ช่วยให้ความกระจ่างเพิ่มหน่อยครับ(ความหมายของ 1 กัปป์ )

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย Jjfreeman, 7 พฤศจิกายน 2010.

  1. Jjfreeman

    Jjfreeman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2010
    โพสต์:
    101
    ค่าพลัง:
    +130
    <TABLE id=post4008289 class=tborder border=0 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center><TBODY><TR vAlign=top><TD style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" id=td_post_4008289 class=alt1>ไตรปิฏก กล่าวไว้ว่า..... พระพุทธเจ้าตรัสว่า การที่ ๑ โลกธาตุจะปรากฏพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามากกว่า ๑ พระองค์นั้นเป็นฐานะที่จะมีมิได้
    .....(มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดได้ ๑ พระองค์ ต่อโลก ๑ ใบ)
    ********************************************
    1 กัปป์ = 120 ปี( แต่ไม่ตายตัว แล้วแต่ตัวของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์จะกำหนด แต่ใน กัปป์นี้ พระพุทธเจ้าเกิดมาเป็นมนุษย์ จึงทำให้ความหมายของ กัปป์นี้น้อยเพียงแค่ 80 ปี เท่านั้น) อายุของคนเราจากเกิดไปจนถึงตาย ในที่นี่นั้นหมายถึง ความสามารถของกายเนื้อที่เป็นคนอย่างเราๆ ที่จะสามารถคงสภาพได้อยู่ต่อ หรื่อสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ฉนั้น กัปป์ของพระพุทธเจ้าโคดม นี้ มีเพียง 80 ปี คือ 1 กัปป์ = 80 ปี เท่านั้น เหตุที่กล้าบอกว่า 1 กัปป์ = 80 ปี ( เพราะว่าพระองค์ท่านเลือกปรงสัขารก่อนกำหนดเอง)

    *********************************************
    และกับคำที่ พระพุทธองค์ ตรัสไว้ในพระไตรปิฏกในขอความข้างบนนั้น คุณต้องแปลความหมายแต่ละคำ แยกเป็นคำๆ แล้วค่อยเอามาประติดประต่อกันให้สั้นลง ให้อ่านเข้าใจง่ายๆ ( ความหมายจริงยาวมาก)

    ความหมายจากข้อความข้างบนคือ
    1. การที่โลกธาตุ( โลกธาตุคือ โลกที่มี 4 ธาตุรวมกัน คือ 1.ธาตุดิน 2. ธาตุน้ำ 3. ธาตุลม 4. ธาตุไฟ ก็หมายถึง โลกของเราๆท่านๆ ผู้ค้นหาทางพ้นทุกข์ในปัจจุบันนี้เอง )
    2. จะปรากฏพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ( ในความหมายของคำว่าพุทธ ....พุทธ คือ รู้ ..... พุทธะ หรื่อ พระพุทธเจ้า หมายถึง ท่านผู้ตรัสรู้แล้ว )
    2.1 พุทธะ หรือ พระพุทธเจ้า มีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท
    • พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ ท่านผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง และ สอนผู้อื่นให้รู้ตามได้
    • พระปัจเจกพระพุทธเจ้า คือ ท่านตรัสรู้เฉพาะตัวเอง สอนผู้อื่นได้เหมื่อนกันแต่ทำให้ผู้อื่นบรรลุตามไม่ได้ หรื่อมิได้สอนผู้อื่นให้บรรลุตาม
    • พระอนุพุทธเจ้า คือ ท่านผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระอัครสาวก (พระพุทธเจ้าท่านสอนให้ตรัสรู้)
    • .....แต่มีในอรรถกถา บางแห่งจำแนกไว้เป็น 4 ดังนี้
    • 1 พระสพพัญญพุทธะ ( พระสัมมาสัมพุทธเจ้า)
    • 2 พระปัจเจกพุทธะ ( อ่านว่า พระ-ปัด-เจก-กะ-พุด-ทะ-เจ้า)
    • 3 จตุสัจจพุทธะ (พระอัครสาวก ของพระพุทธเจ้า ผู้ได้บรรลุอรหัตตผล)
    • 4 สุตพุทธะ (ผู้เป็นพหูสูตร )
    **** สรุป ความหมายข้อความข้างบน คือ การที่มนุษย์คนหนึ่งที่เกิดมาในโลกใบนี้ ศึกษา ค้นหา แนวทางปฏิบัติแห่งการหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง จนได้ค้นพบแนวแห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ด้วยตัวเอง แล้วก็สอนให้มนุษย์คนอื่นๆเห็นแนวปฏิบัตินั้น แล้วนำไปปฏิบัติจนทำให้หลุดพ้นจากทุกข์นั้นตาม ****

    *** ให้ดูที่คำๆนี้ สัมมาสัมพุทธเจ้า มีเพียงพระพุทธโคดมเท่านั้นทีมี พระพุทธเจ้าอื่นๆไม่มีคำว่า สัมมาสัมพุทธเจ้า ครับ ****
    <!-- google_ad_section_end -->







    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" class=alt2>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 7 พฤศจิกายน 2010
  2. ๛อาภากร๛

    ๛อาภากร๛ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    898
    ค่าพลัง:
    +3,580
    1 กัปป์ = 120 ปี( แต่ไม่ตายตัว แล้วแต่ตัวของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์จะกำหนด แต่ใน กัปป์นี้ พระพุทธเจ้าเกิดมาเป็นมนุษย์ จึงทำให้ความหมายของ กัปป์นี้น้อยเพียงแค่ 80 ปี เท่านั้น) อายุของคนเราจากเกิดไปจนถึงตาย ในที่นี่นั้นหมายถึง ความสามารถของกายเนื้อที่เป็นคนอย่างเราๆ ที่จะสามารถคงสภาพได้อยู่ต่อ หรื่อสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ฉนั้น กัปป์ของพระพุทธเจ้าโคดม นี้ มีเพียง 80 ปี คือ 1 กัปป์ = 80 ปี เท่านั้น เหตุที่กล้าบอกว่า 1 กัปป์ = 80 ปี ( เพราะว่าพระองค์ท่านเลือกปรงสัขารก่อนกำหนดเอง)

    ข้อความข้างบนไม่ใช่พุทธพจน์
    ภูเขากว้าง 1โยชน์ยาว1 โยชน์ สูง 1 โยชน์
    100 ปี จะมีเทวดาเอาผ้ามาปัดยอดเขา 1 ครั้ง
    ยอดเขาราบเท่าพื้นปฐพีแบบนี้เรียกว่าอายุ 1 กัลป์
    หรือ
    หลุมลึก 1 โยชน์ ยาว 1 โยชน์ กว้าง 1 โยชน์
    100 ปีมีคนหรือนกเอาเม็ดถั่วเขียวไปวาง 1 เม็ด
    เมื่อถั่วเขียวเต็มหลุมเป็นพื้นปฐพีเดียวกับแผ่นดินเรียกว่าอายุ 1 กัลป์

    เค้าอุปมากันประมาณนี้ เพราะอายุของกัลป์ประมวลเป็นวันเดือนปีไม่ได้ เลยเทียบเอา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 พฤศจิกายน 2010
  3. อุทยัพ

    อุทยัพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    3,564
    ค่าพลัง:
    +18,112

    ครับ ใช่ครับ หรืออาจจะเป็น กล่องใบหนึ่งกว้าง 16โยชน์ ยาว16โยชน์(1โยชน์ = 16 กิโลเมตร) นำเมล็ดถั่วเขียวใส่กล่องลงไปทีละเม็ด และ ปิดฝาทิ้งไว้100ปี เมื่อครบกำหนด100ปี ก็นำเมล็ดถั่วเขียวออกจากกล่องที่ละเม็ดจนกว่าจะหมดกล่อง นั้น คือ ระยะ 1กัลป์ ครับ (ถ้าเอาออกได้ครึ่งกล่องก็ครึ่งกัลป์ครับ )
     
  4. ๛อาภากร๛

    ๛อาภากร๛ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    898
    ค่าพลัง:
    +3,580
    พุทธะ กับ อัครสาวก ไม่เหมือนกัน ถ้าจะเรียกโดยใช้คําว่าพุทธะก็เรียกว่าพุทธบุตร
    พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ทั้ง 28 พระองค์และแสนกว่าพระองค์เป็นสัมมาสัมพุทธะทั้งสิ้น

