003366>
    Biodiesel Recipes The method shown above is just the basic information of how Biodiesel can be made. Below are some links to detailed methods for making Biodiesel.
    <HR color=#003366>Biodiesel & Chemical Handling Guidelines (MSDS Sheets)
    <!-- Page Content Ends Here -->
    </TD></TR><!-- Copyright Information --><TR><TD align=middle colSpan=2><HR color=#003366>Collaborative Biodiesel Tutorial - &copy; Copyright 2005 All Rights Reserved </TD></TR></TBODY></TABLE>




    จาก... http://www.biodieselcommunity.org/howitsmade/
     
  9. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    จะลองอธิบายขั้นตอนการทำไบโอดีเซลข้างบนดูครับ... และขออภัยหากมีการอธิบายการทำไบโอดีเซลผิดพลาด.... เพราะไม่ได้จบเคมี....แต่จบอิเลคทรอนิคส์...ง่ะ

    ขั้นตอนการทำไบโอดีเซล...

    1. ใช้น้ำมันพืชใช้แล้ว (หรือน้ำมันพืชใหม่ก็ได้...) ทำการกรองเอาสิ่งสกปรกออก เช่น เศษกล้วยแขก

    2. ค่อยๆอุ่นน้ำมัน จนได้อุณหภูมิ 120 องศาฟาเรนไฮน์ (48 องศาเซลเซียส) ของกองทัพเรือใช้ 40-45 องศาเซลเซียส

    3. ต่อไปจะใช้... โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) เป็นตัวคะตะไลท์ (Catalyst) บางสูตรใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH ชื่ออื่นๆ คือ โซดาไฟ ; Caustic soda , Soda lye , Sodium hydrate เป็นต้น)

    Methyl Ester Biodiesel

    นำโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์... มาละลายกับ เมธานอล (MeOH , หรือเรียกว่า เมธิวแอลกอฮอล์) ด้วยอัตราส่วน ...

    MeOH = 0.225 x Oil
    KOH = Oil/100

    เมื่อ
    Oil = ปริมาณน้ำมันพืช (ลิตร)
    KOH = ปริมาณโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (Kg)
    MeOH = ปริมาณเมธานอล (ลิตร)

    หากใช้ เอธานอล (EtoH , หรือเรียกว่า เอทธิวแอลกอฮอล์) จะได้ Ethyl Ester Biodiesel ให้เปลี่ยนสูตรเป็น...

    EtOH= 0.2738 x Oil
    KOH = Oil/85

    เมื่อ
    Oil = ปริมาณน้ำมันพืช (ลิตร)
    KOH = ปริมาณโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (Kg)
    EtOH = ปริมาณเอธานอล (ลิตร)

    หมายเหตุ : หากในเวปไซท์อื่นๆใช้อัตราส่วนต่างจากนี้ก็ไม่ต้องตกใจ เพราะ...ใช้น้ำมันพืชตั้งต้น เก่าใหม่...ต่างกัน สิ่งเจอปน..ต่างกัน สารเคมีบางอย่าง...ต่างกัน

    ละลายตัวคะตะไลท์ (Catalyst) ในที่นี้คือ โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ กับเมธานอล (หรือเอธานอล) จากนั้นจึงนำไปเทรวมกับน้ำมันฟืชที่กำลังอุ่นๆ แล้วกวนเบาๆ หรือใช้การ Circulate ด้วยปั้มก็ได้

    4. กระบวนการ คือ.... ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) + เมธานอล (Methanol) ---> เมทธิวเอสเตอร์ (Methy Ester Biodiesel) และ กลีเซอลีน (Glycerol)

    หรือหากใช้เอธานอล.... คือ.... ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) + เอธานอล (Ethanol) ---> เอทธิวเอสเตอร์ (Ethyl Ester Biodiesel) และ กลีเซอลีน (Glycerol)

    5. ส่วนกรดไขมัน (Free Fatty Acids ,FFA) ที่ปะปนอยู่ในน้ำมันพืช จะแยกออกมาได้ดังนี้... โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ + กรดไขมัน --> สบู่

    6. หลังจากนั้นปล่อยให้ส่วนผสมตกตะกอน... แยกตัวออกจากกันสัก 12 ชั่วโมง จึงทำการแยกกลีเซอลีนซึ่งตกตะกอนอยู่ด้านล่างออกมา

    7. เมทธิวเอสเตอร์ (Methy Ester Biodiesel) ที่ได้ต้องผ่านกระบวนการล้าง (Wash) ก่อนนำไปใช้... เพราะยังมี เมธานอล (หรือ เอธานอล) และสบู่ตกค้างอยู่

