ขณะสวดเมตตาใหญ่แล้ว....เหมือนกำลังร้องไห้?

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย มุตา, 5 ตุลาคม 2009.

  1. มุตา

    มุตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    95
    ค่าพลัง:
    +288
    ผมไม่ทราบเกิดจากอะไร ครับ ขณะสวดเมตตาใหญ่ เหมือนจะร้องไห้ จากข้างใน ทั้งที่ตัวเองก็ไม่ได้มีเรื่องอะไร ที่เสียใจ ... ผมขอบารมีธรรมท่านผู้รู้ ช่วยแนะนำ ครับ
     
  2. ขวัญดาว

    ขวัญดาว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    109
    ค่าพลัง:
    +577
    เป็นเหมือนกันค่ะ...แต่เราเป็นตอนที่สวดธรรมจักรค่ะ...ตอนที่เริ่มสวดใหม่ๆ ตอนนี้หายแล้วค่ะ...
    คิดว่าเป็นธรรมปิตีนะคะ...ไม่มีอันตรายค่ะ..กำหนดสติดีๆ
     
  3. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    อนุโมทนา สาธุค่ะ เป็นอาการทางธรรมเรียกว่า "วิปัสสนูกิเลส" นะคะ สาธุการ


    วิปัสสนูกิเลส คือภาวะธรรมารมณ์ (อาการสัมผัสอารมณ์ทางใจ) ที่เกิดขึ้นกับผู้ได้วิปัสสนาอย่างอ่อน เมื่อดวงจิตเข้าอยู่ระหว่างการรวมตัวและมีภาวะละเอียด ในลำดับญาณที่เรียกว่า อุทยัพพยญาณอ่อนๆ มี ๑๐ รูปแบบ คือ