    กัลป์ของพระพุทธเจ้าเราเริ่มบัเพ็ญบารมีแบบสั่งสมคือตั้งความเป็นโพธิญาณแบบแน่วแน่4 อสงไขย กับอีก 100000 กัลป์ในช่วงระยะเวลาบําเพ็ญนี้ มีพระพุทธเจ้าตรัสรู้ในช่วงดังกล่าว 26 พระองค์ ไม่รวม พระพุทธโคดม และพระศรีอาริย์

    ถึงเทียบแล้ว 4 อสงไขย 100000กัลป์มีพระพุทธเจ้าแค่นี้ถือว่าน้อยมาก เพราะบางอสงไขยปรากฏพระพุทธเจ้าเป็นร้อยพระองค์ อยากจะบอกว่าหลักแสนพระองค์ด้วยซํา

    ในแบบเรียนนักธรรมศึกษาชั้นโท ส่วนของพระพุทธประวัติจะไม่มีการเรียนการสอบแต่จะเป็นการเรียนการสอบอนุพุทธะ ซึ่งก็ไม่ได้หมายเอาพระอัครสาวกเท่านั้น แต่หมายเอาพระอสิติมหาสาวกทั้งหมด ลองหยิบหนังสือ อนุพุทธของนักธรรมโทมาดูได้ครับ

    สัมมา หมายถึงถึงพร้อม ถึงพร้อมอย่างไรก็ต้องมาดูบทสวดมนต์อิติปิโส
    สัมมาสัมพุทโธ คํานี้อย่าไปแปลตามบาลีเป็นคําสรรเสริญ หรือชื่อเรียกพระพุทธเจ้า บ้างเรียก ภควา บ้างเรียก ตถาคต หรือ ตถาคโต ก็มี สัตถาก็มี ในธรรมบท คําพวกนี้จะเห็นบ่อย
    ลองหยิบ ธรรมบทชั้นไวยากรณ์ถึงมหาเปรียญมาอ่านได้ครับ


    จตุสัจจพุทธะ ไม่เคยได้ยินครับ เคยได้ยินแต่ จตุรายิสัจสี่ หมายถึง ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค คํานี้จตุแปลตรงๆว่า สี่อยู่แล้ว อัครสาวกมีเพียง 2 แล้ว 2 ที่เหลือหมายเอาสิ่งใด

    พระอานนท์ เป็นเอกัคตา ในทางพหุสุตร เป็นพุทธอนุชา พุทธอุปฐาก และพุทบุตรโดยธรรม สุตพุทธะไม่เคยได้ยิน คาดว่าเป็นคําบันหยัดขึ้นเอง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 พฤศจิกายน 2010
  5. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    889
    ค่าพลัง:
    +3,876
    <TABLE id=post4007358 class=tborder border=0 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center><TBODY><TR vAlign=top><TD style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" id=td_post_4007358 class=alt1>พระพุทธเจ้า

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    เว็บย่อ: th.wikipedia.org/wiki/Buddha
    <TABLE style="BORDER-BOTTOM: #060 1px solid; TEXT-ALIGN: center; BORDER-LEFT: #060 1px solid; MARGIN: 0px 0px 1em 1em; FLOAT: right; BORDER-TOP: #060 1px solid; BORDER-RIGHT: #060 1px solid" id=WSerie_Buddhism class=toccolours cellSpacing=0 cellPadding=1 width=170><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 100%" colSpan=2><SMALL>ส่วนหนึ่งของ</SMALL>
    พุทธศาสนา

    [​IMG] สถานีย่อย
    <HR>[​IMG]
    ประวัติพุทธศาสนา
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ศาสดา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระโคตมพุทธเจ้า
    (พระพุทธเจ้า)
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>จุดมุ่งหมาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>นิพพาน</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ไตรรัตน์</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ความเชื่อและการปฏิบัติ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศีล (ศีลห้า) · ธรรม (เบญจธรรม)
    สมถะ · วิปัสสนา
    บทสวดมนต์และพระคาถา</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>คัมภีร์และหนังสือ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระไตรปิฎก
    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>หลักธรรมที่น่าสนใจ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ไตรลักษณ์
    อริยสัจ ๔ · มรรค ๘ · อิทัปปัจจยตา</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>นิกาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>สังคมพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>การจาริกแสวงบุญ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">พุทธสังเวชนียสถาน ·
    การแสวงบุญในพุทธภูมิ</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ดูเพิ่มเติม</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา
    หมวดหมู่พุทธศาสนา</TD></TR></TBODY></TABLE><DL><DD><DL><DD>สำหรับพระศาสดาองค์ปัจจุบันของพระพุทธศาสนา คือ เจ้าชายสิทธัตถะ ดูได้ที่ พระโคตมพุทธเจ้า</DD></DL></DD></DL>พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นพระบรมศาสดาของพระพุทธศาสนา พุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันคือพระโคตมพุทธเจ้า และกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสำคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและมีการสร้างพระพุทธเจ้าเพิ่มเติมขึ้นมาจนบางองค์มีลักษณะคล้ายเทพเจ้าของศาสนาฮินดู
    ตามคัมภีร์ฝ่ายพุทธ ถือกันว่า พระพุทธเจ้า (พระโคตมพุทธเจ้า) พระองค์ดำรงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปีก่อนคริสตกาลตามตำราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล
    <TABLE id=toc class=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>[แก้] ความหมายของคำว่าพุทธะ

    ในพระพุทธศาสนา พุทธะ (ภาษาบาลี พุทฺธ แปลว่า "ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน") หมายถึงบุคคลผู้ตรัสรู้อริยสัจ 4 แล้วอย่างถ่องแท้ ในชั้นอรรถกถา จำแนกพุทธะออกเป็น 3 จำพวกด้วยกันได้แก่
    1. พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บางทีเรียกเพียง "พระพุทธเจ้า" คือบุคคลที่ตรัสรู้ด้วยตนเองและสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม ตามคัมภีร์ฝ่ายพุทธนั้น พระพุทธเจ้าพระองค์ที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ (พระโคตมพุทธเจ้า) เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในบรรดาพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
    2. พระปัจเจกพุทธะ,อีกอันหนึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า (อ่านว่า พระ-ปัด-เจก-กะ-พุด-ทะ-เจ้า) คือบุคคลที่ตรัสรู้ด้วยตนเอง แต่มิได้สอนให้ผู้อื่นรู้ตาม
    3. อนุพุทธะ คือบุคคลที่ตรัสรู้เนื่องด้วยคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม ผู้ที่ตรัสรู้ด้วยด้วยเหตุนี้เรียกว่า พระสาวก
    ในอรรถกถาบางแห่งจำแนกเป็น 4 ดังนี้
    1. พระสัพพัญญูพุทธะ (พระสัมมาสัมพุทธเจ้า)
    2. ปัจเจกพุทธะ
    3. จตุสัจจพุทธะ (สาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ได้บรรลุอรหัตตผล)
    4. สุตพุทธะ (ผู้เป็นพหูสูตร)
    [แก้] คำที่ใช้กล่าวเรียกพระพุทธเจ้า

