จิตอ่อน ...งง

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย เรืองรักข์, 22 กันยายน 2008.

  1. เรืองรักข์

    เรืองรักข์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +174
    สอบถามท่านผู้รู้ทุกท่าน ช่วยแนะนำให้เป็นวิทยาทานทีนะคะ
    การเป็นคนจิตอ่อนนั้น คืออะไรค่ะ ใช่ที่หมายถึงคนที่มีกิเลศหรือเปล่า
    แล้วต้องทำไงบ้างค่ะ จึงจะพัฒนาให้จิตแข็งได้ค่ะ

    และหากการที่เราไม่ค่อยจะทำบุญ
    (การทำบุญนี้รวมถึงกับการหมั่นสวดมนต์ไหม)
    และไม่เคยอุทิศแผ่บุญกุศลให้กับเทพเทวดาที่ปกป้องเราแล้ว จะทำให้ท่านไม่มีพลังคอยปกป้องรักษาเรานี้เกี่ยวกันกะจิตไหม

    อนุโมทนาบุญทุกท่านค่ะ
     
  2. บุคคลทั่วไป 3 คน

    บุคคลทั่วไป 3 คน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,938
    ค่าพลัง:
    +1,253
    มันก็มีหลายประเภทนะครับ เรื่องจิตอ่อน แต่โดยทั่วไปแล้วจะมี
    สิ่งหนึ่งคล้ายกัน คือ การไหลไปตามสิ่งกระทบ ไม่ว่าสิ่งที่มา
    กระทบจิตจะเป็นอะไร ก็จะเกิดการสำคัญว่านั้นเป็นเรื่องของตน
    แล้วก็ไปคว้ามาเป็นตนเสียดื้อๆ

    เช่น ไปเห็นกระเป๋านี้ช่างสวย ก็ซื้อเอามาเสียง่ายดาย โดยไม่
    ได้คำนึงถึงความจำเป็น

    เช่น ไปเห็นเขายกมือไหว้อะไรอยู่ เราก็รวมวงยกมือไหว้กับเขา
    ก่อนที่จะถามว่า ไหว้อะไรกันเหรอ

    เช่น เรานั่งอยู่ดีๆก็เห็นความคิดผุดขึ้นว่าหมั่นไส้ใครบางคน ก็เกิด
    อาการตวัดมือจะตบทั้งที่มันเป็นเพียงแค่ความคิด

    เช่น เรานั่งอยู่ดีก็เห็นว่าเราช่างมีความสุขที่ได้เป็นปลาแหวกว่ายใน
    น้ำก็ไหลลงจากเก้าอี้ไปดิ้นกระแด๊กๆ เป็นปลาโดยไม่รู้ตัว

    สรุป คือ จิตมีโมหะได้ง่าย จึงทำให้ไหลตกภวังค์จิตได้ง่าย พอตก
    ภวังคจิตแล้ว สิ่งรายรอบตัวก็จะแทรกเข้ามาในจิตเราได้ มีทั้งความคิด
    สังขารธรรมของเราเอง และสังขารธรรมของสัตว์ชนิดอื่นๆ ไม่เกี่ยงแม้
    เรื่องภพ มิติ และด้วยอำนาจของภวังคจิต และโมหะจิตที่มีมากทำให้
    ไม่อาจระลึกสภาวะปัจจุบันตามความเป็นจริงได้อีก เหมือนคนละเมอ
    ที่ไม่เกี่ยงว่าจะนอน หรือ ตื่นอยู่

    วิธีแก้ ง่ายนิดเดียว คือ การยอมรับว่าตนมีโมหะมูลจิตมาก เสร็จแล้วก็
    คอยดูว่า ความคิดของเรานั้นค่อนข้างจะมีมโนภาพมาเกี่ยวข้องมาก
    น้อยแค่ไหน เมื่อเข้าใจจิตใจ และวิถีจิตของตน ก็เอามาระลึกตามรู้
    ตามดูไปเฉยๆ เพิ่มเติมจากการ ไปรู้ ไปเห็น หรือ ไหลไป พอคิดมีมโน
    ภาพผุดขึ้นก็ให้รูสึก พอความคิดเริ่มไหลไปก็รู้สึก พอดูหนังเริ่มอินก็ให้
    รู้สึก พอเห็นกระเป๋าเกิดหลงชอบก็ให้รู้สึก

    จะซื้อหรือไม่ซื้อ จะทำหรือไม่ทำ หากรู้สึกได้แล้ว ต่อไปก็ให้ใช้เหตุผล
    เข้าไปกำกับร่วมด้วย เห็นเข้าไหว้อะไรก็ให้ รู้สึกตัวก่อน แล้วเอาเหตุผลมา
    ก่อน คือ ถามเขาก่อน แล้วค่อยยกมือไหว้ อีกที ก็ไม่เสียหายอะไร

    แต่การฝึกรู้สึก แทรกก่อนการไหล การคิด การเห็น การทำ นี่คือการฝึกสติ
    ให้ปรากฏไวขึ้น ตามรู้ ตามดู เนืองๆ จิตใจก็จะมีกำลังแข็งแรงขึ้น

    แต่บางครั้งก็อาจจะยิ่งหดหู่ใจ ทนไม่ได้ที่เห็นเราช่างไหลง่ายดาย ก็ให้ทำบุญ
    ทำกุศล สวดมนต์ เพื่อให้จิตใจมีความสุข เป็นการทำสมถะแบบง่ายๆ

