คิริมานนท์สูตรและคำแปล

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย ธัมมนัตา, 21 สิงหาคม 2007.

  1. ธัมมนัตา

    ธัมมนัตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +9,768
    คิริมานันทะสุตตะปาโฐ<O:p</O:p

    พระสูตรเพื่อการวิปัสสนา โดยการพิจารณา สัญญา ต่าง ๆ 10 ประการ เพื่อให้เข้าใจความจริง <O:p</O:p
    เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง<O:p</O:p
    วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม เตนะ โข ปะนะ <O:p</O:p
    สะมะเยนะ อายัสมา คิริมานันโท อาพาธิโก โหติ ทุกขิโต<O:p</O:p
    พาฬหะคิลาโน อะถะโข อายัสมา อานันโท เยนะ ภะคะวา<O:p</O:p
    เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิตวา ภะคะวันตัง อะภิวาเทตวา เอกะมันตัง<O:p</O:p
    นิสีทิ เอกะมันตัง นิสินโน โข อายัสมา อานันโท ภะคะวันตัง<O:p</O:p
    เอตะทะโวจะ ฯ<O:p</O:p
    อายัสมา ภันเต คิริมานันโท อาพาธิโก ทุกขิโต พาฬหะคิลาโน<O:p</O:p
    สาธุ ภันเต ภะคะวา เยนายัสมา คิริมานันโท เตนุปะสังกะมะตุ<O:p</O:p
    อะนุกัมปัง อุปาทายาติ ฯ สะเจ โข ตวัง อานันทะ คิริมานันทัสสะ<O:p</O:p
    ภิกขุโน อุปะสังกะมิตวา ทะสะ สัญญา ภาเสยยาสิ ฐานัง โข<O:p</O:p
    ปะเนตัง วิชชะติ ยัง คิริมานันทัสสะ ภิกขุโน ทะสะ สัญญา<O:p</O:p
    สุตวา โส อาพาโธ ฐานะโส ปะฏิปปัสสัมเภยยะ ฯ กะตะมา ทะสะ ฯ<O:p</O:p
    1. อะนิจจะสัญญา <O:p</O:p
    2. อะนัตตะสัญญา <O:p</O:p
    3. อะสุภะสัญญา <O:p</O:p
    4. อาทีนะวะสัญญา<O:p</O:p
    5. ปะหานะสัญญา <O:p</O:p
    6. วิราคะสัญญา <O:p</O:p
    7. นิโรธะสัญญา <O:p</O:p
    8. สัพพะโลเกอะนะภิระตะสัญญา <O:p</O:p
    9. สัพพะสังขาเรสุอะนิจจะสัญญา <O:p</O:p
    10. อานาปานัสสะติ ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    1. กะตะมา จานันทะ อะนิจจะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ<O:p</O:p
    อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา<O:p</O:p
    อิติ ปะฏิสัญจิกขะติ <O:p</O:p
    รูปัง อะนิจจัง <O:p</O:p
    เวทะนา อะนิจจา <O:p</O:p
    สัญญา อะนิจจา<O:p</O:p
    สังขารา อะนิจจา <O:p</O:p
    วิญญาณัง อะนิจจันติ ฯ อิติ อิเมสุ ปัญจะสุ <O:p</O:p
    อุปาทานักขันเธสุ อะนิจจานุปัสสี วิหะระติ ฯ อะยัง วุจจะตานันทะ<O:p</O:p
    อะนิจจะสัญญา ฯ<O:p</O:p
    2. กะตะมา จานันทะ อะนัตตะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ<O:p</O:p
    อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ<O:p</O:p
    ปะฏิสัญจิกขะติ <O:p</O:p
    1. จักขุง อะนัตตา <O:p</O:p
    2. รูปา อะนัตตา <O:p</O:p
    3. โสตัง อะนัตตา<O:p</O:p
    4. สัททา อะนัตตา <O:p</O:p
    5. ฆานัง อะนัตตา <O:p</O:p
    6. คันธา อะนัตตา <O:p</O:p
    7. ชิวหา อะนัตตา<O:p</O:p
    8. ระสา อะนัตตา <O:p</O:p
    9. กาโย อะนัตตา <O:p</O:p
    10. โผฏฐัพพา อะนัตตา <O:p</O:p
    11. มะโนอะนัตตา <O:p</O:p
    12. ธัมมา อะนัตตาติ ฯ<O:p</O:p
    อิติ อิเมสุ ฉะสุ อัชฌัตติกะพาหิเรสุ อายะตะเนสุ อะนัตตานุปัสสี วิหะระติ ฯ อะยัง วุจจะตานันทะ อะนัตตะสัญญา ฯ<O:p</O:p
    3. กะตะมา จานันทะ อะสุภะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ<O:p</O:p
    อิมะเมวะ กายัง อุทธัง ปาทะตะลา อะโธ เกสะมัตถะกา<O:p</O:p
    ตะจะปะริยันตัง ปูรันนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน ปัจจะเวกขะติ อัตถิ<O:p</O:p
    อิมัสมิง กาเย เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ มังสัง นะหารู<O:p</O:p