    มีหลายคำดังจะกล่าวต่อไปนี้
    • พระบรมโพธิสัตว์, พระโพธิสัตว์ หมายถึง ท่านผู้ที่กำลังบำเพ็ญ บารมี 10 คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฐาน เมตา อุเบกขา และ จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
    • อังคีรส หมายถึง ท่านผู้มีรัศมีแผ่ออกมาจากพระกาย
    • สิทธัตถะหมายถึง ท่านผู้ที่มีความเพียรพยายาม เมื่อต้องการสำเร็จ เป้าหมายที่ประสงค์จะทำ
    • พระมหาบุรุษ เป็นคำที่ใช้เรียก พระพุทธเจ้าก่อนตรัสรู้ อีกความหมายหนึ่งคือ บุรุษผู้ยิ่งใหญ่
    • ตถาคต เป็นคำที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงพระองค์เองมี ความหมาย 8 อย่างคือ
      1. พระผู้เสด็จมาแล้วอย่างนั้น
      2. พระผู้เสด็จไปแล้วอย่างนั้น
      3. พระผู้เสด็จมาถึงตถลักษณะ
      4. พระผู้ตรัสรู้ตถธรรมตามที่มันเป็น
      5. พระผู้ทรงเห็นอย่างนั้น
      6. พระผู้ตรัสอย่างนั้น
      7. พระผู้ทำอย่างนั้น
      8. พระผู้เป็นเจ้า
    • ตถาคตโพธิสัทธา หมายถึง การเชื่อถือปัญญาตรัสรู้ของพระตถาคต
    • ธรรมกาย หมายถึงท่าน ผู้มีธรรมในกาย
    • ธรรมราชา หมายถึง ท่านผู้เป็นราชาแห่งธรรม
    • ธรรมสวามิศร, ธรรมสามิสร หมายถึง ท่านผู้เป็นใหญ่โดยเป็นเจ้าของธรรม
    • ธรรมสามี หมายถึง ท่านผู้เป็นเจ้าของธรรม
    • ธรรมิศราธิบดี หมายถึง ท่านผู้เป็นอธิปดีในธรรม เป็นคำกวีหมายถึงพระพุทธเจ้า
    • บรมศาสดา, พระบรมศาสดา หมายถึง ท่านผู้เป็น ศาสดาอันยอดยิ่ง พระผู้เป็นครูสูงสุด พระบรมครู
    • พระผู้มีพระภาคเจ้า
    • พระพุทธเจ้าหมายถึง ท่านผู้รู้ดี รู้ชอบ ด้วยตนเองก่อนแล้ว สอนประชุมชนให้ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
    • พระศาสดา หมายถึง ท่านผู้ทรงสอนชนทั้งปวง
    • พระสัมพุทธเจ้า, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า, พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า, สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง พระผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ
    • ภควา หมายถึง ท่านผู้เป็นผู้มีโชค หรือ ท่านผู้จำแนกแจกธรรม
    • มหาสมณะ
    • โลกนาถ, พระโลกนาถ หมายถึง พระผู้เป็นที่พึ่งแห่งโลก
    • สยัมภู, พระสัมภู หมายถึง ท่านผู้ตรัสรู้ได้โดยตนเอง ไม่มีใครมาสั่งสอน
    • สัพพัญญู, พระสัพพัญญูสัมพุทธเจ้า หมายถึง ท่านผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง
    • พระสุคต, พระสุคโต หมายถึง ท่านผู้เสด็จไปดีแล้ว
    [แก้] พระพุทธเจ้าตามความเชื่อของฝ่ายเถรวาท

    [​IMG] [​IMG]
    พระพุทธรูปปางประทับยืน พบที่ปากีสถาน ศิลปะคันธาระสมัยพุทธศตวรรษที่ 5-6


    ในพระไตรปิฏกกล่าวว่า ในภัทรกัปนี้มีพระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นแล้ว 4 พระองค์ พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันเป็นองค์ที่ 4 และพระพุทธเจ้าองค์ถัดไปคือพระศรีอารยเมตไตรย ในทัสศนะเถรวาทถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์ธรรมดา แต่ที่เหนือกว่าคนทั่วไปคือพระองค์พบทางดับทุกข์ได้ด้วยพระองค์เอง และเผยแพร่หนทางนั้นต่อสรรพสัตว์ ทรงเป็นบุคคลในประวัติศาสตร์ เมื่อทรงดับขันธปรินิพพาน คือดับไปโดยไม่เหลือเชื้อใดๆ ผู้จะเป็นพระพุทธเจ้าต้องทำความดี (บารมี) มาในชาติก่อน ๆ นับชาติไม่ถ้วน (ก่อนที่จะเป็นพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระโพธิสัตว์)
    [แก้] การประสูติของพระพุทธเจ้า

    พระโพธิสัตว์ผู้ที่จะจุติจากสวรรค์ชั้นดุสิตลงมาเสด็จอุบัติเป็นพระพุทธเจ้านั้น ก่อนจะลงพระโพธิสัตว์จะทรงเลือก 5 อย่าง คือ

    1. กาล (อายุขัยของมนุษย์)
    อายุขัยของมนุษย์ขึ้นอยู่กับกระแสสังขารและการทำความดี หากทำดีมากขึ้นอายุก็จะเพิ่มขึ้น หากทำดีน้อยอายุขัยก็จะลดลง อายุขัยของมนุษย์อยู่ระหว่าง 10 ปีถึง 1 อสงไขย (1 × 10<SUP>140</SUP> ปี) แต่พระโพธิสัตว์ทรงเลือกอายุขัยมนุษย์ระหว่าง 100-100,000 ปี ถ้าหากน้อยกว่า 100 ปีมนุษย์จะมีจิตใจหยาบช้าเกินก็จะฟังธรรมให้แตกจนบรรลุพระนิพพานได้ ถ้าเกิน 100,000 ปีมนุษย์จะเริ่มประมาทความแก่ ความเจ็บ ความตายเพราะอายุยืนความตายมาถึงช้า จะไม่เห็นอริยสัจ 4 หรือธรรมใดๆ

    2. ทวีป (ทวีปที่จะลงมาประสูติ)
    พระโพธิสัตว์เลือกชมพูทวีปเป็นทวีปที่จะจุติทุกครั้ง เพราะมนุษย์ในชมพูทวีปมีทั้งความสุขและความทุกข์ มีความเห็นทุกข์ เห็นสุข ได้ดีกว่ามนุษย์ในทวีปอื่นๆ
    สาเหตุอีกอย่างที่เลือกลงมามนุษยภูมิเพราะมนุษย์เห็นสุขทุกข์ได้ง่ายที่สุด สัตว์ในอบายภูมิ 4 มีแต่ความทุกข์ไม่เห็นสุขกระจ่าง เทวดาพรหมก็เห็นสุขมากกว่าทุกข์จนยากที่จะทำให้เป็นพระอรหันต์ได้ อีกทั้งมนุษย์ทำบุญได้ จึงทรงเลือกมนุษย์

    3. ประเทศ (ประเทศที่จะประสูติ)
    พระโพธิสัตว์จะทรงเลือกประเทศที่มีความเจริญรุ่งเรือง เศรษฐกิจดี มีประชากรหนาแน่น มีนักปราชญ์ เจ้าสำนัก เป็นที่รวมของการศึกษาและศิลปวิทยามากมาย มีผู้มีคุณธรรมมากมาย จะสามารถเผยแพร่ธรรมให้รุ่งเรือง มีคนรู้มากได้

    4. ตระกูล (ตระกูลที่จะประสูติ)
    พระโพธิสัตว์ทรงเลือกได้ระหว่าง ตระกูลกษัตริย์ กับ ตระกูลพราหมณ์ ว่าในช่วงเวลานั้นตระกูลใดเจริญมากกว่ากัน ได้รับการยอมรับมากกว่ากัน ใน 4 อสงไขยแสนมหากัปล่าสุดนี้มีพระพุทธเจ้าจากตระกูลกษัตริย์มากกว่า แต่ในภัทรกัปป์นี้มีพระพุทธเจ้าจากตระกูลพราหมณ์มากกว่า (พระกกุสันธะ พระโกนาคมณ์ พระกัสสปะ และพระศรีอาริยเมตไตรยพุทธเจ้า) มีเพียงพระโคตมพุทธเจ้าเพียงพระองค์เดียวที่มาจากตระกูลกษัตริย์
    พระโพธิสัตว์ผู้ได้มาจุติเป็นพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันนี้ ทรงเลือกตระกูลศากยโคตมวงศ์แห่งกรุงกบิลพัสดุ์นคร เพราะได้รับความนับถือมาก และบริสุทธิ์มา 7 รุ่นแล้ว ถ้าไม่บริสุทธิ์แล้วลงมาจุติแล้วเป็นพระพุทธเจ้าก็ยากที่จะได้รับการนับถือ สาเหตุที่เลือกตระกูลกษัตริย์เพราะในช่วงเวลานั้นมีการแบ่งชนชั้นวรรณะกัน และวรรณะกษัตริย์เป็นวรรณะที่มีคนนับถือมากที่สุด จึงทรงเลือกวรรณะกษัตริย์