    ต้องเริ่มจาก สมถะแบบง่ายๆ นะครับ ให้จิตใจเข้มแข็งก่อน แล้วค่อยหาสมถะ
    ที่ทำให้จิตใจตั้งมั่นในการระลึกรู้ หรือ เพียรมีสติให้ดียิ่งขึ้นอีกที พอเจริญสติ
    แล้วบวกสมถะสมาธิเข้าไป คราวนี้ จิตใจคุณจะแข็งแกร่งได้มากทีเดียว

    อย่าได้ไปเริ่มสมถะแบบยากๆ เต็มรูปแบบ อย่างสวดมนต์นี่ก็ให้หาบทสั้นๆ
    มาสวด อย่าสวดบทยาวๆ จะถือว่าเป็นการทำสมถะสมาธิยาว จะทำให้จิต
    ใจไหลตกภวังค์เสียกลางทาง แต่ด้วยอนิสงค์ของสมาธิที่ทำอยู่จะทำให้
    ไปรู้ไปเห็นอะไรละเอียดลึกล้ำขึ้นจะตกอกตกใจพลอยเสียการณ์เสียก่อนที่
    จิตจะพอมีกำลังของสติรักษาจิตได้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 กันยายน 2008
  3. หล่อลากดิน

    หล่อลากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    1,201
    ค่าพลัง:
    +235
    คนจิตอ่อนจะเห็นผีบ่อย และเผลอๆ บางทีอาจจะคุยกับผีรู้เรื่องด้วยหน่ะสิ

    สำหรับผมไม่สนใจ ผีสวยๆมาเมื่อไหร่ ตรูปล้ำลูกเดียว ... ใครจะทำไมรึ?

    ฮ่าๆๆๆๆ
     
  4. เต้าเจี้ยว

    เต้าเจี้ยว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 เมษายน 2008
    โพสต์:
    956
    ค่าพลัง:
    +1,697
    เคยได้ยิน แบบที่เพ่หล่อบอกนะ
    พวกจิตอ่อน เป็นพวกที่ต่างมิติแทรกตัวเข้ามาง่าย ..

    จิตแข็งแบบที่มีสมาธิ กับจิตอ่อน มีลักษณะในการเชื่อมต่อมิติอื่นต่างกัน

    ในกรณีนี้ ไม่ได้พูดถึง จิตอ่อนจิตแข็งต่อกิเลสนะ


    เคยไปที่วัดพนัญเชิง
    ข้าพเจ้ารู้สึกมีคลื่นพลังรุนแรงมาก เลยบอกพี่ข้างตัว
    เขาสัมผัสไม่ได้ แต่อธิษฐานว่ามีจริง ให้แสดง แล้วเขาก็ล้มตึงไปเลย


    อ้าวซวยเลยงานนี้ ข้าพเจ้าและเขาเลยถูกคนอื่นว่าบ้า
    คือคนนึงพูดอะไรไร้สาระ อีกคนนึงก็ดันเจือกบ้าจี้ตาม..

    เสียเวลาเดินทางของหมู่คณะ .. มักๆ
    เพราะต้องปฐมพยาบาลกันนานอยู่..
     