    ๑) โอภาส แสงสว่าง อันเกิดการแผ่ซ่านออกจากร่างกาย<O:p</O:p
    ๒) ญาณ ความรู้ เห็นนามรูปแจ่มชัด มีความรู้สึกเกิดขึ้นว่า ตนมีความรู้ปราดเปรื่อง หมดจดไม่เคยมีมาก่อน<O:p</O:p
    ๓) ปิติ ความอิ่มใจ เกิดความซาบซ่าไปทั่วตัว ซึ่งบางครั้งเกิดขึ้นมาก ยากที่จะหาสิ่งใดมาเทียบได้ มีรูปแบบต่างๆ นานา ๕ อย่าง คือ<O:p</O:p
    ๓.๑) ขุททกาปิติ ปิติเล็กน้อย เช่น ขนลุกชูชัน หรือน้ำหูน้ำตาไหลพราก เป็นต้น<O:p</O:p
    ๓.๒) ขณิกาปิติ ปิติชั่วขณะ มีลักษณะเหมือนฟ้าแลบแปล๊บ ๆ นัยน์ตา แต่เกิดขึ้นชั่วขณะ<O:p</O:p
    ๓.๓) โอกกันติกาปิติ ปิติเป็นพัก ๆ มีลักษณะเหมือนคลื่นกระทบฝั่ง เช่น ตัวโยก หัวหมุน ตัวโคลง เป็นตัน<O:p</O:p
    ๓.๔) อุพเพงคาปิติ ปิติโลดโผน มีลักษณะทำให้ตัวเบา หรือตัวลอบจากพื้นก็มี<O:p</O:p
    ๓.๕) ผรณาปิติ เย็นวาบ ปิติซาบซ่าน มีลักษณะซาบซ่านเอิบอิ่มไปทั่วสรรพางค์กาย<O:p</O:p
    ๔) ปัสสัทธิ ความสงบเย็น คือมีความรู้สึกสงบกายสงบใจ อย่างไม่เคยมีมาก่อน<O:p</O:p
    ๕) สุข ความสุขสบายใจ คือ ความรู้สึกว่าเป็นสุขอย่างที่สุด ตั้งแต่เกิดมาไม่เคยมีความสุขเท่านี้<O:p</O:p
    ๖) อธิโมกข์ ความเชื่อมั่นที่มีกำลังกล้า คือเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ และอาจารย์อย่างแรงกล้า<O:p</O:p
    ๗) ปัคคาหะ ความเพียรที่สม่ำเสมอ คือ มีความเพียรไม่ยิ่งหย่อน ประครองจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์<O:p</O:p
    ๘) อุปัฏฐาน สติตั้งมั่นแน่วแน่ คือสติมีกำลังกล้า รักษาไว้อย่างมั่นคง ทำให้ปรากฎชัดเหมือนกับผู้ได้ทิพจักษุ<O:p</O:p
    ๙) อุเบกขา ความมีจิตวางเฉย ไม่ยินดียินร้ายในสังขารทั้งปวง<O:p</O:p
    ๑๐) นิกันติ ความติดหรือความพอใจในวิปัสสนา คือ เกิดตัณหา มานะ และทิฐิ อันละเอียดขึ้น โดยมีความรู้สึกว่า กิเลสต่างๆ ที่เกิดขึ้นแก่ตน (จิตทิฐิ) เป็นของน่าชม (จิตมานะ) และตนรู้สึกชื่นชมยินดี (จิตตัณหา) <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    วิปัสนูกิเลส นี้ ท่านจัดว่าเป็นกิเลสของ ภูมิจิตวิปัสสนา ก็เพราะทำให้ผู้ที่เข้าถึงหลงติดในสิ่งเหล่านี้ แล้วหยุดการพัฒนาสัจสภาวะแห่งจิตขั้นต่อ ๆ ไป จนขาดความก้าวหน้า เพราะเข้าใจว่าตนบรรลุมรรคผลแล้ว แต่ถ้ารู้เท่าทันความเป็นจริงว่า มันเป็นเพียงลักษณะของจิตที่ผ่านเข้าสู่ญาณ อุทยัพพยญาณอ่อนๆ นี้ เท่านั้น และ ยังไม่ใช่มรรคผล ยังต้องดำเนินการปฏิบัติเพื่อบรรลุต่อมรรคผลไป ถ้าเข้าถึงได้และเรียนรู้เข้าใจรู้จักวิปัสสนูกิเลส นับว่าเป็นบุญ เป็นโชคดีของผู้ได้ประสบการณ์<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    วิปัสสนูกิเลสทั้ง ๑๐ ข้อนี้ ๙ ข้อแรก เป็นกุศล เพราะเป็นธรรมฝ่ายดี ส่วนข้อสุดท้าย คือ นิกันติ เฃถือเป็นตัวกิเลส เป็นอกุศลโดยตรง<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 ตุลาคม 2009
  4. ----

    ---- สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    61
    ค่าพลัง:
    +22
    ขออนุโมทนาด้วยครับ....ถ้าไม่เป็นการรบกวนคุณ มุตา จนเ้กินไปจะขอบทสวดเมตตาใหญ่บ้างได้ใหมครับ เพราะกำลังเสาะหาพอดี
     
  5. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471

    ไปที่นี้เลยค่ะ
    http://palungjit.org/threads/เมตตาพรหมวิหาระภาวนา-มหาเมตตาใหญ่.177110/

    [MUSIC]http://palungjit.org/attachments/a.714733/[/MUSIC]​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 ตุลาคม 2009
  6. มุตา

    มุตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    95
    ค่าพลัง:
    +288
    ขอขอบคุณ คุณบุญญสิกขา คุณขวัญดาว และทุกท่านๆ ที่ร่วมอนุโมทนา ครับ อ่านแล้วมีกำลังใจในการปฏิบัติต่อไป ครับ <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->
     
  7. หนึ่ง99999

    หนึ่ง99999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,369
    ค่าพลัง:
    +1,922
    บทเมตตาที่ถูกต้อง