    8. การ Wash ทำได้โดยการสเปรย์น้ำสะอาดในรูปของละอองน้ำ (ห้ามคนแรงๆ หรือกวนแรงๆ) ลงบนผิวของ เมทธิวเอสเตอร์ (น้ำ 1 ลิตรต่อน้ำมัน 2 ลิตร) แล้วปล่อยให้ละอองน้ำค่อยๆซึมผ่าน เมทธิวเอสเตอร์ ลงไปด้านล่าง (เพราะน้ำมันลอยอยู่เหนือน้ำ)

    First Mist Wash - 2-3 hours
    Second Mist Wash - 2-3 hours

    9. ทิ้งให้น้ำและไบโอดีเซลแยกจากกัน...อย่างเด็ดขาด จากนั้นปล่อยน้ำออก

    10. Wash ด้วยฟองอากาศ (ปั้มลมและ Air Stone อย่างที่ใช้ในตู้ปลา) ต่อไปอีก...เพื่อไล่น้ำออก (ระเหยออกมาพร้อมๆกับฟองอากาศ) บางเวปใช้การต้มไล่ความชื้น หรือนำไปตากแดด (ทำ 2 ครั้ง)

    Bubble Wash - 6-8 hours (usually overnight)

    11. นำไปกรองด้วยใส้กรองขนาด 1 ไมครอน (เพราะหัวฉีดน้ำมันกว้างประมาณ 5 ไมครอน)

    12. เก็บใส่ถัง...รอนำไปใช้

    13. หากใช้ไบโอดีเซล 100% โดยไม่ผสมน้ำมันดีเซลเลย เรียกว่า B100
    หากใช้ไบโอดีเซล 5% โดยผสมน้ำมันดีเซล 95% เรียกว่า B5 (ปตท. ขายอยู่)

    สรุป... เวลาที่ใช้...(โดยประมาณ)

    START

    Collecting Oil - 1-2 hours
    Filtering Oil - 1-2 hours (depends on amount of oil)
    Titration Of Oil - 10-15 minutes
    Transferring Oil To Processor - 10-20 minutes
    Heating Oil - 1-4 hours (depends on amount of oil, voltage & wattage of element)
    Making Methoxide - 5-20 minutes (depends on amount of methanol and catalyst used)
    Mixing Methoxide Into Oil - 20-30 minutes
    Mixing Oil & Methoxide - 2-3 hours
    Settling Oil - 8-10 hours (usually overnight)
    Draining Glycerine - 5-10 minutes
    Transferring Biodiesel To Wash Tank - 10-20 minutes
    First Mist Wash - 2-3 hours
    Second Mist Wash - 2-3 hours
    First Bubble Wash - 6-8 hours (usually overnight)
    Second Bubble Wash - 6-8 hours (usually overnight)
    Transferring Biodiesel To Drying Containers - 10-20 minutes (depends on amount)
    Drying Biodiesel - 2 hours to 1 week (depends heavily on weather and amount made)
    Transferring To Storage Containers - 10-20 minutes (depends on amount)

    FINISH


    เครื่องทำไบโอดีเซลคนยากขนาด 70 ลิตร...(อ่านเพื่อเป็นแนวทาง)

    http://www.weekendhobby.com/offroad/toyota/question.asp?page=1&id=9501
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มกราคม 2007
  10. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    ภาพรวมอุปกรณ์ระบบน้ำมันพืช (ใช้น้ำมันพืชทดแทนน้ำมันดีเซล)

    หลักการ

    1. กรอง + อุ่นน้ำมันพืช เพื่อลดความหนืด

    2. ต่อระบบน้ำมัน...ให้สามารถ เลือกใช้ น้ำมันดีเซล หรือน้ำมันพืช ผสมผสานกันได้


    [​IMG]

    ภาพรวม ๆ ครับ ไม่รวม ถังน้ำมัน, เกจ์น้ำมัน, สายน้ำมัน, ระบบไฟฟ้าควบคุม

    [​IMG]

    กรองน้ำมันแบบใส

    [​IMG]

    กรองน้ำมันพร้อมฮีทเตอร์

    [​IMG]

    ฮีทเตอร์ + เทอร์โมฯ

    [​IMG]

    วาล์วควบคุมการจ่ายน้ำมัน Fuel Selector Valve

    [​IMG]

    อุปกรณ์ที่ติดตั้งเพิ่มภายในห้องเครื่อง

    [​IMG]

    อีกมุมของอุปกรณ์ที่ติดตั้งเพิ่มภายในห้องเครื่อง


    [​IMG]