  5. pat3112

    pat3112 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    373
    ค่าพลัง:
    +2,904
    [FONT=&quot]วิธีปฏิบัติในอานาปานุสสติ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]การปฏิบัติในอานาปานุสสตินี้[/FONT][FONT=&quot]ไม่มีอะไรยุ่งยากมากนัก[/FONT][FONT=&quot]เพราะเป็นกรรมฐานที่ไม่มีในองค์[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ภาวนา และไม่มีพิธีรีตองอะไรมาก เพียงแต่คอยกำหนดลมหายใจเข้าออกตามฐานที่กำหนดไว้[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ให้รู้อยู่หรือครบถ้วนเท่านั้น เวลาหายใจเข้าก็รู้ว่าหายใจเข้า[/FONT][FONT=&quot]หายใจออกก็รู้ว่าหายใจออกพร้อม[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]กับสังเกตลมกระทบฐาน ๓ ฐาน ดังจะกล่าวต่อไปให้ทราบ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ฐานที่กำหนดรู้ของลม[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ฐานกำหนดรู้ที่ลมเดินผ่านมี ๓ ฐาน คือ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ก. ฐานที่ ๑[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านให้กำหนดที่[/FONT][FONT=&quot]ริมฝีปาก และที่จมูก[/FONT][FONT=&quot]เมื่อหายใจเข้า[/FONT][FONT=&quot]ลมจะกระทบที่[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]จมูก[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อหายใจออก[FONT=&quot]ลมจะกระทบที่ริมฝีปาก[/FONT][/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ข. ฐานที่ ๒ หน้าอก[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อลมผ่านเข้าหรือผ่านออกก็ตาม[/FONT][FONT=&quot]ลมจะต้องกระทบที่หน้าอก[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]หมายเอาภายใน ไม่ใช่หน้าอกภายนอก ลมกระทบทั้งลมเข้าและลมออกเสมอ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ค. ศูนย์ที่ท้องเหนือสะดือนิดหน่อย[/FONT][FONT=&quot]ลมหายใจเข้าหรือออกก็ตาม[/FONT][FONT=&quot]จะต้องกระทบที่[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ท้องเสมอ[/FONT]
    [FONT=&quot]ทุกครั้ง[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]๓ ฐานนี้มีความสำคัญมาก เป็นเครื่องวัดอารมณ์ของจิต[/FONT][FONT=&quot]เพราะถ้าจิตกำหนดจับ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ฐานใดฐานหนึ่งไม่ครบ ๓ ฐาน แสดงว่าอารมณ์ของจิตระงับอกุศลที่เรียกว่านิวรณ์ ๕[/FONT][FONT=&quot]ได้ แต่[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]อารมณ์หยาบ อารมณ์อกุศลที่เป็นอารมณ์กลางและละเอียดยังระงับไม่ได้ สมาธิของท่านผู้นั้น[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]อย่างสูงก็ได้เพียง ขณิกสมาธิละเอียดเท่านั้น ยังไม่เข้าถึงอุปจารสมาธิ ยังไกลต่อฌานที่[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]๑ มาก[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ถ้าท่านผู้ปฏิบัติ กำหนดรู้ลมผ่านได้ ๒ ฐาน แสดงว่าอารมณ์ของท่านผู้นั้นดับอกุศล คือ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]นิวรณ์ได้ในอารมณ์ปานกลาง ส่วนอารมณ์นิวรณ์ที่ละเอียดอันเป็นอนุสัย[/FONT][FONT=&quot]คือกำลังต่ำยังระงับ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ไม่ได้[/FONT][FONT=&quot]สมาธิของท่านผู้นั้นอย่างสูงก็แค่อุปจารสมาธิ จวนจะเข้าถึงปฐมฌานแล้ว[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ถ้าผู้ใดกำหนดรู้ ลมผ่านกระทบได้ทั้ง[/FONT][FONT=&quot]๓ ฐาน ท่านว่าท่านผู้นั้นระงับนิวรณ์ละเอียดได้แล้ว[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]สมาธิเข้าถึงปฐมฌาน[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ส่วนฌานต่าง ๆ อีกสามคือ ฌานที่ ๑[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot][/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot][/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๔ อยากทราบโปรดพลิกไปดูในข้อที่ว่าด้วย[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ฌาน จะเข้าใจชัด[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]นับลม[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]การฝึกในอานาปาน์ จะว่าง่ายนั้น ก็ดูจะเป็นการยกเมฆเกินไป[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะอานาปาน์[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เป็นกรรมฐานใหญ่ที่ครอบงำกรรมฐานทั้งหมด จะง่ายตามคิดนั้นคงเป็นไปไม่ได้แน่ ท่านที่[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ไม่เคยผ่าน คงคิดว่าไม่น่ายากเลย เรื่องคิดแล้วไม่ทำ นำเอาไปพูดนั้น ที่ว่าไม่ยากก็ไม่เถียง[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เพราะพวกนี้มีความดีอยู่แค่ริมฝีปาก ส่วนอื่นทั้งตัวไม่มีอะไรดีเลย เลวเสีย[/FONT][FONT=&quot]๙๙.๙๙ มีดีนิด[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เดียว ท่านจะคุยโม้อย่างไรก็ช่างท่านเถิด[/FONT][FONT=&quot]เรามาเอาดีทางปฏิบัติกันดีกว่า[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]การกำหนดลมเป็นของยาก เพราะจิตของเราเคยท่องเที่ยวมานาน ตามใจเสียจนเคย[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]จะมาบังคับกันปุบปับให้อยู่นั้นเมินเสียเถอะ ที่จิตจะยอมหมอบราบคาบแก้ว เมื่อระวังอยู่แก[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ก็ทำท่าเหมือนจะยอมจำนน[/FONT][FONT=&quot]แต่พอเผลอเพียงเสี้ยววินาทีเท่านั้น แกก็ออกแน็บไปเหนือไปใต้[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ตามความต้องการของแก กว่าเจ้าของจะรู้ก็ไปไกลแล้ว อารมณ์ของจิตเป็นอย่างนี้ เมื่อทำไป[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ถ้าเอาไม่อยู่ท่านให้ทำดังต่อไปนี้[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ฝึกทีละน้อย[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านสอนให้นับลมหายใจเข้า หายใจออก เข้าครั้ง ออกครั้ง นับเป็นหนึ่ง[/FONT][FONT=&quot]ท่านให้กำหนด[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]นับดังต่อไปนี้[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]นับ ๑[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๒[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๓[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๔[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๕ เอาแค่เข้าออก ๕ คู่ นับไปและกำหนดรู้ฐานทั้ง ๓ ไปด้วย กำหนด[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ใจไว้ว่า เราจะกำหนดรู้ลมหายใจเข้าและออกเพียง ๔ คู่[/FONT][FONT=&quot]พร้อมด้วยรู้ฐานลมทั้ง ๓ ฐาน แล้ว[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ก็เริ่มกำหนดฐานและนับลม พอครบ ๕ คู่ ถ้าอารมณ์ยังสบาย[/FONT][FONT=&quot]ก็นับไป ๑ ถึง ๕ เอาแค่นั้น พอใจ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เริ่มพล่าน ถ้าเห็นท่าจะคลุมไม่ไหว[/FONT][FONT=&quot]ก็เลิกเสียหาความเพลิดเพลินตามความพอใจ เมื่ออารมณ์[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ดีแล้วกลับมานับกันใหม่ ไม่ต้องภาวนา เอากันแค่รู้เป็นพอ เมื่อนับเพียง ๕ จนอารมณ์ชินไม่หนี[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ไม่ส่ายแล้ว ก็ค่อยเลื่อนไปเป็น ๖[/FONT][FONT=&quot]คู่[/FONT][FONT=&quot]คือ ๑[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๒[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๓[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๔[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๕[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๖ ถ้า[/FONT][FONT=&quot]๖[/FONT][FONT=&quot]คู่ สบายดีไม่มีอะไรรบกวนแล้ว[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ก็ค่อยเลื่อนไปเป็น ๗ คู่ ๘ คู่ ๙ คู่ ๑๐ คู่ จนกว่าอารมณ์จิตจะทรงเป็นฌานได้นานตามสมควร[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ผ่อนสั้นผ่อนยาว[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]การเจริญอานาปานุสสตินี้ มีอาการสำคัญของนักปฏิบัติใหม่ ๆ[/FONT][FONT=&quot]อย่างหนึ่ง คืออารมณ์ซ่าน[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เวลาที่จิตใจไม่สงบจริงมีอยู่ พอเริ่มต้น อารมณ์ฟุ้งซ่านก็เริ่มเล่นงานทันที บางรายวันนี้ทำได้[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เรียบร้อย อารมณ์สงัดเป็นพิเศษ จิตสงัดผ่องใส อารมณ์ปลอดโปร่ง กายเบา อารมณ์อิ่มเอิบ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]พอรุ่งขึ้นอีกวัน คิดว่าจะดีกว่าวันแรก หรือเอาเพียงสม่ำเสมอแต่กลับผิดหวัง เพราะแทนที่จะ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]สงัดเงียบ กลับฟุ้งซ่านจนระงับไม่อยู่ ก็ให้พยายามระงับ และนับ ๑[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๒[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๓[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๔[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๕[/FONT][FONT=&quot],[/FONT][FONT=&quot]๖[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๗[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๘[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]๙[/FONT][FONT=&quot],
    [/FONT][FONT=&quot]๑๐ ถ้านับก็ไม่เอาเรื่องด้วย ยิ่งฟุ้งใหญ่ ท่านตรัสสอนไว้ในบทอานาปานุสสติว่า เมื่อเห็นว่าเอา[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ไว้ไม่ได้จริง ๆ[/FONT][FONT=&quot]ท่านให้ปล่อยอารมณ์[/FONT][FONT=&quot]แต่อย่าปล่อยเลย ให้คอยระวังไว้ด้วย คือปล่อยให้คิดใน[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เมื่อมันอยากคิด มันจะคิดอะไรก็ปล่อยให้มันคิดไปตามสบาย ไม่นานนักอย่างมากไม่เกิน[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]๒๐ นาที อารมณ์ซ่านก็จะสงบระงับกลับเข้าสู่อารมณ์สมาธิ เมื่อเห็นว่าอารมณ์หายซ่านแล้ว[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ให้เริ่มกำหนดลมตามแบบ ๓ ฐานทันที ตอนนี้ปรากฏว่า อารมณ์สงัดเป็นอันดี มีอารมณ์เป็น[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ฌานแจ่มใส อาการอย่างนี้มีแก่นักปฏิบัติอานาปานุสสติเป็นปกติโปรดคอยระลึกไว้และปฏิบัติ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ตามนี้จะได้ผลดี[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]อานาปาน์พระพุทธเจ้าทรงเป็นปกติ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เพื่อความอยู่เป็นสุขในสมาบัติ[/FONT][FONT=&quot]ไม่มีสมาบัติใดที่จะอยู่เป็นสุขเท่า[/FONT][FONT=&quot]อานาปานานุสสติ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะเป็นสมาบัติที่ระงับกายสังขาร คือ[/FONT][FONT=&quot]ดับเวทนาได้ดีกว่าสมาบัติอื่น[/FONT][FONT=&quot]แม้จะเป็นสมาบัติ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ต้นก็ตาม พระอรหันต์ทุกองค์ แม้สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเอง พระองค์ก็ทรงอยู่เป็นสุข[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ด้วยอานาปานานุสสติ ดังพระปรารภของพระองค์ที่ทรงปรารภแด่พระอานนท์ว่า[/FONT][FONT=&quot]อานันทะ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ดูก่อนอานนท์ ตถาคตก็มากไปด้วยอานาปานุสสติเป็นปกติประจำวัน เพราะ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]อานาปานานุสสติระงับกายสังขารให้บรรเทาจากทุกขเวทนาได้ดีมาก[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านที่ได้[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]อานาปานานุสสติแล้วจงฝึกฝนให้ชำนาญและคล่องแคล่วฉับไวในการเข้าฌานที่ ๔ เพื่อ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ผลในการระงับทุกขเวทนาอย่างยิ่งและเพื่อผลในการช่วยฝึกฌานในกองอื่นอีกอย่างหนึ่ง[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]อานาปานานุสสติเป็นบาทของวิปัสสนาญาณ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ผลกำไรใหญ่อีกอย่างหนึ่งของอานาปานานุสสติก็คือ[/FONT][FONT=&quot]เอาอานาปานานุสสติเป็นบาทของ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]วิปัสสนาญาณ เพราะฌานที่ ๔ ของอานาปาน์ เป็นฌานระงับกายสังขาร ดับทุกขเวทนาได้ดี[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เมื่อจะเจริญวิปัสสนาญาณต่อไป ท่านให้เข้าฌาน ๔[/FONT][FONT=&quot]พอเป็นที่สบายแล้ว ถอยสมาธิมาอยู่ที่[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]อุปจารสมาธิ แล้วใคร่ครวญพิจารณาว่า ทุกขเวทนาที่เกิดแก่สังขาร เราจะรู้ว่าเป็นทุกข์ก็เพราะ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]จิตที่ยึดถือเอาสังขารเข้าไว้ ขณะที่เราเข้าฌาน[/FONT][FONT=&quot]๔[/FONT][FONT=&quot]จิตแยกจากสังขาร ทุกขเวทนาไม่ปรากฏ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]แก่เราเลย[/FONT][FONT=&quot]ฉะนั้น ทุกข์ทั้งปวงที่เรารับอยู่ก็เพราะอาศัยสังขารเป็นเหตุ[/FONT][FONT=&quot]การยึดถือ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]สังขารเป็นทุกข์อย่างนี้ เราจะปล่อย ไม่รับรู้เรื่องสังขารต่อไป[/FONT][FONT=&quot]คือไม่ต้องการสังขารอีก การเกิด[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เป็นเทวดาหรือพรหม ก็กลับมามีสังขารอีกเมื่อหมดบุญ เราไม่ประสงค์การกลับมาเกิดอีก[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เทวดาหรือพรหม ยังมีปัจจัยให้มาเกิด เราไม่ต้องการ เราต้องการนิพพานเท่านั้นที่หมดปัจจัย[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ในการเกิดเราทราบแล้ว เพราะการเข้าฌาน ๔ ที่ขาดจากปัจจัยในสังขาร เป็นสุขอย่างยิ่ง แต่[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ฌานที่เข้าไปสามารถจะทรงได้ตลอดกาล สิ่งที่ทรงการละทุกขเวทนาได้ตลอดกาลก็คือ การ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ปล่อยอุปาทาน ได้แก่ไม่รับรู้รับทราบสมบัติของโลกีย์ คือตัดความใคร่ความยินดีในลาภ ยศ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]สรรเสริญ[/FONT][FONT=&quot]สุข และไม่เดือดร้อนเมื่อสิ้นลาภ สิ้นยศ[/FONT][FONT=&quot]มีคนนินทา[/FONT][FONT=&quot]และประสบกับความทุกข์ จัด[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ว่าเป็นอารมณ์ขัดข้อง และเราจะปล่อยอารมณ์จากความต้องการในความรัก ความอยากได้[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ความโกรธ และพยาบาทความเป็นเจ้าของทรัพย์ทั้งปวง เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นเหตุของความ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ทุกข์แล้วทำจิตให้ว่างจากอารมณ์นั้น ๆ พยายามเข้าฌานออกฌาน[/FONT][FONT=&quot]แล้วคิดอย่างนี้เป็นปกติ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]จิตจะหลุดพ้นจากอาสวกิเลสได้อย่างไม่ยากเลย[/FONT]
    [FONT=&quot]
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->[/FONT]
    ผมก็เคยเป็นครับ เหตุเพราะมีสมาธิน้อยก็เลยกลัวนั่นนี่อยู่เสมอ จะพูดว่าเป็นกิเลสก็ใช่ครับ หลง เรามาพูดวิธิก้กันดีกว่าครับ ทำง่ายๆ