    5. มารดา (มารดาผู้ให้กำเนิดและกำหนดอายุของพระมารดาหลังประสูติ)
    พระโพธิสัตว์จะทรงเลือกผู้หญิงจากตระกูลกษัตริย์หรือพราหมณ์ที่รักษาศีล รักษาธรรมได้ดีที่สุด บริสุทธิ์ทางกาย วาจา ใจ ไม่ดื่มสุรา ไม่หลงในอบายมุข ไม่โลเลในบุรุษ และทรงกำหนดอายุของพระมารดาว่ามีประมาณเท่าใด เพราะพระครรภ์ที่ประทับแห่งพระโพธิสัตว์ผู้จะได้เสด็จอุบัติตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น เปรียบประดุจพระคันธกุฎีแห่งพระบรมศาสดา ไม่สมควรแก่ผู้อื่น
    พระบรมโพธิสัตว์ทรงเลือกพระมารดาที่บริสุทธิ์ไม่แปดเปื้อนมลทินโทษ มิฉะนั้นจะยากแก่การเผยแผ่ศาสนา เพราะจะถูกโจมตีว่ามารดาของพระศาสดาไม่บริสุทธิ์ พระนางสิริมหามายาได้อธิษฐานเป็นพระพุทธมารดามาแต่อดีตกาล เมื่อประสูติพระบรมโพธิสัตว์เจ้าได้ 7 วันก็เสด็จทิวงคต ไปบังเกิดเป็นเทพบุตรสถิตในดุสิตเทวโลก ตามประเพณี พระพุทธมารดาไม่ได้เป็นหญิงอย่างเก่า ที่เกิดเป็นหญิงเพราะอธิษฐานขอเป็นมารดาพระพุทธเจ้า
    [แก้] ประเภทของพระพุทธเจ้า

    ในพระไตรปิฎกจะแบ่งประเภทของพระพุทธเจ้าไว้ดังนี้ การแบ่งประเภทของพระพุทธเจ้าตามวิธีการสร้างบารมี<SUP id=cite_ref-0 class=reference>[1]</SUP>
    1. ปัญญาธิกพุทธเจ้า คือพระพุทธเจ้าที่สร้างบารมีโดยใช้ปัญญาเป็นตัวนำ ใช้เวลาบำเพ็ญบารมี 20 อสงไขยกับอีก 100,000 มหากัปป์ นับเวลาตั้งแต่ได้รับพยากรณ์ครั้งแรก 4 อสงไขยกัป กับอีก 100,000 มหากัปป์
    2. ศรัทธาธิกพุทธเจ้า คือพระพุทธเจ้าที่สร้างบารมีโดยใช้ศรัทธาเป็นตัวนำ ใช้เวลาบำเพ็ญบารมี 40 อสงไขยกับอีก 100,000 มหากัปป์ นับเวลาตั้งแต่ได้รับพยากรณ์ครั้งแรก 8 อสงไขยกัป กับอีก 100,000 มหากัปป์
    3. วิริยะธิกพุทธเจ้า คือพระพุทธเจ้าที่สร้างบารมีโดยใช้ความเพียรเป็นตัวนำ ใช้เวลาบำเพ็ญบารมี 80 อสงไขยกับอีก 100,000 มหากัปป์ นับเวลาตั้งแต่ได้รับพยากรณ์ครั้งแรก 16 อสงไขยกัป กับอีก 100,000 มหากัปป์
    [แก้] พระพุทธเจ้าในอดีต

    ดูเพิ่มที่ พระพุทธเจ้าในอดีต
    [แก้] พระพุทธเจ้าในอนาคต

    ในคัมภีร์อนาคตวงศ์นั้น ได้กล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอนาคต 10 พระองค์ที่จะบังเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ ดังนี้ <SUP id=cite_ref-1 class=reference>[2]</SUP>
    [แก้] พระพุทธเจ้าตามความเชื่อของฝ่ายมหายาน

    นิกายมหายานยอมรับพระพุทธเจ้าตามคัมภีร์ฝ่ายเถรวาททั้งหมดและยังสร้างพระพุทธเจ้าอีกมากมาย ทั้งที่เป็นมนุษย์และมีสถานะเหมือนเทพเจ้าในศาสนาฮินดู นิกายมหายานเชื่อว่าเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้วไม่ดับสูญแต่ไปประทับ ณ พุทธเกษตรซึ่งเป็นดินแดนที่งดงามกว่าสวรรค์ พระพุทธเจ้าตามคติมหายานแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
    1. อาทิพุทธะ ถือว่าเป็นพระพุทธเจ้าที่อุบัติมาพร้อมกับโลกและประทับอยู่กับโลกเป็นนิรันดร์ มีบทบาทคล้ายพระพรหมในศาสนาฮินดูที่เป็นผู้สร้างโลกและจักรวาล
    2. พระมานุสสพุทธะ เป็นพระพุทธเจ้าที่อวตารมาจากอาทิพุทธะมาเกิดในโลกมนุษย์และบำเพ็ญเพียรในฐานะพระโพธิสัตว์จนตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เมื่อปรินิพพานแล้วจะไปอยู่กับอาทิพุทธะ คล้ายกับคติของศาสนาฮินดูที่เมื่อทำความดีถึงขั้นสูงสุดจะกลับไปเป็นส่วนหนึ่งของมหาพรหม พระพุทธเจ้าองค์ปัจจจุบัน ทางมหายานเรียกว่าพระศากยมุนีพุทธเจ้า เป็นพระมานุสสพุทธะด้วยเช่นกัน
    3. พระธยานิพุทธะ เป็นพุทธะที่อวตารมาจากอาทิพุทธะเช่นกันแต่สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าด้วยอำนาจฌาน (ธยาน) ของอาทิพุทธะไม่ได้ผ่านการบำเพ็ญเพียรในโลกมนุษย์ พุทธะเหล่านี้ประทับบนสวรรค์ ในสภาวะกายทิพย์ มีเฉพาะพระโพธิสัตว์ที่มองเห็นได้
    4. พระพุทธเจ้าอื่นๆ เช่น พระสัทธรรมวิทยาตถาคต พระไภษัชยคุรุทั้ง 7 พระสหัสประภาราชาศานติสถิตยตตถาคต พระประภูตรัตนะ
    [แก้] จำนวนของพระพุทธเจ้า