    อัฏฐี อัฏฐิมิญชัง วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง กิโลมะกัง ปิหะกัง<O:p</O:p
    ปัปผาสัง อันตัง อันตะคุณัง อุทะริยัง กะรีสัง ปิตตัง เสมหัง ปุพโพ<O:p</O:p
    โลหิตัง เสโท เมโท อัสสุ วะสา เขโฬ สิงฆาณิกา ละสิกา<O:p</O:p
    มุตตันติ ฯ อิติ อิมัสมิง กาเย อะสุภานุปัสสี วิหะระติ ฯ อะยัง<O:p</O:p
    วุจจะตานันทะ อะสุภะสัญญา ฯ<O:p</O:p
    4. กะตะมา จานันทะ อาทีนะวะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ<O:p</O:p
    อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ <O:p</O:p
    ปะฏิสัญจิกขะติ พะหุทุกโข โข อะยัง กาโย พะหุอาทีนะโวติ ฯ อิติ<O:p</O:p
    อิมัสมิง กาเย วิวิธา อาพาธา อุปปัชชันติ ฯ เสยยะถีทัง ฯ จักขุโรโค<O:p</O:p
    โสตะโรโค ฆานะโรโค ชิวหาโรโค กายะโรโค สีสะโรโค กัณณะโรโค<O:p</O:p
    มุขะโรโค ทันตะโรโค กาโส สาโส ปินาโส ฑะโห ชะโร กุจฉิโรโค<O:p</O:p
    มุจฉา ปักขันทิกา สุลา วิสูจิกา กุฏฐัง คัณโฑ กิลาโส โสโส<O:p</O:p
    อะปะมาโร ทันทุ กัณฑุ กัจฉุ ระขะสา วิตัจฉิก โลหิตัง ปิตตัง<O:p</O:p
    มะธุเมโห อังสา ปิฬะกา ภะคัณฑะลา ฯ ปิตตะสะมุฏฐานา อาพาธา<O:p</O:p
    เสมหะสะมุฏฐานา อาพาธา วาตะสะมุฏฐานา อาพาธา สันนิปาติกา<O:p</O:p
    อาพาธา อุตุปะริณามะชา อาพาธา วิสะมะปะระหาระชา อาพาธา<O:p</O:p
    โอปักกะมิกา อาพาธา กัมมะวิปากะชา อาพาธา สีตัง อุณหัง ชิฆัจฉา<O:p</O:p
    ปิปาสา อุจจาโร ปัสสาโวติ ฯ อิติ อิมัสมิง กาเย อาทีนะวานุปัสสี<O:p</O:p
    วิหะระติ ฯ อะยัง วุจจะตานันทะ อาทีนะวะสัญญา ฯ<O:p</O:p
    5. กะตะมา จานันทะ ปะหานะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ<O:p</O:p
    อุปปันนัง กามะวิตักกัง นาธิวาเสติ ปะชะหะติ วิโนเทติ พยันตีกะโรติ<O:p</O:p
    อะนะภาวัง คะเมติ อุปปันนัง พยาปาทะวิตักกัง นาธิวาเสติ ปะชะหะติ<O:p</O:p
    วิโนเทติ พยันตีกะโรติ อะนะภาวัง คะเมติ อุปปันนัง วิหิงสาวิตักกัง<O:p</O:p
    นาธิวาเสติ ปะชะหะติ วิโนเทติ พยันตีกะโรติ อะนะภาวัง คะเมติ<O:p</O:p
    อุปปันนุปปันเน ปาปะเก อะกุสะเล ธัมเม นาธิวาเสติ ปะชะหะติ<O:p</O:p
    วิโนเทติ พยันตีกะโรติ อะนะภาวัง คะเมติ ฯ อะยัง วุจจะตานันทะ<O:p</O:p
    ปะหานะสัญญา ฯ<O:p</O:p
    6. กะตะมา จานันทะ วิราคะสัญญา อิธานันทะ ภิกขุ<O:p</O:p
    อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ <O:p</O:p
    ปะฏิสัญจิกขะติ เอตัง สันตัง เอตัง ปะณีตัง ยะทิทัง สัพพะสังขา<O:p</O:p
    ระสะมะโก สัพพูปะธิปะฏินิสสัคโค ตัณหักขะโย วิราโค นิพพานันติ ฯ<O:p</O:p
    อะยัง วุจจะตานันทะ วิาคะสัญญา ฯ<O:p</O:p
    7. กะตะมา จานันทะ นิโรธะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ<O:p</O:p
    อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ<O:p</O:p
    ปะฏิสัญจิกขะติ เอตัง สันตัง เอตัง ปะณีตัง ยะทิทัง<O:p</O:p
    สัพพะสังขาระสะมาโถ สัพพูปะธิปะฏินิสสัคโค ตัณหักขะโย นิโรโธ<O:p</O:p
    นิพพานันติ ฯ อะยัง วุจจะตานันทะ นิโรธะสัญญา ฯ<O:p</O:p
    8. กะตะมา จานันทะ สัพพะโลเก อะนะภิระตะสัญญา<O:p</O:p
    อิธานันทะ ภิกขุ เย โลเก อุปายุปาทานา เจตะโส อะธิฏฐานาภินิเวสา-<O:p</O:p
    นุสะยา เต ปะชะหันโต วิระมะติ นะ อุปาทิยันโต อะยัง<O:p</O:p
    วุจจะตานันทะ สัพพะโลเก อะนะภิะระตะสัญญา ฯ<O:p</O:p
    9. กะตะมา จานันทะ สัพพะสังขาเรสุ อะนิจจะสัญญา<O:p</O:p
    อิธานันทะ ภิกขุ สัพพะสังขาเรหิ อัฏฏิยะติ หะรายะติ ชิคุจฉะติ ฯ<O:p</O:p
    อะยัง วุจจะตานันทะ สัพพะสังขาเรสุ อะนิจจะสัญญา ฯ<O:p</O:p