    ทำอย่างที่หลวงพ่อฤาษีลิงดำท่านแนะนำ อาจจะหาเวลาเช้า ก่อนนอน
    รู้ลมหายใจเข้าออก พร้อมคำภาวนาพุธโธ ธัมโม สังโฆก็ได้ตามแต่ชอบ
    จากนั้นตามรู้ผ่านปลายจมูกรู้ จนชำนาญ ตามรู้ว่าผ่านอกท้องตามลำดับครับ พยายามทำจนใจสบายเช้าก่อนนอนจนชำนาญ(อารมณ์ใจสบาย)
    คราวนี้ว่างๆนึกเลยครับพักทำงานนักจับลมหายใจ ทำบ่อยๆจนเราชนะมันได้ตลอดวัน คราวนี้เราก็ไม่กลัวไม่ตกใจ จิตมีกำลังแม้โลกแตกเราจะไม่กลัว

    ปล.ถ้าตอนภาวนานึกว่าพระพุทธเจ้าอยู่กับเรา หรือ พระธรรม พระสงฆ์(พระอริยะสงฆ์)ยิ่งดีครับนึกเห็นภาพหรือความรู้สึกก็ได้ครับ ควบคู่ไปด้วย คราวนี้ยิ่งสบายทำได้ตลอด ผีก็ไม่ต้องกลัวเราดีซะเเล้วนี่เขาเข้าใกล้เรายังทำไม่ได้เลย
    มีแต่เราต้องแผ่บุยให้เขา

    ไม่ค่อยทำบุญเกี่ยวเหมือนกันครับทำให้ท่านมีบุญพอสมควร ช่วยเราได้ขอบเขตน้อย
    หากอยากให้ท่านมีอานุภาพมากก็ทำอย่างที่บอกข้างต้นครับ อาจเพิ่มโดย