    ในคัมภีร์ของทางมหายานนั้นได้ระบุนามของพระพุทะเจ้าไว้เป็นจำนวนมาก มีทั้งพระพุทธเจ้า 35 พระองค์ พระพุทธเจ้า 53 พระองค์ และที่มากที่สุดคือพระพุทธเจ้า 3,000 พระองค์ โดยแบ่งเป็น <SUP id=cite_ref-2 class=reference>[3]</SUP>
    [แก้] อ้างอิง
    1. ^ http://geocities.com/ss12345_th/poti/P101.html
    2. ^ ประชุมพงศาวดารฉบับราษฏร์ ภาค 3 อนาคตวงศ์. กทม. อมรินทร์วิชาการ. 2542 และ ดู : http://www.84000.org/anakot/index.html
    3. ^ ภิกษุจีนวิศวภัทร. พระพุทธเจ้าและพระธรรมสูตรฝ่ายมหายาน. กทม. หมื่นคุณธรรมสถาน.2549
    • ประสงค์ แสนบุราณ. พระพุทธศาสนามหายาน. กทม. โอเดียนสโตร์. 2548
    • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
    ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2".
    หมวดหมู่: อภิธานศัพท์พุทธศาสนา | พระพุทธเจ้า | ศาสดาแห่งศาสนา<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" class=alt2>[​IMG] [​IMG]<SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("4007358")</SCRIPT> [​IMG] </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" class=alt1 align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    889
    ค่าพลัง:
    +3,876
    เปรียบเทียบแนวความคิดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า
    ในพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน
    สำหรับในหัวข้อนี้จะได้ทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวความคิดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าของทั้งสองนิกายในแง่มุมต่าง ๆ โดยจะเน้นเปรียบเทียบหลัก ๕ ประเด็นหลัก คือประเด็นที่เกี่ยวกับประเภท จำนวน การสร้างบางมี เรื่องกาย และเรื่องพุทธภาวะหลังปรินิพพาน ซึ่งจะได้สรุปแนวความคิดในแต่ละประเด็นของแต่ละนิกาย แล้วทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบ เพื่อให้เห็นถึงความเหมือนและความแตกต่างในประเด็นนั้น ๆ ไปตามลำดับ
    ๑. การเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่องประเภทของพระพุทธเจ้า
    พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีแนวความคิดในเรื่องประเภทของพระพุทธเจ้าอยู่ว่า พระพุทธเจ้านั้น แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ตามระยะเวลาของการสร้างบารมี ระดับของปัญญา ศรัทธาและความเพรียรของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์โดยที่
    พระพุทธเจ้าประเภทแรกเรียกว่า พระปัญญาธิกะพุทธเจ้า ใช้เวลาในการสร้างบารมีอยู่ ๒๐ อสงไขยกับอีกหนึ่งแสนมหากัป เป็นพระพุทธเจ้าประเภทที่มีปัญญาแก่กล้าแต่มีศรัทธาน้อย
    ประเภทที่ ๒ เรียกว่า พระสัทธาธิกะพุทธเจ้า ใช้เวลาในการสร้างบารมีอยู่ ๔๐ อสงไขยอีกหนึ่งแสนมหากัป เป้นพระพุทธเจ้าประเภทที่มีศรัทธาแก่กล้าและมีปัญญาปานกลาง
    และในประเภทที่ ๓ เรียกว่าพระวิริยาธิกะพุทธเจ้า ใช้เวลาในการสร้างบารมีอยู่ ๘๐ อสงไขยกับอีกหนึ่งแสนมหากัป เป็นพระพุทธเจ้าประเภทที่มีความเพียรแก่กล้าแต่มีปัญญาน้อย
    พระพุทธศาสนานิกายมหายาน มีแนวความคิดในเรื่องประเภทของพระพุทธเจ้าอยู่ว่า พระพุทธเจ้านั้น แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ตามสภาวะแห่งการเกิดขึ้น เพื่อความเหมาะสมของการสั่งสอนเวไนยสัตว์ โดยที่
    พระพุทธเจ้าประเภทแรกเรียกว่า พระอาทิพุทธเจ้า เป็นผู้ที่เกิดขึ้นมาเองก่อนสิ่งอื่นใดทั้งหมด จะหาเบื้องต้นและเบื้องปลายมิได้ เป็นผู้ให้กำเนิดพระพุทธเจ้าประเภทอื่น ๆ ทั้งหมด เป็นผู้ให้กำเนิดพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย รวมทั้งสรรพสิ่งต่าง ๆ ทั้งมวลที่บังเกิดมีอยู่ในสากลจักรวาลนี้
    ส่วนประเภทที่ ๒ เรียกว่า พระฌานิพุทธเจ้า เป็นผู้ที่เกิดมาจากอำนาจฌานของพระอาทิพุทธเจ้า ทำหน้าที่โปรดเวไนยสัตว์และปกครองดินแดนที่ชื่อว่า พุทธเกษตร
    และในประเภทที่ ๓ เรียกว่า พระมานุษิพุทธเจ้า เป็นผู้ที่ถือกำเนิดมาจาพระฌานิพุทธเจ้า โดยแสดงตนออกมาในรูปของมนุษย์ธรรมดาและอุบัติขึ้นในโลกมนุษย์ เพื่อสั่งสอนสรรพสัตว์ทั้งหลายในเร่งปฏิบัติธรรมด้วยความไม่ประมาท
    ๒. การเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่องจำนวนของพระพุทธเจ้า
    พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีแนวความคิดในเรื่องจำนวนของพระพุทธเจ้าว่า พระพุทธเจ้าในอดีตที่ผ่านมานั้น มีมากมายยิ่งนัก จนกระทั่งมีคำอุปมาไว้ว่า มีมากกว่าเม็ดทรายในมหาสมุทรทั้งสี่ คือมีจำนวนมากเกินกว่าที่จะนับประมาณได้ แนวความคิดเรื่องจำนวนของพระพุทธเจ้าในฝ่ายเถรวาทดังกล่าวนี้ เป็นแนวความอันชัดเจน หลักฐานยืนยันอยู่ในคัมภีร์หลายแห่ง
    พระพุทธศาสนานิกายมหายาน มีแนวความคิดในเรื่องจำนวนของพระพุทธเจ้าว่า พระพุทธเจ้านั้นมีอยู่เป็นจำนวนมากจนไม่อาจจะคิดคำนวณได้ เปรียบประดุจจำนวนเม็ดทรายในคงคานที อันใคร ๆ ไม่อาจจะคิดคำนวณเป็นปริมาณเม็ดได้ ซึ่งพระพุทธเจ้าเหล่านี้ สถิตอยู่ ณ พุทธเกษตรในทิศต่าง ๆ แม้ปัจจุบันก็ยังทำหน้าที่สั่งสอนสรรพสัตว์อยู่ตลอดเวลา
    ๓. การเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่องการสร้างบารมีเพื่อเป็นพระพุทธเจ้า
    พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีแนวความคิดเรื่องการสร้างบารมีเพื่อความเป็นพระพุทธเจ้า สรุปได้ว่า บุคคลผู้จะเป็นพุทธเจ้าจะต้องสร้างสมบุญบารมี ตามหมวดธรรมที่เรียกว่า พุทธการกธรรมหรือบารมี จนครบถ้วนเต็มบริบูรณ์ทั้ง ๓๐ ประการ ซึ่งระยะเวลาระหว่างการสร้างบารมีเหล่านี้แบ่งออกได้เป็น ๓ ขั้นตอน คือ
    ๑. ขั้นตอนที่คิดปรารถนาพุทธภูมิ แต่ยังมิได้เปล่งวาจา
    ๒. ขั้นตอนของการสร้างบารมีพร้อมด้วยการเปล่งวาจาปรารถนาพุทธภูมิ แต่ยังมิได้รับพุทธพยากรณ์
    ๓. และขั้นตอนตั้งแต่ได้รับพุทธพยากรณ์แล้ว จนถึงการสำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า เมื่อบุคคลใดสร้างสมบารมีจนครบ ๓๐ ทัศ อันประกอบด้วยขั้นตอนทั้ง ๓ โดยบริบูรณ์แล้ว บุคคลนั้นย่อมเข้าถึงพุทธภูมิบรรลุความเป็นพระพุทธเจ้า
    พระพุทธศาสนานิกายมหายาน มีแนวความคิดเรื่องการสร้างบารมีเพื่อเป็นพระพุทธเจ้า สรุปได้ว่า บุคคลผู้จะเป็นพระพุทธเจ้า จะต้องดำเนินวิถีชีวิตตามหลักคำสอนที่เรียกว่า โพธิสัตวมรรค อันประกอบด้วยบารมี ๖ อัปปมัญญา ๔ มหาปณิธาน ๔ และคุณสมบัติ ๓ ซึ่งการที่ฝึกฝนอบรมให้คุณธรรมเหล่านี้มีวามเต็มเปี่ยมนั้น จะต้องใช้ความเพียรและความอดทนอย่างยิ่งยวด เป็นระยะเวลาอันยาวนาน เมื่อบารมีอันเกิดจาการปฏิบัติตามหลักธรรมเหล่านี้เต็มเปี่ยมบริบูรณ์แล้ว บุคคลนั้นย่อมเข้าสู่พุทธภาวะเป็นพระพุทธเจ้า
    ๔. การเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่องกายของพระพุทธเจ้า
    พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีแนวความคิดในเรื่องกายของพระพุทธเจ้าว่า กายของพระพุทธเจ้านั้นแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท
    ๑. เรียกว่า นิรมาณกาย หมายถึง ส่วนที่เป็นกายมนุษย์ธรรมดา ซึ่งยังตกอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ สามารถสูญสลายไปเมื่อถึงกาลอันควร
    ๒. เรียกว่า กายธรรมหรือธรรมกาย หมายถึงคุณธรรมหรือพระธรรมคำสอนแห่งองค์พระพุทธเจ้า ซึ่งกายในส่วนนี้ ย่อมไม่มีวันสูญสลายไปเมื่อใดที่พุทธศาสนิกชนประพฤติปฏิบัติธรรมอยู่ ย่อมสามารถที่จะสัมผัสกับพระกายในส่วนนี้ได้ตลอดไป
    พระพุทธศาสนานิกายมหายาน มีแนวความคิดในเรื่องกายของพระพุทธเจ้าว่ากายของพระพุทธเจ้านั้น แบ่งออกได้เป็น ๓ ประเภท คือ
    ประเภทแรก นิรมาณกาย หมายถึงกายของพระพุทธเจ้า ที่ยังตกอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ ยังมีการเกิด แก่ เจ็บและตายเหมือนมนุษย์ธรรมดาทั่วไป นิรมาณกายนี้มหายานเชื่อว่า เป็นการเนรมิตขึ้นมาจากสัมโภคกาย เพื่อเป็นอุบายในการสั่งสอนสัตว์โลก
    ประเภทที่ ๒ คือ สัมโภคกาย หมายถึง กายที่แท้จริงของพระพุทธเจ้า กายนี้จะไม่มีการแตกดับ อยู่ในสภาวะที่เป็นทิพย์ชั่วนิรันดร์สามารถแสดงตนให้ปรากฏแพระโพธิสัตว์ได้ และสามารถรับรู้คำอ้อนวอนสรรเสริญจากผู้ที่เลื่อมใสได้ สัมโภคกายนี้เองที่เนรมิตตนลงมาเป็นนิรมาณกายในโลกมนุษย์เพื่อการสั่งสอน ดังนั้น แม้ในปัจจุบันนี้ พระพุทธเจ้าที่เคยอุบัติขึ้นในโลกมนุษย์ทุก ๆ พระองค์ ก็ยังดำรงอยู่ในสภาวะแห่งสัมโภคกายนี้มิได้สูญหายไปไหน
    ส่วนกายประเภทที่ ๓ ก็คือ ธรรมกาย อันหมายถึง สภาวะอันเป็นอมตะเป็นสิ่งไร้รูป ไม่อาจรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส ไม่มีเบื้องต้นและที่สุด ทั้งไม่มีจุดกำเนิดและผู้สร้าง ดำรงอยู่ได้ด้วยตนเอง แม้จักรวาลจะว่างเปล่าปราศจากทุกสิ่ง แต่ธรรมกายจะยังดำรงอยู่ไม่มีที่สิ้นสุด มหายานชื่อว่า ธรรมกายนี้เองที่แสดงตนออกมาในรูปของสัมโภคกายบนภาคพื้นสวรรค์ และสัมโภคกายก็จะแสดงตนออกมาในรูปของนิรมาณกายทำหน้าที่สั่งสอนสรรสัตว์ในโลกมนุษย์
    . การเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่องพุทธภาวะหลังปรินิพพาน
    พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีแนวความคิดเรื่องพุทธภาวะหลังปรินิพพานว่า เมื่อพระพุทธเจ้าดับขันธปรินิพพานแล้ว และธาตุอันตรธานได้เกิดขึ้นแล้ว พุทธภาวะย่อมเป็นสภาพว่างเปล่า ไม่มีสภาวะบัญญัติอื่นใดปรากฏอยู่ เราไม่สามรถจะหาพระพุทธเจ้าผู้ปรินิพพานไปแล้วได้ไม่ว่า ณ ที่ในจักวาลนี้
    พุทธศาสนานิกายมหายาน มีแนวความคิดเรื่องพุทธภาวะหลังปรินิพพานว่า พระพุทธเจ้าเมื่อได้แสดงตนว่าปรินิพพานแล้วนั้น ที่จริงหาได้เป็นการสิ้นสุดของพุทธภาวะไม่ การปรินิพพานเป็นเพียงอุบายแห่งการสั่งสอนสรรพสัตว์เท่านั้น พระองค์ยังคงมีพุทธภาวะอยู่โดยสมบูรณ์ในรูปของสัมโภคกายสามารถที่จะรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ได้ และจะดำรงอยู่เช่นนี้ตลอดชั่วกาลนาน จนกว่าจะช่วยเหลือ
     