    10. กะตะมา จานันทะ อานาปานัสสติ อิธานันทะ ภิกขุ<O:p</O:p
    อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา นิสีทะติ<O:p</O:p
    ปัลลังกัง อาภุชิตวา อุชุง กายัง ปะณิธายะ ปะริมุขัง สะติง อุปัฏฐะเปตวา ฯ โส สะโต วะ <O:p</O:p
    อัสสะสะติ สะโต ปัสสะสะติ ฯ<O:p</O:p
    ทีฆัง วา อัสสะสันโต ทีฆัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ<O:p</O:p
    ทีฆัง วา ปัสสะสันโต ทีฆัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ <O:p</O:p
    รัสสัง วา อัสสะสันโต รัสสัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ<O:p</O:p
    รัสสัง วา ปัสสะสันโต รัสสัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ<O:p</O:p
    สัพพะกายะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    สัพพะกายะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    ปีติปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    ปีติปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    สุขะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ <O:p</O:p
    สุขะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    ปัสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    ปัสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    จิตตะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    จิตตะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง ปัสสะสิสสามิติ สิกขะติ<O:p</O:p
    สะมาทะหัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    สะมาทะหัง จิตตัง ปัสสะลิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    วิโมจะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ <O:p</O:p
    วิโมจะยัง จิตตัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    อะนิจจานุปัสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    อะนิจจานุปัสสี ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    วิราคานุปัสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    วิราคานุปัสสี ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    นิโรธานุปัสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    นิโรธานุปัสสี ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    ปะฏินิสสัคคานุปัสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ <O:p</O:p
    ปะฏินิสสัคคานุปัสสี ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ<O:p</O:p
    อะยัง วุจจะตานันทะ อานาปานัสสะติ ฯ <O:p</O:p
    สะเจ โข ตวัง อานันทะ คิริมานันทัสสะ ภิกขุโน<O:p</O:p
    อุปะสังกะมิตวา อิมา ทะสะ สัญญา ภาเสยยาสิ ฐานัง โข ปะเนตัง<O:p</O:p
    วิชชะติ ยัง คิริมานันทัสสะ ภิกขุโน อิมา ทะสะ สัญญา สุตวา<O:p</O:p
    โส อาพาโธ ฐานะโส ปะฏิปปัสสัมเภยยาติ ฯ<O:p</O:p
    อะถะโข อายัสมา อานันโท ภะคะวะโต สันติเก อิมา ทะสะ<O:p</O:p
    สัญญา อุคคะเหตวา เยนายัสมา คิริมานันโท เตนุปะสังกะมิ<O:p</O:p
    อุปะสังกะมิตวา อายัสมะโต คิริมานันทัสสะ อิมา ทะสะ สัญญา อะภาสิ ฯ<O:p</O:p
    อะถะโข อายัสมะโต คิริมานันทัสสะ อิมา ทะสะ สัญญา<O:p</O:p
    สุตวา โส อาพาโธ ฐานะโส ปะฏิปัสสัมภิ ฯ วุฏฐะหิ จายัสมา<O:p</O:p
    คิริมานันโท ตัมหา อาพาธา ตะถาปะหีโน จะ ปะนายัสมะโต<O:p</O:p
    คิริมานันทัสสะ โส อาพาโธ อะโหสีติ ฯ <O:p</O:p
    ****************************************************************************<O:p></O:p>
     