    [FONT=&quot]-รู้จักการให้เป็นปกติ(ทาน)วันละ10-20บาทหรือมากว่านั้นก็ได้ หยอกกระปุกครับหมดเดือน
    ก็ไปทำบุญที่วัดทำสังฆทานก็ได้ครับ
    [/FONT][FONT=&quot]-ชำระศีลไม่ให้ขาดตกบกพร่องครับอย่างน้อยศีล[/FONT]
    [FONT=&quot]5
    -ไม่สงสัยพระรัตนไตร
    -
    [/FONT]<link rel="File-List" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="themeData" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:1; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; margin-bottom:10.0pt; line-height:115%;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]อย่างน้อยคิดเสมอว่าว่าเราต้องตายแน่ๆ
    เกิดมาสังขารนี้ไม่เที่ยงอาจตาย(สลายตัว)ได้เสมอเช้า[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]สายบ่ายคำ่สลายไปอยู่เสมอ(ไม่เที่ยง)[/FONT]
    [FONT=&quot]
    ถ้าทำได้อย่างนี้ทรงตัวแผ่บุญไปให้ท่านที่คุ้มครองมี

    อำนาจมาก หากเกิดอีกมีแต่ความสุขมีพร้อมทุกอย่าง

    มีความสุขทั้งปัจจุบันและอนาคต

    ถ้าเบื่อเกิด ทำจนครบก็ตั้งใจถ้าตายขอไปนิพพานไม่

    มาเกิดอีก
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->[/FONT]
    [FONT=&quot] <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 กันยายน 2008
  6. ดาราจักร

    ดาราจักร ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,707
    ค่าพลัง:
    +10,094
    จิตอ่อน หมายถึง อ่อนไหวง่าย หรือเปล่าครับ

    จริงๆเราต้องรู้ตัวเองว่าคิดอย่างไร คำว่ากิเลส ก็มีกันเกือบทุกคนล่ะครับ

    คุณก็มี ผมก็มีครับ เป็นปกติ

    ถ้าอยากให้จิตมั่นคง แข็งแรง เราก็มาแก้แบบพุทธกัน ก็คือ แก้ที่เหตุ และดูที่ปัจจัย

    ไม่ว่าจะเป็นการให้บุญทาน ที่เป็น อาหาร สิ่งของ เงินทอง ธรรม หรือ ให้อภัย

    หรือ การทำสมาธิ ไม่ว่าจะเป็น การยืน เดิน นั่ง นอน ในอารมณ์ง่ายๆอย่าง อาณาปาณุสติ

    ซึ่งเป็น 1 ใน กรรมฐานทั้ง 40 วิธี ที่ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะนำไว้

    หรือ อยากจะระงับ ความโกรธง่ายๆ ก็ให้ทำกรรมฐาน แบบ วรรณะกสิณ ก็ทำได้

    ยากขึ้นมาหน่อย ก็พิจารณาขันธ์ 5 ละทิฐิมานะ ลดความยึดมั่นในตัวตน etc,.

    จริง จิตแข็ง บางคนก็หมายถึง ความกล้า ไม่กลัว แต่อาจจะไม่มีสติคือ มี โทสะ ปะปนอยู่

    คำว่า สติ จึงดูเหมาะที่สุด สำหรับคน ไม่ว่า จะจิตอ่อน หรือ จิตแข็ง

    เพราะไม่ว่าใครก็สามารถหลงติดไปกับ โลภะ โทสะ โมหะ ได้ในชีวิตปุถุชนครับ

    แต่ถ้าทำสมาธิแล้วยังกลัวอยู่ ใจยังไม่เป็นสมาธิ

    ก็ต้องมาดูกันลึกๆ ในเรื่องจริต หรือ เรื่องกรรม หรือ เหตุอื่นๆที่พึงจะมีได้ในเวลานั้น

    อันนี้คงต้องเข้าหาครูบา อาจารย์ครับ เพราะเกินกำลังของตัวเอง

    จะได้ไม่ต้องเสียเวลาไปกับสิ่งเหล่านี้ ชีวิตคนเราไม่ได้ยาวไกลอย่างที่เราอยากให้เป็นนะ

    อาจจะมีคนสามารถบอกได้ถึงเวลาตาย แต่ยังไงเราก็กำหนดไม่ได้ว่าจะเป็นเมื่อไหร่

    เพราะฉะนั้น คำว่า สติ หรือ ความไม่ประมาท ที่พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้ นั้นดีแล้วหละครับ

    สำหรับท่านเทวดาทั้งหลาย ท่านก็มีบุญของท่านอยู่ครับ แต่จะให้ช่วยเราทุกๆอย่างคงเป็นไปไม่ได้

    และบางเรื่องก็อยู่ภายใต้กฏแห่งกรรม ก็ฝืนบ่ได้ครับ

    การสร้างกุศล แล้วให้กับท่าน ก็จะช่วยทั้งเรา ทั้งท่านเทวดา ผู้ที่เกี่ยวข้อง และพระศาสนาครับ มีส่วนอยู่มากครับ

    อนุโมทนาครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2008
  7. เรืองรักข์