  7. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    889
    ค่าพลัง:
    +3,876
    ไปหามาให้อ่านกันแก้เบื่อ
    พระพุทธเจ้าในอดีต

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    [​IMG]
    พระพุทธเจ้าที่ล่วงมาแล้วหลายพระองค์ มีจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน อุปมาว่าจำนวนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ได้ล่วงไปแล้วมีจำนวนมากกว่าเม็ดทรายในมหาสมุทรทั้งสี่ พระพุทธเจ้าทรงแนะว่าไม่ควรคิดถึงเรื่องของพระพุทธเจ้า เพราะเป็นอจินไตย (แปลว่า เป็นเรื่องที่มนุษย์ปุถุชนอย่างเราไม่ควรคิดเพราะเป็นเรื่องที่ลึกลำเหนือจินตนาการของมนุษย์)
    ในหลักฐานฝ่ายเถรวาทกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตไว้ 28 พระองค์ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่พระโคดมพุทธเจ้า (พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน) ได้ทรงพบและ พระโคดมพุทธเจ้าทรงได้รับคำพยากรณ์ ว่าจะได้สำเร็จเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเรานิยมนับรวมพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน โดยเรียกว่า "พระพุทธเจ้า 28 พระองค์"
    <TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; WIDTH: 100%" cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="50%" align=left>
    </TD><TD vAlign=top width="50%" align=left>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>หากแบ่งตามกัปป์ โดยการนับอสงไขยในที่นี้ จะนับอสงไขยแรกโดยเริ่มนับจากช่วงเวลาที่ อดีตชาติของพระโคตมสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มสร้างบารมี โดยการอธิษฐานในใจต่อหน้าพระพักตร์ของพระสัมมาพุทธเจ้าเป็นครั้งแรก จะมีพระพุทธเจ้าในอดีตดังต่อไปนี้
    • กัปแรกในต้นอสงไขยที่ 17 เป็นสารมณฑกัป คือ กัปที่มีพระพุทธเจ้า 4 พระองค์<SUP id=cite_ref-0 class=reference>[1]</SUP>
      1. พระตัณหังกรพุทธเจ้า
      2. พระเมธังกรพุทธเจ้า
      3. พระสรนังกรพุทธเจ้า
      4. พระทีปังกรพุทธเจ้า
    • กัปหนึ่งในอสงไขยที่ 18 เป็นสารกัป คือ กัปที่มีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์
      1. พระโกณฑัญญะพุทธเจ้า
    • กัปหนึ่งในอสงไขยที่ 19 เป็นสารมณฑกัป คือ กัปที่มีพระพุทธเจ้า 4 พระองค์
      1. พระสุมังคละสัมมาสัมพุทธเจ้า
      2. พระสุมนะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      3. พระเรวตะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      4. พระโสภิตะสัมมาสัมพุทธเจ้า
    • กัปหนึ่งในอสงไขยที่ 20 เป็นสารวรกัป คือ กัปที่มีพระพุทธเจ้า 3 พระองค์
      1. สมเด็จพระอโนมทัสสีสัมพุทธเจ้า
      2. สมเด้จพระปทุมะสัมพุทธเจ้า
      3. สมเด็จพระนารทะสัมพุทธเจ้า
    • ช่วงเศษแสนมหากัป ของ อสงไขยปัจจุบัน<SUP id=cite_ref-1 class=reference>[2]</SUP>
      1. กัปหนึ่งมีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์. บางตำราว่าเป็นมัณฑกัป บางตำราก็ว่าเป็นสารกัป.
        1. พระปทุมมุตระพุทธเจ้า
      2. สูญกัป (กัปที่ไม่มีพระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้น) 30,000 กัป
      3. มัณฑกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 2 พระองค์
        1. พระสุเมธสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระสุชาตะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      4. สูญกัป 60,000 กัป
      5. วรกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 3 พระองค์
        1. พระปียทัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระอัตถทัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
        3. พระธรรมทัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
      6. สูญกัป 24 กัป
      7. สารกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์
        1. พระสิทธัตถะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      8. สูญกัป 1 กัป
      9. มัณฑกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 2 พระองค์
        1. พระติสสะสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระมหาปุสสะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      10. สารกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์
        1. พระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
      11. สูญกัป 60 กัป
      12. มัณฑกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 2 พระองค์
        1. พระสิขีสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระเวสสภูสัมมาสัมพุทธเจ้า
      13. สูญกัป 30 กัป
      14. กัปปัจจุบัน เป็น ภัทรกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 5 พระองค์
        1. พระกกุสันธะสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระโกนาคมสัมมาสัมพุทธเจ้า
        3. พระกัสสปะสัมมาสัมพุทธเจ้า
        4. พระศรีศากยมุนีโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้า (พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน 80 ปีก่อนพุทธกาล)
        5. พระศรีอริยเมตไตรยสัมพุทธเจ้า (อนาคต พุทธศักราช 5,000 เป็นต้นไป)
      15. สูญกัป 1 อสงไขย
      16. มัณฑกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 2 พระองค์
        1. พระรามะสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระธรรมราชาสัมพุทธเจ้า
      17. สารกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์
        1. พระธรรมสามีสัมมาสัมพุทธเจ้า
    [แก้] อ้างอิง