    ถังน้ำมันพืชที่ติดเพิ่มด้านหลังกระบะ ขนาด 60 ลิตร


    จาก... http://www.yimwhan.com/board/board.php?user=wvocar&page=2&Cate=1
     
  11. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    ข้อแตกต่างระหว่างชุด Kit ไทยและของอเมริกา


    [​IMG]


    ในที่นี้ ขอนำมาเปรียบเทียบเพื่อเป็นแนวทางการศึกษา และการตัดสินใจใช้น้ำมันพืชทดแทนดีเซล ซึ่งจะกล่าวถึงความแตกต่างของระบบ

    โดยหลักการ คือการอุ่นน้ำมัน เพื่อลดค่าความหนืดก่อนการส่งเข้าปั๊มหัวฉีด ซึ่งจะขอเปรียบเทียบของ Grease car กับของ Veggies Diesel = Veggies Sunshine (อ้วน น้ำมันพืช)

    ของ Greasecar อาศัยการอุ่นน้ำมันจากระบบหล่อเย็นของเครื่องยนต์ คือการดึงเอาน้ำร้อนให้มาผ่านถังน้ำมันพืช เพื่ออุ่นน้ำมันพืชในถังก่อนการใช้งาน เนื่องจากในอเมริกา เมื่อถึงหน้าหนาว อุณหภูมิจะต่ำมาก ทำให้น้ำมันพืชเป็นไขจนไม่สามารถใช้งานได้ จึงทำให้ต้องใช้ระบบดังกล่าว ซึ่งอาจจะต้องใช้เวลาสักพัก เพื่อให้อุณหภูมิน้ำมันในถังเพิ่มขึ้นจนถึงระบบที่พอเพียงสามารถใช้งานได้

    ข้อเด่น

    - ไม่เปลืองไฟ ไม่มีผลเสียต่อระบบไฟฟ้า เพราะอุ่นน้ำมันจากน้ำร้อนของระบบหล่อเย็น

    ข้อด้อย

    - ต้องรอให้เครื่องร้อน และน้ำมันอุ่นพอ ใช้เวลาอย่างน้อย 15 นาที
    - ต้องเดินระบบท่อส่งน้ำร้อนไกล ไปจนถึงถังน้ำมันพืช การติดตั้งค่อนข้างยุ่งยาก

    ซึ่งเมื่อได้เปรียบเทียบหาความเหมาะสมของ Greasecar เพื่อจะนำมาใช้ในประเทศไทย ทำให้เห็นว่าประเทศไทยมีอากาศร้อน การใช้งานในพื้นที่ปกติทั่วไป ไม่มีความจำเป็นต้องอุ่นน้ำมันพืชในถังเลย เหลือเพียงการอุ่นน้ำมันเพื่อลดค่าความหนืดก่อนส่งเข้าปั๊มหัวฉีด และการนำน้ำจากระบบหล่อเย็นมาอุ่น ก็ยังมีข้อจำกัดที่ต้องรอให้เครื่องร้อนและน้ำหล่อเย็นร้อนพอ ทำให้ต้องใช้เวลา จึงได้มีการพัฒนาเพิ่มเติม จากการใช้น้ำจากระบบหล่อเย็นมาเป็นระบบไฟฟ้า

    ระบบไฟฟ้าในการอุ่นน้ำมันพืชนั้น ช่วยลดระยะเวลาที่จะต้องรอให้เครื่องร้อนพอ ซึ่งส่งผลให้ช่วยลดการใช้น้ำมันดีเซลไปด้วย จึงได้ออกแบบเป็นระบบไฟฟ้ามาแทนระบบอุ่นจากน้ำของระบบหล่อเย็น ซึ่งจะมีข้อเด่นข้อด้วยดังนี้

    ข้อเด่น

    - ใช้ระยะเวลาน้อยในการอุ่นน้ำมัน และให้ความร้อนค่อนข้างคงที่
    - ลดความเสี่ยงที่จะเกิดจากระบบน้ำหล่อเย็นรั่ว ซึ่งจะส่งผลต่อเครื่องยนต์โดยตรงในระยะเวลาอันรวดเร็ว
    - ขั้นตอนการติดตั้งสะดวกกว่า ใช้ระยะเวลาน้อย