    มีอยู่ในพระไตรปิฎก


    ขอพระสัมมาสัมพุทธเจ้า




    คนทฺธวคฺเคเมตฺตากถา



    สาวตฺถีนิทานํ<O:p</O:p




    [๕๗๔]เมตฺตายภิกฺขเว เจโตวิมุตฺติยาอาเสวิตาย ภาวิตาย พหุลีกตายยานีกตาย วตฺถุกตาย อนุฏฺฐิตาย ปริจิตาย สุสมารทฺธาย เอกาทสานิสํสา ปาฏิกงฺขา กตเมเอกาทส สุขํ สุปติ สุขํ ปฏิพุชฺฌติ น ปาปกํ สุปินํ ปสฺสติ มนุสฺสานํ ปิโย โหติอมนุสฺสานํ ปิโย โหติ เทวตา รกฺขนฺติ นาสฺส อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติ ตุวฏํจิตฺตํ สมาธิยติ มุขวณฺโณ วิปฺปสีทติ อสมฺมูโฬฺห กาลํ กโรติ อุตฺตรึอปฺปฏิวิชฺฌนฺโต พฺรหฺมโลกูปโค โหติ เมตฺตายภิกฺขเว เจโตวิมุตฺติยา อาเสวิตายภาวิตาย พหุลีกตาย ยานีกตาย วตฺถุกตาย อนุฏฺฐิตาย ปริจิตาย สุสมารทฺธาย อิเมเอกาทสานิสํสา ปาฏิกงฺขา ฯ

    [๕๗๕] อตฺถิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติอตฺถิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อตฺถิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติฯกติหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ กติหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ กติหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ ปญฺจหากาเรหิ อโนธิโสผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สตฺตหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ทสหากาเรหิทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ

    กตเมหิปญฺจหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯสพฺเพ สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌาอนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปาณา ฯ เป ฯ สพฺเพ ภูตา สพฺเพ ปุคฺคลา สพฺเพอตฺตภาวปริยาปนฺนา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตูติ อิเมหิปญฺจหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ
    กตเมหิสตฺตหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯสพฺพา อิตฺถิโย อเวรา อพฺยาปชฺฌาอนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปุริสา ฯ เป ฯสพฺเพ อริยา สพฺเพ อนริยา สพฺเพเทวา สพฺเพ มนุสฺสา สพฺเพ วินิปาติกา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํปริหรนฺตูติ อิเมหิ สตฺตหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ

    [๕๗๖] กตเมหิ ทสหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ สพฺเพ ปุรตฺถิมาย ทิสาย สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํปริหรนฺตุ สพฺเพ ปจฺฉิมาย ทิสาย สตฺตา ฯ เป ฯสพฺเพ อุตฺตราย ทิสาย สตฺตา สพฺเพทกฺขิณาย ทิสาย สตฺตา สพฺเพ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ ปจฺฉิมาย อนุทิสายสตฺตา สพฺเพ อุตฺตราย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ ทกฺขิณาย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพเหฏฺฐิมาย ทิสาย สตฺตา สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขีอตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปุรตฺถิมาย ทิสาย ปาณา ฯ เป ฯ ภูตา ปุคฺคลาอตฺตภาวปริยาปนฺนา สพฺพา อิตฺถิโย สพฺเพ ปุริสา สพฺเพ อริยา สพฺเพ อนริยา สพฺเพเทวา สพฺเพ มนุสฺสา สพฺเพ วินิปาติกา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํปริหรนฺตุ สพฺเพ ปจฺฉิมาย ทิสาย วินิปาติกา ฯเป ฯสพฺเพ อุตฺตราย ทิสาย วินิปาติกาสพฺเพ ทกฺขิณาย ทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพปจฺฉิมาย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ อุตฺตราย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ทกฺขิณายอนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ เหฏฺฐิมาย ทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ อุปริมาย ทิสายวินิปาติกา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตูติ อิเมหิ ทสหากาเรหิทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพสํ สตฺตานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํวชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวา อสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวาอปริยาทาเนนวิเหสํวชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ สตฺตาอเวริโน โหนฺตุ มา เวริโน สุขิโนโหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตาโหนฺตุ มา ทุกฺขิตตฺตาติ อิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิ สพฺเพสตฺเต เมตฺตายตีติ เมตฺตาตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโตสพฺพพฺยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติวิมุตฺติ เมตฺตา จ เจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ

    [๕๗๗]สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติสทฺธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโนโหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ วิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยินฺทฺริยปริภาวิตาโหติเมตฺตาเจโตวิมุตฺติสพฺเพสตฺตาอเวริโนโหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สตึอุปฏฺฐาเปติ สตินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโนโหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ จิตฺตํ สมาทหติ สมาธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติปญฺญาย ปชานาติ ปญฺญินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาภาวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิมานิปญฺจินฺทฺริยานิเมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาอลงฺการา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สฺวาลงฺกตา โหติอิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิเมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาอาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติปริวารา โหนฺติ ปาริปูรีโหนฺติสหคตาโหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตาโหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํสนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตาโหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติสุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๗๘]สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติอสฺสทฺธิเย น กมฺปติ สทฺธาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตาอเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ โกสชฺเช น กมฺปติ วิริยพลปริภาวิตาโหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโนโหนฺตูติ ปมาเท น กมฺปติ สติพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตาอเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ อุทฺธจฺเจ น กมฺปติ สมาธิพลปริภาวิตาโหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโนโหนฺตูติ อวิชฺชาย น กมฺปติ ปญฺญาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจพลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนา โหนฺติอิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตายเจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติพหุลีกริยติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาอลงฺการาโหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิพเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สฺวาลงฺกตา โหติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตายเจโตวิมุตฺติยา ปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติสุปริกฺขตา โหติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตายเจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติสํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนาโหนฺติสนฺติฏฺฐนาโหนฺติวิมุจฺจนาโหนฺติเอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติวตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตาโหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติโชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๗๙] สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุสุขิโน โหนฺตูติ สตึ อุปฏฺฐาเปติ สติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตาโหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติสพฺเพ สตฺตา ฯเปฯปญฺญาย ปวิจินาติธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา ฯเป ฯวิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตาฯ เปฯปริฬาหํปฏิปฺปสฺสมฺเภติปีติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพสตฺตาฯเป ฯทุฏฺฐุลฺลํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติ

    ปสฺสทฺธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตาอเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ จิตฺตํ สมาทหติสมาธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุเขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ ญาเณน กิเลเส ปฏิสงฺขาติอุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิเม สตฺต โพชฺฌงฺคาเมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิเม สตฺต โพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนาโหนฺติอิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตายเจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิโพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติพหุลีกริยติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อลงฺการา โหนฺติ อิเมหิสตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติสฺวาลงฺกตา โหติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตายเจโตวิมุตฺติยาปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติสุปริกฺขตา โหติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาปริวารา โหนฺติ อิเมหิสตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตายเจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติสํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนาโหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตาโหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติสฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๐] สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุสุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาปสฺสติ สมฺมาทิฏฺฐิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพสตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาอภินิโรเปติสมฺมาสงฺกปฺปปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโนโหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาปริคฺคณฺหาติ สมฺมาวาจาปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติสมฺมาสมุฏฺฐาเปติ สมฺมากมฺมนฺตปริภาวิตา โหติเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตาอเวริโน โหนฺตุ เขมโนโหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาโวทาเปติ สมฺมาอาชีวปริภาวิตาโหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโนโหนฺตูติ สมฺมา ปคฺคณฺหาติ สมฺมาวายามปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพสตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาอุปฏฺฐาเปติสมฺมาสติปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโนโหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาสมาทหติ สมฺมาสมาธิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติอิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนาโหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนาโหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิมคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคาเมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อลงฺการาโหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สฺวาลงฺกตา โหติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวาราโหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติอลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติสหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติสนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติวตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตาโหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติโชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๑] สพฺเพสํ ปาณานํ สพฺเพสํ ภูตานํ สพฺเพสํปุคฺคลานํ สพฺเพสํ อตฺตภาวปริยาปนฺนานํสพฺพาสํอิตฺถีนํ สพฺเพสํ ปุริสานํ สพฺเพสํอริยานํ สพฺเพสํ อนริยานํ สพฺเพสํ เทวานํ สพฺเพสํ มนุสฺสานํ สพฺเพสํ วินิปาติกานํปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวา อสนฺตาเปนปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนน วิเหสํ วชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ วินิปาติกาอเวริโน โหนฺตุ มาเวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตาโหนฺตุมาทุกฺขิตตฺตาติอิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิสพฺเพ วินิปาติเก เมตฺตายตีติ เมตฺตา ตํ ธมฺมํเจตยตีติ เจโต สพฺพพฺยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จเจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโนโหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯเปฯนิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๒]สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย ทิสาย สตฺตานํสพฺเพสํ อุตฺตราย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ปุรตฺถิมายอนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย อนุทิสายสตฺตานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ เหฏฺฐิมายทิสายสตฺตานํสพฺเพสํอุปริมายทิสายสตฺตานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํวชฺเชตฺวาอสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนน วิเหสํ วชฺเชตฺวา อวิเหสายสพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ มา เวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโนสุขิตตฺตา โหนฺตุ มา ทุกฺขิตตฺตาติ อิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺเตเมตฺตายตีติ เมตฺตา ตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโต สพฺพพยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติวิมุตฺติ เมตฺตา จ เจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตาอเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติสทฺธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๓] สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย ทิสาย ปาณานํ ภูตานํปุคฺคลานํ อตฺต ภาวปริยาปนฺนานํ สพฺพาสํ อิตฺถีนํ สพฺเพสํ ปุริสานํ สพฺเพสํ อริยานํสพฺเพสํ อนริยานํ สพฺเพสํ เทวานํ สพฺเพสํ มนุสฺสานํ สพฺเพสํ วินิปาติกานํ สพฺเพสํปจฺฉิมาย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณายทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมายอนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณายอนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ เหฏฺฐิมาย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ อุปริมายทิสาย วินิปาติกานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํวชฺเชตฺวา อสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนน วิเหสํ วชฺเชตฺวา อวิเหสายสพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ มา เวริโน สุขิโน โหนฺตุ มาทุกฺขิโน สุขิตตฺตา โหนฺตุ มา ทุกฺขิตตฺตาติ อิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิ สพฺเพ อุปริมายทิสาย วินิปาติเก เมตฺตายตีติ เมตฺตา ตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโตสพฺพพฺยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จเจโตวิมุตฺติจาติเมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ

    [๕๘๔] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโนโหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตาโหติเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุสุขิโน โหนฺตูติ วิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติฯ เป ฯสตึ อุปฏฺฐาเปติ สตินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯเป ฯ จิตฺตํ สมาทหติ สมาธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯปญฺญายปชานาติ ปญฺญินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิเมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ ฯ เป ฯนิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๕] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโนโหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโนโหนฺตูติ อสฺสทฺธิเย น กมฺปติ สทฺธาพลปริภาวิตา โหติเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯโกสชฺเช น กมฺปติ วิริยพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯเป ฯปมาเท น กมฺปติ สติพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เปฯอุทฺธจฺเจ น กมฺปติ สมาธิพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ อวิชฺชาย นกมฺปติ ปญฺญาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตายเจโตวิมุตฺติยา อาเสวนาโหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ ฯเป ฯ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๖]สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สตึอุปฏฺฐาเปติ สติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯปญฺญายปวิจินาติ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯวิริยํปคฺคณฺหาติ วิริยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติฯเปฯปริฬาหํปฏิปฺปสฺสมฺเภติ ปีติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เปฯทุฏฺฐุลฺลํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติ ปสฺสทฺธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯจิตฺตํ สมาทหติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯญาเณน กิเลเส ปฏิสงฺขาติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตาโหติเมตฺตาเจโตวิมุตฺติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติอิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติฯเปฯนิพฺพตฺเตนฺติโชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๗] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโนโหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาปสฺสติ สมฺมาทิฏฺฐิปริภาวิตา โหติเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาอภินิโรเปติ สมฺมาสงฺกปฺปปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาปริคฺคณฺหาติ สมฺมาวาจาปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติฯ เป ฯสมฺมาสมุฏฺฐาเปติ สมฺมากมฺมนฺตปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาโวทาเปติ สมฺมาอาชีวปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาปคฺคณฺหาติสมฺมาวายามปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาอุปฏฺฐาเปติสมฺมาสติปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯเป ฯ สมฺมาสมาธิยติสมฺมาสมาธิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตายเจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติอาเสวิยติ ฯ เป ฯ อิเม อฏฺฐ มคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิอฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตายเจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติสํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนาโหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตาโหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติสฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติปตาเปนฺตีติ ฯ
    เมตฺตากถา ฯ