    เรืองรักข์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +174
    จิตอ่อนนี้ทำให้ สิ่งที่มีอำนาจลึกลับนี้เข้าตัวง่าย หรือ
    เป็นการที่จิตโอนเอนไปตามสิ่งที่กระทบได้เร็วใช่ไหมค่ะ
    ดังนั้นจะต้องหมั่นสวดมนต์ และทำสมาธิ เพื่อให้จิตอยู่กับตัว พึ่งระลึกมีสตินี้เอง
    ขอบคุณกับทุกคำแนะนำดี ดี ทั้งนั้นเลยนะคะ

    สาธุค่ะ
     
  8. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    สวดเล่นๆ นะ ทำสมาธิเล่นๆ หากทำจริงจัง สติ จะผิดตัว
    ไปอบรม สติ ที่เป็นไปเพื่อสมถะ สมาธิ

    หาก สวดเล่นๆ ทำสมาธิเล่นๆ เช่น บริกรรมพอเป็นเครื่องเกาะ
    แล้วดู จิต มันไว มันไหล ไปเกาะความคิด ไปเกาะกายคันๆ ไป
    เกาะเวทนาเมื่อยๆ ก็ให้ใช้ สติ ระลึกรู้ แล้วก็กลับมาสวดมนต์เล่นๆ
    ต่อเป็น background แบบนี้ จะเป็นการเจริญ สติ ที่ทำให้จิตนั้น
    ไวต่อการต้านโมหะ หรือ จิตอ่อน นะครับ

    หากต้องการฟังคำเทศน์จากพระในแนวทางนี้ ก็เชิญที่

    โหลดเสียงเทศน์หลวงพ่อปราโมทย์ ฝึกสติดูจิต(ให้แข็งแรง)

    เลือกเอาที่สั้นๆ นะครับ สองสามอัน ฟังซ้ำๆ วนๆ ขอรับรองผล
     
  9. เรืองรักข์

    เรืองรักข์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +174
    อืม .............พึ่งจะเคยได้ยินว่าการทำสมาธิ กะสวดมนต์ไม่ต้องคิดจิงจัง
    น่าจะดีแหะ ทุกทีคิดแต่ต้องแน่วแน่ เลยทำให้เกียจคร้าน ทุกที

    ขอบคุณนะคะ
     
  10. บุคคลทั่วไป 3 คน

    บุคคลทั่วไป 3 คน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,938
    ค่าพลัง:
    +1,253
    ครับ การที่เราปล่อยจิตให้อิสระ ไม่ถูกกดข่มบังคับจับแน่นอยู่กับสิ่ง
    สิ่งใดมากเกินไปมันเป็น คุณลักษณะของสภาวะจิตที่เป็นกุศล เวลาเรา
    ทำบุญเห็นไหมครับว่า จิตใจเราจะแช่มชื่น ตื่น เบิกบาน ก็เป็นการนมสิการ
    สภาวะจิตนั้นให้เกิดขึ้นเป็น background นั่นเอง

    ที่นี้พอพื้นจิตเป็นกุศลเบิกบานอยู่ พวกเจตสิกที่เป็น มหากุศลจิตก็เข้ามา
    สัมปยุตติได้ จะทำให้มีความตื่น สดใส คล่องแคล่ว อ่อนโยน แล้วที่สำคัญ
    เลยก็ สติเจตสิก นี่แหละ

    ลองดูนะครับ อันนี้กล่าวปริยัติเชิงอภิธรรมเสริมเข้าไปหน่อย ส่วนปฏิเวธนั้น
    คุณ รักข์ ต้องทดลองเอาเองถึงจะรู้

    * * * *

    อย่างงกับ id นะครับ ให้ดูที่เนื้ออรรถ เนื้อธรรม ก็พอ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2008
  11. เรืองรักข์

    เรืองรักข์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +174
    ไม่รู้ว่าจะเกี่ยวกับจิตอ่อนไหมค่ะ.....กุ้มใจ
    ทำไมถึงรู้สึก เสียวเจ็บตามร่างกายทั่วไปทุกที เจ็บแปลบๆ วูบ ๆ
    และหลังต้นขากะ หน้าต้นขา มักจะมีรอยจ้ำเขียวเหมือนถูกกดค่ะ

    จะพัฒนาจิตให้แข็งเร็ว ๆ เพื่อคงจะช่วยได้........

    อนุโมทนาบุญกะทุกท่านนะคะ
     
  12. บุคคลทั่วไป 3 คน

    บุคคลทั่วไป 3 คน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,938
    ค่าพลัง:
    +1,253
    ถ้ามีอาการเสียวแว๊บ แบบลั่นเปรี๊ยะ กึ่งๆเหมือนไฟดูด เสร็จแล้วก็จะค่อยๆ
    รู้สึกล้า ช้ำ ปวดหนึบ น่าจะเป็นเส้นเอ็นมันผลิกครับ

    ถ้าเป็นตรงขา ก็น่าจะออกกำลังน้อย หรือ อาจะกลับกันคือ ไปออกกำลัง
    แรงเกินไป เช่นอยู่ดีๆ ก็ออกตัววิ่ง แบบนี้จะเจ็บได้ หรือ ออกกำลังจนเลย
    จุดพอดีก็เจ็บได้ หรือ ไม่ได้ออกกำลังเลยแล้วเจ็บ ส่วนใหญ่จะเส้นเอ็น