  2. ธัมมนัตา

    ธัมมนัตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +9,768
    คำแปล

    คำแปลคิริมานนทสูตร<O:p</O:p
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ก็สมัยนั้นแล ท่านพระคิริมานนท์อาพาธ ได้รับทุกข์ เป็น<O:p</O:p
    ไข้หนักครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งครั้นแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่<O:p</O:p
    พระองค์ผู้เจริญ ท่านพระคิริมานนท์อาพาธ ได้รับทุกข์เป็นไข้หนัก ขอประทานพระวโรกาสขอพระผู้มีพระภาคได้โปรดอนุเคราะห์เสด็จเยี่ยมท่าน พระคิริมานนท์ยังที่อยู่เถิด พระเจ้าข้า ฯ<O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ ถ้าเธอพึงเข้าไปหาแล้วกล่าวสัญญา๑๐ ประการ<O:p</O:p
    แก่คิริมานันทภิกษุไซร้ ข้อที่อาพาธของคิริมานันทภิกษุจะพึงสงบระงับโดยพลัน เพราะได้ฟัง<O:p</O:p
    สัญญา ๑๐ ประการนั้น เป็นฐานะที่จะมีได้ สัญญา ๑๐ประการเป็นไฉน คือ <O:p></O:p>
    อนิจจสัญญา ๑<O:p</O:p
    อนัตตสัญญา ๑<O:p</O:p
    อสุภสัญญา ๑<O:p</O:p
    อาทีนวสัญญา ๑ <O:p</O:p
    ปหานสัญญา ๑ <O:p</O:p
    วิราคสัญญา ๑ <O:p</O:p
    นิโรธสัญญา ๑<O:p</O:p
    สัพพโลเกอนภิรตสัญญา ๑<O:p</O:p
    สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา ๑<O:p</O:p
    อานาปานัสสติ ๑ ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    1. ดูกรอานนท์ ก็อนิจจสัญญาเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้อยู่ในป่าก็ดี<O:p</O:p
    อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างเปล่าก็ดี ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่ารูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง<O:p</O:p
    สัญญาไม่เที่ยง สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง ย่อมพิจารณาเห็นโดยความเป็นของ<O:p</O:p
    ไม่เที่ยงในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ด้วยประการอย่างนี้ ดูกรอานนท์ นี้เรียกว่าอนิจจสัญญา ฯ<O:p</O:p
    2. ดูกรอานนท์ ก็อนัตตสัญญาเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้อยู่ในป่าก็ดี<O:p</O:p
    อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างเปล่าก็ดี ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า<O:p></O:p>
    1. จักษุเป็นอนัตตา <O:p</O:p
    2. รูปเป็นอนัตตา<O:p</O:p
    3. หูเป็นอนัตตา <O:p</O:p
    4. เสียงเป็นอนัตตา <O:p</O:p
    5. จมูกเป็นอนัตตา <O:p</O:p
    6. กลิ่นเป็นอนัตตา <O:p</O:p
    7. ลิ้นเป็นอนัตตา <O:p</O:p
    8. รสเป็นอนัตตา <O:p</O:p
    9. กายเป็นอนัตตา<O:p</O:p
    10. โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา <O:p</O:p
    11. ใจเป็นอนัตตา <O:p</O:p
    12. ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา<O:p</O:p
    ย่อมพิจารณาเห็นโดยความเป็นอนัตตาในอายตนะทั้งหลาย ทั้งภายในและภายนอก ๖ ประการเหล่านี้ด้วยประการอย่างนี้ ดูกรอานนท์ นี้เรียกว่า อนัตตสัญญา ฯ<O:p</O:p
    3. ดูกรอานนท์ ก็อสุภสัญญาเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมพิจารณา<O:p</O:p
    เห็นกายนี้นั่นแล เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นไป เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงมามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ<O:p</O:p
    เต็มด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ ว่า ในกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น<O:p></O:p>
    กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม เนื้อหัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่<O:p></O:p>
    อาหารเก่า ดี เสลดหนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตาเปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร ย่อมพิจารณาเห็นโดยความเป็นของไม่งามในกายนี้ ด้วยประการดังนี้ ดูกรอานนท์นี้เรียกว่าอสุภสัญญา ฯ<O:p</O:p
    4. ดูกรอานนท์ ก็อาทีนวสัญญาเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้อยู่ในป่าก็ดี<O:p</O:p
    อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างเปล่าก็ดี ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่ากายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก<O:p</O:p
    เพราะฉะนั้น อาพาธต่างๆ จึงเกิดขึ้นในกายนี้ คือโรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย<O:p</O:p
    โรคศีรษะ โรคที่ใบหู โรคปากโรคฟัน โรคไอ โรคหืด โรคไข้หวัด โรคไข้พิษ โรคไข้เซื่องซึมโรคในท้องโรคลมสลบ โรคบิด โรคจุกเสียด โรคลงราก โรคเรื้อน โรคฝี โรคกลาก<O:p</O:pโรคสมองฝ่อ โรคลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน โรคคุดทะราด หูด โรคละออง บวม <O:p</O:pโรคอาเจียนโลหิต โรคดีเดือด โรคเบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง โรคริดสีดวง อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีไข้สันนิบาต<O:p</O:p
    อาพาธอันเกิดแต่ฤดูแปรปรวน อาพาธอันเกิดแต่การบริหารไม่สม่ำเสมอ อาพาธอันเกิดแต่ความ<O:p</O:p
    เพียรเกินกำลัง อาพาธอันเกิดแต่วิบากของกรรม ความหนาว ความร้อน ความหิว ความกระหาย<O:p</O:p
    ปวดอุจจาระ ปวดปัสสาวะ ย่อมพิจารณาเห็นโดยความเป็นโทษในกายนี้ ด้วยประการดังนี้ดูกรอานนท์ นี้เรียกว่าอาทีนวสัญญา ฯ<O:p></O:p>
    5. ดูกรอานนท์ ก็ปหานสัญญาเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมไม่ยินดี<O:p</O:p
    ย่อมละ ย่อมบรรเทา ย่อมทำให้หมดสิ้นไป ย่อมทำให้ถึงความไม่มี ซึ่งกามวิตกอันเกิดขึ้นแล้ว<O:p</O:p
    ย่อมไม่ยินดี ย่อมละ ย่อมบรรเทา ย่อมทำให้หมดสิ้นไป ย่อมทำให้ถึงความไม่มี ซึ่งพยาบาท<O:p</O:p
    วิตกอันเกิดขึ้นแล้ว ย่อมไม่ยินดีย่อมละ ย่อมบรรเทา ย่อมทำให้หมดสิ้นไป ย่อมให้ถึงความ<O:p</O:p
    ไม่มี ซึ่งวิหิงสาวิตกอันเกิดขึ้นแล้ว ย่อมไม่ยินดี ย่อมละ ย่อมบรรเทา ย่อมทำให้หมดสิ้นไป<O:p</O:p
    ย่อมให้ถึงความไม่มี ซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลายอันชั่วช้า อันเกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นแล้วดูกรอานนท์<O:p</O:p
    นี้เรียกว่าปหานสัญญา ฯ<O:p</O:p
    6. ดูกรอานนท์ ก็วิราคสัญญาเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้อยู่ในป่าก็ดี<O:p</O:p
    อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างเปล่าก็ดี ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่าธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่น<O:p</O:p
    ประณีต คือ ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง ธรรมเป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง ธรรมเป็นที่สิ้นไป<O:p</O:p
    แห่งตัณหา ธรรมเป็นที่สำรอกกิเลสธรรมชาติเป็นที่ดับกิเลสและกองทุกข์ ดูกรอานนท์ นี้<O:p</O:p
    เรียกว่าวิราคสัญญา ฯ<O:p</O:p
    7. ดูกรอานนท์ นิโรธสัญญาเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้อยู่ในป่าก็ดี<O:p</O:p
    อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างเปล่าก็ดี ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่าธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาติ<O:p</O:p
    นั่นประณีต คือ ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง ธรรมเป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง ธรรมเป็นที่สิ้น<O:p</O:p
    ไปแห่งตัณหา ธรรมเป็นที่ดับโดยไม่เหลือ ธรรมชาติเป็นที่ดับกิเลสและกองทุกข์ ดูกรอานนท์<O:p</O:p
    นี้เรียกว่านิโรธสัญญา ฯ<O:p</O:p
    8. ดูกรอานนท์ สัพพโลเกอนภิรตสัญญาเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้<O:p</O:p
    ละอุบาย และอุปาทานในโลก อันเป็นเหตุตั้งมั่น ถือมั่น และเป็นอนุสัยแห่งจิต ย่อม งดเว้น ไม่ถือมั่น ดูกรอานนท์ นี้เรียกว่าสัพพโลเกอนภิรตสัญญา ฯ<O:p</O:p
    9. ดูกรอานนท์ สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญาเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินั<O:p</O:p
    นี้ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชังแต่สังขารทั้งปวง ดูกรอานนท์นี้เรียกว่าสัพพสังขาเรสุ<O:p</O:p