    คัดลอกมาจากพระไตรปิฎก
    ฉบับภาษาบาลีครั้งแรกสมัยรัชกาลที่ ๕ รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ พุทธศักราช๒๔๓๑
    สมัยรัชกาลที่ ๗ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๔๔ตอนที่ ๓ วันที่ ๑๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๐
    ประกาศมาณ วันที่ ๑๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๐ เปนปีที่ ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน
    พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑ หน้าที่๔๘๒ พิมพ์ครั้งที่ ๑พ.ศ.๒๔๗๐ ครั้งที่ ๔ พ.ศ.๒๕๓๘
    ข้อความจากการพิมพ์สมัยรัชกาลที่ ๕
    ว่า สัพเพสํ สํฆภูตานํ สามัคคี วุฑฺฒิสาธิกา
    แปลว่าความสามัคคีของหมู่ชนทั้งปวงยังความเจริญให้สำเร็จ

    อานิสงส์ของบทนี้
    ๑.พระพุทธเจ้าสอนพระภิกขุที่จะไปอยู่ป่าหรืออยู่ที่ไหนๆ
    ๒.ทำให้ประเทศไทยคงความเป็นเอกราชมาตลอด
    ๓.ทำให้ดงพญาไฟ กลับเป็นดงพญาเย็น

    ความเป็นมาของบทเจริญธรรมบทนี้ได้ทราบมาจากบทสวดเป็นตอนๆ ที่สมัยก่อนที่เกิดเหตุร้าย โจรชุกชุมภูตผีปีศาจ เกิดขึ้นพระท่านจะสวดบทนี้เพื่อขจัดสิ่งต่างๆออกไป เช่นจากคัมภีร์เก่าได้บันทึกไว้เมื่อสมัยของดงพญาไฟให้คนทั้งหลายสวดจนเปลี่ยนชื่อจากดงพญาไฟเป็นดงพญาเย็นถึงปัจจุบันนี้<O:p</O:p
    ค้นพบอีกก็คือสมัยอยุธยาพระสุพรรณกัลยาเป็นผู้ที่ชอบสวดมนต์เมื่ออยู่ที่พม่าพระนางจะสวดมนต์และอ่านพระไตรปิฎกนอกเหนือจากนั้นยังได้นำคัมภีร์พระไตรปิฎกติดตามไปด้วยและส่วนหนึ่งได้เก็บซุกไว้ในที่แห่งหนึ่ง ตามบันทึกที่ตำหนักของนางพระสุพรรณกัลยาที่ประเทศพม่า<O:p</O:p<O:p</O:p
    <!-- google_ad_section_end -->__________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->
     
  8. วิญญาณนิพพาน

    วิญญาณนิพพาน ทีมงานอาสาฯ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2008
    โพสต์:
    22,286
    กระทู้เรื่องเด่น:
    51
    ค่าพลัง:
    +21,002
    ร้องไห้จากข้างใน อันนี้ผมไม่รู้ครับ เเต่ถ้าร้องไห้ข้างนอกก็เป็นอาการของปีติครับ ฟังดูตามนี้ครับ เจริญในธรรมครับ ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตามก็ปล่อยเค้าครับ อย่าไปสนใจครับ ทําสิ่งที่เราทัาอยู่ก็พอครับ