    ข้อด้อย

    - ต้องใช้ไฟฟ้าเลี้ยงเกือบตลอด(จะตัดระบบเมื่อความร้อนถึงจุดที่กำหนด)
    - หากมีการใช้อุปกรณ์ควบคุมไฟฟ้าคุณภาพต่ำ อาจมีความผิดพลาด ทำให้ระบบอุ่นค้าง ทำงานตลอดเวลา (แต่ก็ป้องกันไว้ด้วย ฟิวส์และเทอร์โมสตัด เพื่อความปลอดภัยอีกชั้นหนึ่งแล้ว)

    ซึ่งการพัฒนาเป็นระบบไฟฟ้าดังกล่าว เพื่อต้องการให้เหมาะสมสำหรับประเทศไทย โดยอาศัยการศึกษาจากระบบของต่างประเทศ โดยกล่าวได้ว่าระบบของผม ได้ต้นแบบแนวความคิดมาจากต่างประเทศทั้งสิ้น ไม่ได้คิดค้นเองทั้งสิ้น เพียงแต่นำมาเลียนแบบและพัฒนาเพื่อให้เหมาะสมตามพื้นฐานที่มีอยู่

    จาก... http://www.yimwhan.com/board/show.php?user=wvocar&topic=63&Cate=1
     
  12. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เยี่ยมครับ ตอนที่ดีเซลลิตรละสามสิบบาทก็มีผู้เติมน้ำมันพืช เป็นน้ำมันปาล์มโอเลอีน(ผ่านกระบวนการกำจัดไขแล้ว) เป็นแกลลอนของแมคโคร เติมกันเพียวๆ บ้าง ผสมกับดีเซลบ้าง ตั้งแต่ 20-50 % เพระราคาแค่ 23-24 บาทครับ ส่วนในเคสของพวกเราเป็นกรณี ที่ไม่มีน้ำมันจะเติม ดังนั้น ก็จำเป็นต้องใช้ครับ

    เป็นรายงานจากการใช้งานจริงในกะบะไทรตันใหม่เอี่ยมครับ

    http://www.thaitritonclub.com/board/index.php?topic=2868.15
     
  13. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ดังนั้นคำแนะนำของผมยืนยันเหมือนคุณ ZZ ครับ เลือกรถ เครื่องจักรที่เป็นเครื่องยนต์ดีเซลกันไว้ก่อนครับ

    นอกจากนี้เรายังแมนเนส การใช้พลังงานอย่างหมดจดได้โดย ที่เราใช้น้ำมันในการปรุงอาหาร ทอดอาหารก่อน ไม่เกินสองครั้งเพื่อกันการเกิดสารไดออกซิน จากนั้นรวมรวมน้ำมันใช้แล้ว และ ไข ในบ่อดักไขมัน ทั้งจากการล้างจาน และไขจากการอาบน้ำนำมารวม ทำเป็นน้ำมันไตรกลีเซอไรน์ ตามกระบวนการที่คุณ ZZ ได้แนะนำไว้ครับ ถ้าเป็นไตรกลีเซอไรน์ใช้เติมรถยนต์ได้เพียวๆเลยครับผม

    ต้องขอบคุณ ความรู้ คำแนะนำดีๆจากคุณ ZZ กันด้วยครับ
     
  14. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD style="PADDING-RIGHT: 20px"><TABLE class=ProductPictureBorder height=150 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=150 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><FORM action=cgi-bin/cart.php method=post><INPUT type=hidden value=th name=lang><INPUT type=hidden value=76495 name=cat><INPUT type=hidden value=434877 name=id> <TBODY><TR><TD><INPUT title=หยิบใส่รถเข็น type=image src="http://www.tarad.com/_tarad/_templates/b/_.templates/b047/images/button/button_cart_big.gif"></TD></TR></FORM></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
    [​IMG]

    </TD><TD>ชุดไฟแสงสว่างเดินทางท่องเที่ยว [​IMG]


    รหัสสินค้า: 000034
    ราคา 1,xxx บาท
    รายละเอียด: ชุดไฟแสงสว่างเดินทางท่องเที่ยว
    ประกอบด้วย ดังนี้
    - แผงโซล่าเซล 5 วัตต์ ซึ่งสามารถติดกระเป๋าแป้ท่านได้เพื่อรับแสงอาทิตย์
    - แบตเตอรี่แบบแห้ง 12V.7A. ใส่ไว้ในกระเป๋าแป้ โดยต่อสายเข้ากับแผงโซล่าเซลนี้
    - หลอดนิออนประหยัดไฟฟ้า 7 วัตต์ 12V. ไว้ต่อกับแบตเตอรี่แห้งที่ให้มาครบชุดนี้