    อนิจจสัญญาฯ<O:p</O:p
    10. ดูกรอานนท์ อานาปานัสสติเป็นไฉน ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่า<O:p</O:p
    ก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างเปล่าก็ดี นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า<O:p</O:p
    เธอเป็นผู้มีสติหายใจออก เป็นผู้มีสติหายใจเข้า <O:p</O:p
    เมื่อหายใจออกยาวก็รู้ชัดว่า หายใจออกยาว<O:p</O:p
    หรือเมื่อหายใจเข้ายาวก็รู้ชัดว่า หายใจเข้ายาว <O:p</O:p
    เมื่อหายใจออกสั้นก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้น<O:p</O:p
    หรือเมื่อหายใจเข้าสั้นก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้กำหนดรู้กายทั้งปวง(ลมหายใจ) หายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้กำหนดรู้กายทั้งปวงหายใจเข้า<O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่าจักระงับกายสังขาร (ลมหายใจ) หายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่าจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักกำหนดรู้ปีติหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักกำหนดรู้ปีติหายใจเข้า <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักกำหนดรู้สุขหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักกำหนดรู้สุขหายใจเข้า <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่าจักกำหนดรู้จิตตสังขาร (เวทนา)หายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักกำหนดรู้จิตตสังขารหายใจเข้า <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่าจักระงับจิตตสังขารหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักระงับจิตตสังขารหายใจเข้า <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักกำหนดรู้จิตหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักกำหนดรู้จิตหายใจเข้า<O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักยังจิตให้บันเทิงหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักยังจิตให้บันเทิงหายใจเข้า<O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักตั้งจิตให้มั่นหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักตั้งจิตให้มั่นหายใจเข้า<O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเปลื้องจิตหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเปลื้องจิตหายใจเข้า <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความเป็นของไม่เที่ยงหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความเป็นของไม่เที่ยงหายใจเข้า<O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความคลายกำหนัดหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความคลายกำหนัดหายใจเข้า <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความดับสนิทหายใจออก<O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความดับสนิทหายใจเข้า <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความสลัดคืนหายใจออก <O:p</O:p
    ย่อมศึกษาว่า จักเป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความสลัดคืนหายใจเข้า<O:p</O:p
    ดูกรอานนท์ นี้เรียกว่าอานาปานัสสติ ฯ <O:p</O:p
    ดูกรอานนท์ ถ้าเธอพึงเข้าไปหาแล้ว กล่าวสัญญา ๑๐ ประการนี้แก่คิริมานนทภิกษุไซร้<O:p</O:p
    ข้อที่อาพาธของคิริมานนทภิกษุจะพึงสงบระงับโดยพลันเพราะได้ฟังสัญญา ๑๐ ประการนี้เป็น<O:p</O:p
    ฐานะที่จะมีได้ ฯ <O:p</O:p
    ลำดับนั้นแล ท่านพระอานนท์ได้เรียนสัญญา ๑๐ ประการนี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาค<O:p</O:p
    แล้ว ได้เข้าไปหาท่านพระคิริมานนท์ยังที่อยู่ ครั้นแล้วได้กล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่ท่านพระ<O:p</O:p
    คิริมานนท์ ครั้งนั้นแล อาพาธนั้นของท่านพระคิริมานนท์สงบระงับโดยพลัน เพราะได้ฟังสัญญา<O:p</O:p
    ๑๐ ประการนี้ ท่านพระคิริมานนท์หายจากอาพาธนั้น ก็แลอาพาธนั้นเป็นโรคอันท่านพระคิริมานนท์ละได้แล้วด้วยประการนั้นแล ฯ<O:p</O:p
    จบสูตรที่ ๑๐<O:p</O:p
     