    อาการของปีติ<!-- google_ad_section_end -->

    <hr style="color: rgb(255, 255, 255); background-color: rgb(255, 255, 255);" size="1">
    Artist: ศจ.อุบาสิกา คุณรัญจวน อินทรกำแหง
    <fieldset class="fieldset"> <legend>ไฟล์แนบข้อความ</legend> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="3"> <tbody><tr> <td width="20"><input id="play_8721" onclick="document.all.music.url=document.all.play_8721.value;" name="Music" value="attachment.php?attachmentid=8721" type="RADIO">ฟัง</td> <td>[​IMG]</td> <td>035 อาการของปีติ.mp3 (2.48 MB, 2506 views)</td></tr> </tbody></table> </fieldset>
    <!-- google_ad_section_start -->อาการของปีติ โดย ศจ.อุบาสิกา คุณรัญจวน อินทรกำแหง

    อาการของปีติ - Buddhism Audio
     
  9. ratta99

    ratta99 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    32
    ค่าพลัง:
    +40
    สวดเมตตาใหญ่แบบไหนหรอค่ะ เห็นมีของหลายที่เลยอยากสวดบ้าง
     
  10. saipote

    saipote เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2009
    โพสต์:
    6,115
    ค่าพลัง:
    +9,778
    อนุโมทนาสาธุค่ะ ขอบคุณในบทความค่ะ ทีนี้รู้แล้วว่าเราติดอยู่ตรงนี้เองถึงไปไม่ถึงไหนเสียที ติดตรงที่เค้าเรียกว่า "วิปัสสนูกิเลส"
     
  11. วิญญาณนิพพาน

    วิญญาณนิพพาน ทีมงานอาสาฯ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2008
    โพสต์:
    22,286
    กระทู้เรื่องเด่น:
    51
    ค่าพลัง:
    +21,002
    ตอนนี้ผมหันมาสวดมหาเมตตาใหญ่ทุกวันเเล้วครับ สวดมาสองอาทิตย์ได้เเล้ว อยากให้ทุกคนสวดกันครับ เเล้วเมตตาจะเกิดกับเราทุกคนเเน่นอน อาจจะยาวหน่อย เเต่ถ้าสวดทุกวันเเล้วจะไม่รู้สีกยาวอีกต่อไป อ้อ เเนะนําให้เดินจงกรมด้วยจะดีมากครับ เพราะอานิสงส์จากการเดินจงกรมนั้นทําให้สมาธิเราทรงตัว ไม่เหนื่อยง่ายตอนสวดด้วยครับ เจริญในธรรมครับ เเละนี่คืออาการของ จขกท ครับ ผมคิดว่าใช่ครับ ลองมาฟังให้จบดูครับ ไม่ยาวครับ

    อาการของปีติ<!-- google_ad_section_end -->

    <hr style="color: rgb(255, 255, 255); background-color: rgb(255, 255, 255);" size="1">
    Artist: ศจ.อุบาสิกา คุณรัญจวน อินทรกำแหง
    <fieldset class="fieldset"> <legend>ไฟล์แนบข้อความ</legend> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="3"> <tbody><tr> <td width="20"><input id="play_8721" onclick="document.all.music.url=document.all.play_8721.value;" name="Music" value="attachment.php?attachmentid=8721" type="RADIO">ฟัง</td> <td>[​IMG]</td> <td>035 อาการของปีติ.mp3 (2.48 MB, 2621 views)</td></tr> </tbody></table> </fieldset>
    <!-- google_ad_section_start -->อาการของปีติ โดย ศจ.อุบาสิกา คุณรัญจวน อินทรกำแหง

    อาการของปีติ - Buddhism Audio
     
  12. มุตา

    มุตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    95
    ค่าพลัง:
    +288
    ขอบคุณผู้รู้ และอนุโมทนากับทุกท่าน ครับ ช่วงหลังผมสวดน้อยลง จะเริ่มมากขึ้นแล้ว ครับ
     
  13. nami_mp

    nami_mp Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +33
    อยากสอบถามเรื่องสวดพระคาถามหาเมตตาใหญ่ คืออยากจะเริ่มสวดนะค่ะแต่ไม่ทราบว่าสวดก่อนหรือหลังจากบทสวดมนต์อื่นๆ หรือหลังจากการแผ่เมตาตา แล้วจะต้องสวดคำแปลด้วยหรือเปล่าค่ะ รบกวนด้วยนะค่ะ
     
  14. อภิญญาสี่

    อภิญญาสี่ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ธันวาคม 2019
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +0

แชร์หน้านี้

Loading...