    1. ^ http://geocities.com/ss12345_th/poti/P204.html
    2. ^ http://geocities.com/ss12345_th/poti/P205.html
    [แก้] ดูเพิ่ม

    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE style="WIDTH: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%" id=collapsibleTable0 class="nowraplinks collapsible autocollapse" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: #ff9900; COLOR: #fefefe" class=navbox-title colSpan=2>

    รายพระนามของพระพุทธเจ้าในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต (ที่พระบารมีเต็มเปี่ยมแล้ว)</TH></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>อดีต</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">พระตัณหังกรพุทธเจ้าพระเมธังกรพุทธเจ้าพระสรณังกรพุทธเจ้าพระทีปังกรพุทธเจ้าพระโกณฑัญญพุทธเจ้าพระมังคลพุทธเจ้าพระสุมนพุทธเจ้าพระเรวตพุทธเจ้าพระโสภิตพุทธเจ้าพระอโนมทัสสีพุทธเจ้าพระปทุมพุทธเจ้าพระนารทพุทธเจ้าพระปทุมุตรพุทธเจ้าพระสุเมธพุทธเจ้าพระสุชาตพุทธเจ้าพระปิยทัสสีพระอัตถทัสสีพุทธเจ้าพระธรรมทัสสีพุทธเจ้าพระสิทธัตถพุทธเจ้าพระติสสพุทธเจ้าพระปุสสพุทธเจ้าพระวิปัสสีพุทธเจ้าพระสิขีพุทธเจ้าพระเวสสภูพุทธเจ้าพระกกุสันธพุทธเจ้าพระโกนาคมนพุทธเจ้าพระกัสสปพุทธเจ้า
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>ปัจจุบัน</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">พระสมณโคตมพุทธเจ้า
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>อนาคต</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">พระศรีอาริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้าพระรามะสัมพุทธเจ้าพระธรรมราชาสัมพุทธเจ้าพระธรรมสามีสัมพุทธเจ้าพระนารทสัมพุทธเจ้าพระรังสีมุนีสัมพุทธเจ้าพระเทวเทพสัมพุทธเจ้าพระนรสีหสัมพุทธเจ้าพระติสสัมพุทธเจ้าพระสุมังคลสัมพุทธเจ้า
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%95".
    หมวดหมู่: พระพุทธเจ้า | พระพุทธเจ้าในอดีต<!-- google_ad_section_end -->
     
  8. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    889
    ค่าพลัง:
    +3,876
    ตัวเลขหน่วยเวลาของชาวภารตะ
    ====================
    1 Krati = 34,000th of a second
    1 Truti = 300th of a second
    2 Truti = 1 Luv
    2 Luv = 1 Kshana
    30 Kshana = 1 Vipal
    60 Vipal = 1 Pal
    60 Pal = 1 Ghadi (24 Minutes)
    2.5 Ghadi = 1 Hora (1 Hour) (
    โหรา)
    24 Hora = 1 Divas (1 Day) (
    ทิวา)
    7 Divas = 1 Saptah (1 week) (
    สัปดาห์)
    4 Saptah = 1 Mas ( 1 Season) (
    มาส)
    2 Mas = 1 Rutu (1 Season) (
    ฤดู)
    6 Rutu = 1 Varsh (1 Year) (
    วรรษ)
    100 Varsh = 1 Shatabda (1 Century) (
    ศต~)
    10 Shatabda = 1 Sahasrabda
    432 Sahasrabda = 1 Yug (Kaliyug) (
    ยุค)
    2 Yug = 1 Dwaparyug
    3 Yug = 1 Tretayug
    4 Yug = 1 Krutayug
    10 Yug = 1 Mahayug(4,320,000Yrs) (
    มหายุค)
    1000 Mahayug = 1 Kalpa (
    กัลป์)
    1 Kalpa = 4.32 Billion Years

     
  9. Army56

    Army56 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,098
    ค่าพลัง:
    +1,862
    1 กัปป์ เท่ากับ 80 ปี ไม่น่าใช่

    ก็กัปป์นี้ เป็นภัทรกัปป์ คือมี พระพุทธเจ้า 5 พระองค์

    ถ้า 1 กัปป์ 80 ปี ผ่านมา 2500 ปีก็เป็นสุญญกัปป์ หรือครับ ทั้งที่องค์ที่ 5 ยังไม่มาเลย
     
  10. ๛อาภากร๛

    ๛อาภากร๛ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    898
    ค่าพลัง:
    +3,580
    พอจับใจความของเจ้าของกระทู้ได้แล้วครับ
    คําว่า พระพุทธเจ้า กับคําว่า พุทธะ
    คุณเอา 2 คํานี้มารวมในเนื้อหาเดียวกัน
    พุทธะเป็นสภาวะธรรมนะครับสภาวะผู้รู้ในอริยสัจสามารถเกิดได้ในพระสาวก
    พระพุทธเจ้าไม่ใช่สภาวธรรมเป็นเรื่องของรูปนามนะครับ เป็นเรื่องของบุคคลครับ
    พระพุทธเจ้าต้องตรัสรู้โดยพระองค์เอง

    ต้องแยกพระพุทธเจ้ากับสาวกหล่ะครับ ถ้าเข้าใจตามสภาวะคําว่าพุทธะก็จะมีผู้เข้าถึงมากแต่จะมีพระพุทธเจ้าพระองค์เดียวครับคือผู้สอนผู้ฟัง หรือสาวกทั้งหมดเข้าถึงสภาวะพุทธะได้แต่ไม่ใช่พระพุทธเจ้า

    และขอแก้ไขจํานวนพระพุทธเจ้าจาก 26 พระองค์เป็น 27 พระองค์ค่อนข้างสับสนกับพระพุทธเจ้าตัณหังกรเล็กน้อย เพราะทรงได้พยากรณ์ยุคนั้นควรจะนับหรือไม่นับก็เอาเป็นอันว่านับเข้าร่วมด้วยน่าจะเหมาะสมตามคุณอัคนีวาต

    3 จตุสัจจพุทธะ
    4 สุตพุทธะ 2 คํานี้เพิ่งเคยได้ยินจริงๆ แต่ไม่ได้ลงสถานที่ที่ชัดเจน น่าเสียดายแหล่งข้อมูลครับ
     
  11. Jjfreeman

    Jjfreeman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2010
    โพสต์:
    101
    ค่าพลัง:
    +130
    *** ขอบคุณครับที่ตอบกระทู้ เล่นยกมาทั้งตำราเลย ผมอยากได้แบบนอกเหนือตำรา เอาแบบความเข้าที่อ่านมา ตำราส่วนตำรา เข้าใจส่วนเข้าใจ ผิดถูกก็แล้วแต่ใครจะไปปฏิบัติเอาเองตามความเข้าใจ ***
     
  12. ปรสุ

    ปรสุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    127
    ค่าพลัง:
    +838
    ง่ายๆ 1กัลป์ = 1อายุโลก1ใบ แค่นึ้เอง
     
  13. น้ำดี1

    น้ำดี1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    13,402
    ค่าพลัง:
    +43,436
    แล้วที่ถูกต้องคืออะไรค่ะ
     
  14. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    51,575
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,070
  15. Jjfreeman

    Jjfreeman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2010
    โพสต์:
    101
    ค่าพลัง:
    +130
    พระศรีอาริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้า ในสมัยพุทธกาลคือพระอชิตเถระ ตรัสรู้ที่ไม้กากะทิง พระชนม์ 8 หมื่นพรรษา พระกายสูง 80 ศอก
    อ้างอิง