    *** ราคา 1,xxx บาท เฉพาะแผงโซล่าเซล 5 วัตต์เท่านั้น นอกนั้นท่านต้องหาซื้อมาเอง ***

    เหมาะสำหรับใช้ในเต็นท์พักแรม หรือเดินทางท่องเที่ยวในป่า โดยเมื่อเราเดินทางกลางป่าหรือตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ แผงโซล่าเซลที่ติดบนหลังกระเป๋าแป้ท่าน จะรับแสงอาทิตย์แล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อชาร์จแบตเตอรี่ในกระเป๋าแป้ท่าน เมื่อถึงเวลาตอนกลางคืนท่านก็สามารถนำแบตเตอรี่ลูกที่ท่านชาร์จไว้แล้วมาใช้งานโดยนำหลอดนิออนมาต่อให้เกิดแสงสว่างในยามค่ำคืนได้ทุกคืนต่อไป และท่านยังสามารถใช้งานอื่นได้เช่น ใช้โทรฯมือถือ หรือ วิทยุสื่อสารกับแบตเตอรี่ก้อนนี้ได้อีกด้วย

    ราคานี้ยังไม่รวมสายไฟฟ้าที่ท่านต้องหามาต่อใช้ในเต้นท์ หรือกระเป๋าแป้ของท่านเพื่อใช้เองต่อไป

    # บางท่านเอาไปใช้กับรถเข็นขายหรือแผงขายของขนาดเล็ก กลางวันชาร์จกลางคืนใช้ก็ได้ #

    แผงโซล่าเซลรุ่นนี้เป็นแบบชิพสีฟ้าเข้ม อายุการใช้งาน 25 ปี ไม่ใช่แบบอะมอร์ฟัส
    แบบอะมอร์ฟัสเป็นแบบฟิล์มบางดำ ที่เห็นในเครื่องคิดเลขอายุการใช้งาน 5 ปีเท่านั้น
    <NOBR>23/09/2548 (update 02/01/2550)</NOBR>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
    หน้าแรก > สินค้า/บริการ > รายละเอียดสินค้า/บริการ
    <!-- End Navigator --><!-- Modules Content Product Detail --><SCRIPT>document.title = ' - โคมไฟฟ้าสนามหญ้าพลาสติก * พลังงานแสงอาทิตย์ - ' + document.title;document.keywords = ' - โคมไฟฟ้าสนามหญ้าพลาสติก * พลังงานแสงอาทิตย์ - ' + document.title;</SCRIPT><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD style="PADDING-RIGHT: 20px"><TABLE class=ProductPictureBorder height=150 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=150 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><FORM action=cgi-bin/cart.php method=post><INPUT type=hidden value=th name=lang><INPUT type=hidden value=76495 name=cat><INPUT type=hidden value=768589 name=id> <TBODY><TR><TD><INPUT title=หยิบใส่รถเข็น type=image src="http://www.tarad.com/_tarad/_templates/b/_.templates/b047/images/button/button_cart_big.gif"></TD></TR></FORM></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
    [​IMG]

    <TABLE class=ProductPictureBorder height=150 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=150 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD>โคมไฟฟ้าสนามหญ้าพลาสติก * พลังงานแสงอาทิตย์


    รหัสสินค้า: 000085
    ราคา 280.00 บาท
    รายละเอียด: โคมไฟฟ้าสนามหญ้า * พลังแสงอาทิตย์
    ตอนกลางวันเก็บไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ไว้ใช้ตอนกลางคืน
    กลางคืนเปิดอัตโนมัติ สว่างได้นาน 8-12 ชั่วโมงทุกคืนเลย
    ช่วยประหยัดไฟฟ้า ราคาถูก ทนทาน มีอะหลั่ยพร้อม บริการท่าน
    เรารับประกัน 1 ปี ซ่อมและเปลี่ยนอะหลั่ยให้ท่านฟรีตลอด 1 ปีเลย

    อุปกรณ์ครบชุดอยู่ในกล่อง ดังนี้
    มีตัวโคมไฟ หลอดไฟLED พร้อมขาและแบตเตอรี่
    ท่านไม่ต้องใช้ต่ออุปกรณ์ใดต่อเพิ่ม ใช้งานได้ทันที
    ต่ออุปกรณ์ทุกชิ้นเสร็จ ก็นำไปปักดินใช้งานได้เลย