    แต่กรณีของการไม่ออกกำลังกาย นี่จะมีเรื่อง ผังพืดเกิดร่วมด้วย ทำให้เส้น
    เอ็นยึด กล้ามเนื้อยึด แบบนี้ก็ต้องค่อยๆออกกำลังทีละน้อย

    ลองว่ามาต่อนะครับ บางทีมันก็เนื่องกับกายภาพ ก็ต้องแก้ปัญหาทางกาย
    ภาพก่อน แล้วค่อยไปดูตรงจิต

    อย่างจิตที่จะอ่อนกรณีนี้จะเกิดขึ้นจากภาวะสงสัยว่า เราเป็นอะไร พอสงสัยมากๆ
    เข้ามันก็เริ่มส่งจิตออกไประแวงอยู่ข้างนอกกาย แบบนี้จิตอ่อนลงได้

    จิตอีกแบบหนึ่งที่เกิดร่วมกับปัญหาสุขาภาพ แต่แบบนี้จะแข็งขึ้น คือ พอมันเจ็บ
    เราก็เกิดโทษะแทรก เกิดความไม่ชอบใจ ไม่เข้าใจ ก็เลยส่งใจวางไว้ข้างนอก
    ไม่อยากเข้ามาในกายตน เพราะรู้สึกกายตนนั้นมีมันแต่ทุกข์ มันแข็งขึ้นในแววตา
    แต่อ่อนทางจิตใจ

    ลองพิจารณาดูนะครับ
     
  13. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    จิตอ่อนเพราะกลัว เป็นต้นเหตุ กลัวอย่างนั้นกลัวอย่างนี้ เจอสิ่งนั้นก็หมายเอาว่าเป็นอย่างนั้น เป็นอย่างนี้
    ทั้งหมด เกิดขึ้น เพราะมีความไม่ชอบมาพากลเกิดขึ้นกับตนเอง ทีนี้ การที่เราไม่ปล่อยวาง ในสิ่งที่เกิดเพราะว่าอะไร เพราะว่า เราสังเกตุไป ทุกอย่างที่มีอะไรเกิดขึ้นกับเรา เพราะเรากลัว เราไม่อยากให้มันมีอะไรเกิด

    ก็อะไรจะเกิด ก็ปล่อยไป เอาง่ายๆ ก่อนคือ ถ้าร่างกายมันเขียว ก็ทายาหม่อง
    ุุถ้ามันปวดหัว ก็กินยา ไทลินอล
    ถ้ามันเมื่อย ก็นวด

    สุดท้ายแล้ว ต้องรู้จักพัก เมื่อพักและผ่อนคลายแล้ว โรคภัยหรืออาการที่หาสาเหตุไม่ได้ ก็จะค่อยๆ หายไปเอง เพราะบางที โรคเครียดนี่ก็ หาสาเหตุไม่ค่อยจะเจอนะ และ มีอาการที่วินิจฉัย ไม่เจอว่า มันเป็นอะไร

    การพักก็คือ วางเรื่องที่คิดบ้าง แล้วให้จิตใจมันสบายๆ เช่น ดูหนังฟังเพลง หรือ ลดภาระการรับเรื่องราวอะไรต่างๆ นาๆ ที่เข้ามาสู่ใจ
    เปลี่ยน อริยาบท หรือ ทัสนะ หรือ วงจรชีวิตที่ำจำเจ ออกสู่ ความน่าตื่นตาตื่นใจ แบบสบายๆ

    ก็ลองดูนะ
     
  14. เรืองรักข์

    เรืองรักข์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +174
    ขอบคุณคุณนิวรณ์ สำหรับพระธรรม เทศนา นะคะ ฟังเล่น ๆ เพลินดี รู้สึกสงบใจได้เยอะ
    และกับผู้ชี้ทางทุกท่านนะค่ะ ที่สอนให้รู้หลักการจับตัวตนให้มีสติ และหลักการทำสมาธิ

    สาธุค่ะ
     
  15. ประทีปแก้ว

    ประทีปแก้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2008
    โพสต์:
    3,506
    ค่าพลัง:
    +8,329
    จิตอ่อน...งง

    อ้างอิง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ตุลาคม 2008
  16. เรืองรักข์

    เรืองรักข์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +174
    จิต เป็นเสมือนลิงซุกซน
    ชอบเตลิดเที่ยวเล่น คิดถึง สิ่ง นั้น สิ่งนี้ไปทั่ว

    เมื่อใดที่จิตฟุ้งซ่าน ไปตามอารมณ์ สิ่งนั้น ๆ ที่มากระตุ้น
    หากเราคิดยึดการพิจาณา ว่าตามหลักการไม่ยึดมั่นถือมั่น ทุกสิ่งไม่จีรั่ง
    พิจารณา ว่าทุกอย่างที่ตัวเรา ตั้งแต่ปลายผมลงมา และจากบนปลายเท้าขึ้น
    ไปเต็มไปด้วยของไม่สะอาด เกิดสวยงาม และที่สุดของเวลา เน่าเปื่อยดับ
    เหตุฉะไหนแล้ว จึงยังจิตไม่สงบ ชอบเที่ยวเล่น วิตก เราก็ตามจิต ดูสังเกตุมัน แล้วก็ปลงคิด เมื่อไหร่หนอ ที่สุดแห่งกองทุกข์ จะดับสิ้นไป
     

แชร์หน้านี้

Loading...