  3. "เหลียง ขงเบ้ง"

    "เหลียง ขงเบ้ง" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +336
    บทนี้สวดแล้วดีไหมคับ มีรายละเอียดไหมคับ
     
  4. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    กราบโมทนา สาธุ
    กับท่านที่ได้นำพระธรรมมาเผยแพร่
    และท่านที่ได้นำพระธรรมไปพิจารณาและปฏิบัติตาม
    นิพพานัง ปัจจโย โหตุ
     
  5. LungKO

    LungKO เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    590
    ค่าพลัง:
    +925

    มีคำตอบ ครับ นี่ครับพระพุทธองค์ตอบไว้แล้ว ว่า

    ดูกรอานนท์ ถ้าเธอพึงเข้าไปหาแล้ว กล่าวสัญญา ๑๐ ประการนี้แก่คิริมานนทภิกษุไซร้

    ข้อที่อาพาธของคิริมานนทภิกษุจะพึงสงบระงับโดยพลันเพราะได้ฟังสัญญา ๑๐ ประการนี้
    เป็น
    ฐานะที่จะมีได้ (คือเป็นไปได้)ฯ
    ลำดับนั้นแล ท่านพระอานนท์ได้เรียนสัญญา ๑๐ ประการนี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้เข้าไปหาท่านพระคิริมานนท์ยังที่อยู่ ครั้นแล้วได้กล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่ท่านพระคิริมานนท์ ครั้งนั้นแล อาพาธนั้นของท่านพระคิริมานนท์สงบระงับโดยพลัน เพราะได้ฟังสัญญา ๑๐ ประการนี้ ท่านพระคิริมานนท์หายจากอาพาธนั้น ก็แลอาพาธนั้นเป็นโรคอันท่านพระคิริมานนท์ละได้แล้วด้วยประการนั้นแล ฯ
    จบสูตรที่ ๑๐
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 24 มีนาคม 2012

แชร์หน้านี้

Loading...