    รุ่นนี้เป็นแบบพลาสติก สีดำตากแดดนานสีอาจจะดูเก่าได้
    <NOBR>29/09/2549 (update 07/01/2550)</NOBR>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    Sustainable Energy Technologies Solutions for Poverty Reduction in South Asia.
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]Based on the Manual Produced by the Project "Capacity Building of NGOs for Poverty Reduction in South Asia through Sustainable Energy Solutions".[/FONT]
    <TABLE borderColor=#ffffff borderColorDark=#ffffff width="79%" align=center bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR bgColor=#66ccff><TD bgColor=#99ccff>
    [SIZE=+1]Preamble[/SIZE]
    </TD></TR><TR bgColor=#66ccff><TD bgColor=#99ccff>
    [SIZE=+1]1. Introduction[/SIZE]
    </TD></TR><TR bgColor=#66ccff><TD bgColor=#99ccff>
    [SIZE=+1]2. Guidelines[/SIZE]
    </TD></TR><TR bgColor=#66ccff><TD bgColor=#99ccff>
    [SIZE=+1]3. Solutions[/SIZE]
    </TD></TR><TR bgColor=#66ccff><TD bgColor=#9999ff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.1. Cooking Devices[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#66ccff><TD align=middle bgColor=#99ffff height=24>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.1.1. Stoves[/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#66ccff><TD bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.1.2. Biogas[/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#66ccff><TD align=middle bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.1.3. Solar Cooking [/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#66ccff><TD align=middle bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.1.4. Charcoal and Bricketting[/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#66ccff><TD align=middle bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.1.5. Hay Boxes[/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#00ccff><TD align=middle bgColor=#9999ff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.2.[/FONT][FONT=Arial, Helvetica, sans-serif] Electricity & Mechanical[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#00ccff><TD align=middle bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.2.1. Solar PV types [/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#00ccff><TD align=middle bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.2.2. Micro-Hydro [/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#00ccff><TD align=middle bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.2.3. Biomass based Power Generation [/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#00ccff><TD bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.2.4. Windmills for Pumping and Electricity[/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#00ccff><TD bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.2.5. Animate Energy[/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#00ccff><TD bgColor=#99ffff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.2.6. Electricity Conservation[/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#9999ff>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]3.3 Others[/FONT]​
    </TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ffff>
    3.3.1. Solar Drying
    </TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ffff></TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ffff></TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ffff></TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ffff></TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ffff></TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ffff>
    3.3.7. Bio-Diesel
    </TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ffff>
    3.3.8. Electravan
    </TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ffff></TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ccff>
    [SIZE=+1]4. Organizations
    (12 examples)
    [/SIZE]
    </TD></TR><TR bgColor=#99ccff><TD bgColor=#99ccff>
    [SIZE=+1]Annexure
    (pdf file[​IMG] 57 KB)
    [/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    จาก... http://www.inforse.dk/asia/M_energy_solutions_poor.htm
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มกราคม 2007
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=headline-bold>มาเลเซียคาดโครงการโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่จะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2555</TD></TR><TR><TD class=text-normal-th bgColor=#e9e9f3>กัวลาลัมเปอร์ 22 ม.ค.- นายลิม เค็ง เย็ค รัฐมนตรีพลังงานของมาเลเซีย กล่าวว่า โครงการไฟฟ้าขนาดยักษ์ของมาเลเซีย มูลค่า 2,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่จะเชื่อมต่อโรงไฟฟ้าบนเกาะบอร์เนียว กับแผ่นดินใหญ่ของมาเลเซีย ด้วยสายเคเบิลใต้น้ำ จะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2555 นายลิม กล่าวว่า โครงการนี้จะใช้เวลาอีกราว 5 ปี ในการติดตั้งสายส่งไฟฟ้าระยะทาง 700 กิโลเมตร และวางสายเคเบิลใต้น้ำระยะทาง 670 กิโลเมตร จากเขื่อนบากุน บนเกาะบอร์เนียว ในรัฐซาราวัก ทางตะวันออก ไปยังรัฐยะโฮร์ ทางภาคใต้ของประเทศ เขากล่าวด้วยว่า มาเลเซียกำลังจะลดการพึ่งพาแก๊ส และถ่านหิน สำนักข่าวเบอร์นามา ของทางการมาเลเซีย รายงานว่า รัฐบาลกำลังพยายามผลิตกระแสไฟฟ้าราคาถูกด้วยการใช้พลังน้ำ และคาดหวังว่า จะสร้างความหลากหลายในการผลิตไฟฟ้าจากเดิมที่พึ่งพาการใช้แก๊สมากเกินไปถึงกว่าร้อยละ 70 มาเป็นแหล่งพลังงานที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ อย่างเช่น ใช้พลังน้ำในการผลิตกระแสไฟฟ้า รัฐมนตรีพลังงานมาเลเซีย กล่าวก่อนหน้านี้ว่า หากการวางสายเคเบิลได้รับการอนุมัติแล้ว จะสามารถส่งกระแสไฟฟ้าได้มากถึง 5,000 กิโลวัตต์ จากโรงไฟฟ้าเขื่อนบากุน มายังคาบสมุทรมาเลเซีย โครงการวางสายเคเบิลนี้เคยถูกยกเลิกไปหลังเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชียเมื่อปี 2540.-สำนักข่าวไทย </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ในเมื่ออีกหน่อยน้ำจะมีมากเราก็หาทางใช้น้ำเป็นพลังงานครับ
     
  19. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    แนวทางการใช้แผงโซล่าผสมผสานกับรถยนต์


    Solar Power System for Recreational Vehicles


    Australia Wide Solar is the largest installer of mobile solar power systems in Sydney. We have had more than 12 years experience in this very specialised field of solar power. The caravan and motor home industries are enjoying remarkable growth
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กุมภาพันธ์ 2007
  20. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    <TABLE class=tborder id=post cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: 0px; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: 0px" width=175>Khunkik<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 09:10 AM
    วันที่สมัคร: Sep 2006
    ข้อความ: 136 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 1,730 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 1,134 ครั้ง ใน 129 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 131 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_ style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->Re: ถามหน่อย
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ zz
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ Khunkik
    พี่หนั่น

    กิ๊กถามหน่อย ไอ้พวกคูโบต้า นอกจากเอามาเป็นเครื่องสูบน้ำ ปรับแต่งเป็นเครื่องยนต์รถไถ แล้วยังสามารถทำเป็น เครื่องกำเนิดไฟฟ้าได้รึเปล่า
    รวมถึงน้ำมันใช้แล้ว (i) ถ้าได้ก็ดีเพราะสามารถใช้น้ำมันไบโอดีเซล หรือสบู่ดำได้
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ตอบ....

    1. คูโบต้ามันวิ่งไม่ค่อยนิ่งเท่าไหร่ เมื่อเอามาต่อกับไดนาโมเพื่อปั่นไฟ ก็จะได้ไฟที่ไม่นิ่ง วูบวาบ เมื่อนำมาต่อเพื่อให้แสงสว่างก็สว่างบ้าง หรี่บ้าง (หลอดแบบมีใส้) แต่เครื่องรุ่นใหม่ๆอาจปรับปรุงให้ดีขึ้นแล้วก็ได้

    วิธีแก้ก็ทำได้หลายแบบ คือ...

    1.1 ต่อเกียร์เพื่อทดรอบ และต่อ Flywheel ช่วยแรง...เพื่อให้วิ่งสม่ำเสมอมากขึ้น (น่าจะทำในเครื่องรุ่นใหม่ๆต้องลองถามคนขายดู)

    1.2 นำไฟที่ขึ้นๆลงๆจากไดนาโม มาชาร์ทแบตก่อน(ไฟตรง) เช่น ที่ทำในรถยนต์ จากนั้นจึงแปลงเป็นไฟบ้าน(ไฟสลับ) โดยใช้อินเวอร์เตอร์แปลงเอา เช่น ที่ใช้ในรถทัวร์ ที่มีทีวี ให้เราดูนั่นแหละ

    1.3 จากข้อ 1.2 หากไม่ต้องการแปลงไฟตรงเป้นไฟสลับ ก็ใช้มันแบบไฟตรงนั่นแหละ เช่น หลอดไฟก็เปลี่ยนไปใช้ไฟตรง เช่น หลอดไฟรถยนต์ มือถือ วิทยุสื่อสาร วิทยุเทป ก็ใช้ไฟตรงอยู่แล้ว (พวกที่มีแบตเตอรี่ทั้งหลาย)

    ส่วนพวกที่ต้องใช้ไฟสลับเท่านั้น เราก็มีอินเวอร์เตอร์ช่วยแปลงได้

    อันนี้แล้วแต่เราจะบริหารไปแนวทางใด....นะ

    2. น้ำมันใช้แล้ว เราต้องกรอง ก่อนนำมาทำไบโอดีเซล แต่เห็นพี่ชัยสิทธิ์แกเคยเห็นเขากรองน้ำมันใช้แล้ว...แล้วเอาใส่รถกระบะเลย (กรองให้ดีก่อน)

    หากจะใส่คูโบต้าย่อมไม่มีปัญหา....ใส่ได้เลย

    จริงๆการทำเป็นไบโอดีเซล นั้นเป็นการเอา "ไข" ออกจากน้ำมันพืช เพื่อไม่ให้มันตันในเครื่องยนต์ครับ

    เข้าใจมะ....ไม่เข้าใจก็ถามมา....
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    จ้าพี่(f)

    ถ้าอย่างนั้นการใช้คูโบต้า(ยี่ห้ออื่นก็ได้บังเอิญไม่ค่อยรู้จัก คนมันโง่ I'm sorry) ปั่นไฟเพื่อเก็บเข้าแบตเตอรี่จะดีไม๊ เราหาแบตไว้ใช้ซัก 3 ลูกต่อที่ (ประมาณ 3,000 บาท/ลูก) เราจะได้ไม่ต้องมีปัญหาเรื่องประเภทของน้ำมัน และสามารถใช้ได้หลายๆ วัตถุประสงค์ เช่น ตอนกลางคืนเอามาปั่นไฟ ตอนเข้าเอาไปใช้ไถนา บ่ายๆ สูบน้ำเข้านา หัวค่ำเป็นรถขนของ อะไรอย่างนี้น่ะ

    ที่กิ๊กมองดูที่เป็น Multi Function มากกว่า พี่หนั่น ลองดูหน่อยซิ และถ้าจะโมแบบไหนก็ว่ามา ว่าจะขอเงินกองทุนซื้อแล้วน่ะ ถือเป็นการบริจาคกัน เอาไปไว้ในที่หลบภัยแต่ละที่ กิ๊กอาจจะไม่มีโอกาสได้ใช้ด้วยก็ได้ใครจะรู้ อาจจะตายก่อน (ฮุ ฮุ ตายก่อนได้เปรียบจ้า:cool: ) แต่ก็อยากเตรียมไว้ให้ เผื่อไม่ตาย หรือเผื่อคนที่ยังต้องอยู่อีก

    จำได้ว่าเครื่องหนึ่งราคาประมาณ 2 หมื่นกว่าๆ ไม่รู้ตอนนี้ถูกกว่านี้หรือยัง เพราะถ้าแยกใช้เช่น เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 1 เครื่อง ป้มน้ำ 1 เครื่องยนต์ 1 รถไถ 1 กิ๊กว่ามันจะเปลืองงบ และเยอะเกินไปน่ะ ลองดูหล่ะกัน ประชุมคราวหน้าอยากเห็นต้นแบบที่เป็นรูปธรรม พี่หนั่นวาดมาให้หน่อยเน้อ หรือใครจะช่วยกันก็ได้ แล้วเช็คอะไหล่การประกอบมาด้วย หรือจะใช้สำเร็จ ก็ได้ แล้วมาสุมหัวกันดีฝ่า ถ้าตกลง ก็จะได้ส่งให้ทุกกลุ่มดำเนินการ ให้เรียบร้อย ส่วนของภาคกลางคงต้องเป็นหน้าที่พวกเราน่ะแหละน่ะ

    สำหรับน้ำมันใช้แล้ว เท่าที่เคยอ่านเจอหลังจากกรองเอากากอาหารออกแล้ว ยังต้องนำไปต้มเพื่อให้น้ำที่ปนอยู่ระเหยออกให้หมดเสียก่อน จึงจะนำไปใช้ได้
    แต่คิดว่าถ้าลองทำเป็นการกลั่นจะได้น้ำมันที่ดีกว่าหรือเปล่า กลั่นแบบน้ำมันหอมระเหยน่ะทำได้ป่ะ ลองคิดดูหล่ะกัน???

    ปัญหาอีกอันคือ ช่วงนั้นเราจะไปหาน้ำมันเก่าจากไหนหล่ะจ๊ะ คงไม่มีแม่ค้าที่ไหนมาทอดปาท่องโก๋ หรือไก่ทอดให้เราเอาน้ำมันมาใช้ได้เป็นกะละมัง หรอกน่ะ
    ต้นไม้ให้น้ำมันพวกปาล์ม มะพร้าว ฯลฯ จะอยู่รอดรึเปล่าก็ไม่รู้ (i) เป็นคำถามให้กันช่วยคิดหาคำตอบจ้า

    ชาวเครื่อง-กล ช่างยนต์ วิศวมาช่วยๆ กันหน่อยเด้อ
    ดีๆ ถูกๆ มีที่นี่ ฮุ ฮุ (f)
    <!-- / message --></TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: 0px; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: 0px; BORDER-LEFT: 0px; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right><!-- controls --><TABLE id=table1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=left><!-- Start Post Groan Hack --><!-- End Post Groan Hack --></TD><TD><!-- Start Post Thank You Hack --><!-- End Post Thank You Hack -->[​IMG] [​IMG] <!-- / controls --></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...