    *** ถ้างั้นสิ้นกัปป์ พระพุทธเจ้าโคดม นี้ไปแล้ว พระศรีอาริเมตไตร สูงตั้ง 80 ศอกเลยงั้นรึ๊ ( ประมาณค่าหน่วยวัดแบบปัจจุบัน 1 ศอก=30 เซ็นติเมตร ถ้า 80 ศอก ก็เท่ากับ 2400 เซ็นติเมตร หรื่อ 24 เม<!-- google_ad_section_end -->ตร ) ****


    ง่ายๆ 1กัลป์ = 1อายุโลก1ใบ แค่นึ้เอง<!-- google_ad_section_end -->
    อ้างอิง

    *** ถ้างั้นสิ้นกัปป์ พระพุทธเจ้าโคดม แสดงว่าโลกแตกสลาย งั้นรึ๊ ***
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 8 พฤศจิกายน 2010
  16. โตโต้

    โตโต้ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    136
    ค่าพลัง:
    +610
    ถ้าดูจากพระสูตรเหล่านี้จะพบว่าระยะเวลาที่เรานำมาวิเคราะห์กันคลาดเคลื่อนไปพอสมควรครับ

    เรื่องระยะเวลาแห่งกัปป์นั้น พระบรมศาสดาตรัสไว้ดังนี้

    พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค - หน้าที่ 177-191
    ปัพพตสูตร
    [๔๒๙-๔๓๐]
    ... ดูกรภิกษุ กัปหนึ่งนานแล มิใช่ง่ายที่จะนับกัปนั้นว่า เท่านี้ปี เท่านี้ ๑๐๐ ปี เท่านี้ ๑,๐๐๐ ปี หรือว่าเท่านี้ ๑๐๐,๐๐๐ ปี ฯ
    ก็พระองค์อาจจะอุปมาได้ไหม พระเจ้าข้า ฯ
    อาจอุปมาได้ ภิกษุ ดูกรภิกษุเหมือนอย่างว่า ภูเขาหินลูกใหญ่ยาวโยชน์หนึ่ง กว้างโยชน์หนึ่ง สูงโยชน์หนึ่งไม่มีช่อง ไม่มีโพรง เป็นแท่งทึบ บุรุษพึงเอาผ้าแคว้นกาสีมาแล้ว ปัดภูเขานั้น๑๐๐ ปีต่อครั้ง ภูเขาหินลูกใหญ่นั้น พึงถึงการหมดไป สิ้นไปเพราะความพยายามนี้ ยังเร็วกว่าแล ส่วนกัปหนึ่งยังไม่ถึงการหมดไป สิ้นไป กัปนานอย่างนี้แล บรรดากัปที่นานอย่างนี้ พวกเธอท่องเที่ยวไปแล้ว มิใช่หนึ่งกัป มิใช่ร้อยกัป มิใช่พันกัป มิใช่แสนกัป ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า เพราะเหตุว่า สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็นที่กางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฏ....



    สาสปสูตร [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค [/FONT]

    [FONT=&quot]ดูกรภิกษุเหมือนอย่างว่า นครที่ทำด้วยเหล็ก ยาวโยชน์ ๑ กว้างโยชน์ ๑ สูงโยชน์ ๑ เต็มด้วยเมล็ดพันธุ์ผักกาด มีเมล็ดพันธุ์ผักกาดรวมกันเป็นกลุ่มก้อน บุรุษพึงหยิบเอาเมล็ดพันธุ์ผักกาดเมล็ดหนึ่งๆ ออกจากนครนั้นโดยล่วงไปหนึ่งร้อยปีต่อเมล็ดเมล็ดพันธุ์ผักกาดกองใหญ่นั้น พึงถึงความสิ้นไป หมดไป เพราะความพยายามนี้ ยังเร็วกว่าแล ส่วนกัปหนึ่งยังไม่ถึงความสิ้นไป หมดไป กัปนานอย่างนี้แล

    ประเด็นอยู่ที่ว่า
    1.พระพุทธองค์ทรงบอกว่า กว้าง ยาว สูง = 1โยชน์ คือ อย่างละ 16 กม.
    2.ท่านบอกว่ากำแพงเมือง ไม่ใช่กล่องแก้ว
    3.พระองค์ยังทรงตรัสต่อไปว่า เป็นเมล็ดผักกาด ไม่ใช่ถั่วเขียว (ซึ่งในที่ที่ขนาดเท่ากัน เมล็ดผักกาดย่อมมีปริมาณมากกว่า)
    4.หากหยิบไปหมดแล้ว เวลาที่ผ่านไปยังไม่ถึง 1 กัป


    ในทำนองเดียวกับอุปมาเรื่องภูเขาหิน
    1.ท่านบอกว่าบุรุษนำผ้ามาลูบ ไม่ใช่เทวดานำมาลูบ
    2.ลูบแล้วภูเขาหินสึกไปหมดได้ระยะเวลาเท่าไร 1 กัป นานกว่านั้น

    ฉะนั้นแล้วการที่เราจะมาระบุว่ากี่ปีกันแน่นั้น ในความเห็นผมแล้ว ผมว่าไม่น่าจะระบุได้
    ข้อมูลที่นำมาเล่าสู่กันฟังนี้เป็นพุทธพจน์ที่ตรัสจากปากพระโอษฐ์ของพระบรมศาสดา
    ซึ่งเป็นหลักฐานที่พอจะหาได้ในปัจจุบันนี้
    [/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 พฤศจิกายน 2010
  17. Jjfreeman

    Jjfreeman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2010
    โพสต์:
    101
    ค่าพลัง:
    +130
    • กัปแรกในต้นอสงไขยที่ 17 เป็นสารมณฑกัป คือ กัปที่มีพระพุทธเจ้า 4 พระองค์<SUP id=cite_ref-0 class=reference>[1]</SUP>
      1. พระตัณหังกรพุทธเจ้า
      2. พระเมธังกรพุทธเจ้า
      3. พระสรนังกรพุทธเจ้า
      4. พระทีปังกรพุทธเจ้า
    • กัปหนึ่งในอสงไขยที่ 18 เป็นสารกัป คือ กัปที่มีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์
      1. พระโกณฑัญญะพุทธเจ้า
    • กัปหนึ่งในอสงไขยที่ 19 เป็นสารมณฑกัป คือ กัปที่มีพระพุทธเจ้า 4 พระองค์
      1. พระสุมังคละสัมมาสัมพุทธเจ้า
      2. พระสุมนะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      3. พระเรวตะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      4. พระโสภิตะสัมมาสัมพุทธเจ้า
    • กัปหนึ่งในอสงไขยที่ 20 เป็นสารวรกัป คือ กัปที่มีพระพุทธเจ้า 3 พระองค์
      1. สมเด็จพระอโนมทัสสีสัมพุทธเจ้า
      2. สมเด้จพระปทุมะสัมพุทธเจ้า
      3. สมเด็จพระนารทะสัมพุทธเจ้า
    • ช่วงเศษแสนมหากัป ของ อสงไขยปัจจุบัน<SUP id=cite_ref-1 class=reference>[2]</SUP>
      1. กัปหนึ่งมีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์. บางตำราว่าเป็นมัณฑกัป บางตำราก็ว่าเป็นสารกัป.
        1. พระปทุมมุตระพุทธเจ้า
      2. สูญกัป (กัปที่ไม่มีพระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้น) 30,000 กัป
      3. มัณฑกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 2 พระองค์
        1. พระสุเมธสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระสุชาตะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      4. สูญกัป 60,000 กัป
      5. วรกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 3 พระองค์
        1. พระปียทัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระอัตถทัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
        3. พระธรรมทัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
      6. สูญกัป 24 กัป
      7. สารกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์
        1. พระสิทธัตถะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      8. สูญกัป 1 กัป
      9. มัณฑกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 2 พระองค์
        1. พระติสสะสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระมหาปุสสะสัมมาสัมพุทธเจ้า
      10. สารกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์
        1. พระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
      11. สูญกัป 60 กัป
      12. มัณฑกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 2 พระองค์
        1. พระสิขีสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระเวสสภูสัมมาสัมพุทธเจ้า
      13. สูญกัป 30 กัป
      14. กัปปัจจุบัน เป็น ภัทรกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 5 พระองค์
        1. พระกกุสันธะสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระโกนาคมสัมมาสัมพุทธเจ้า
        3. พระกัสสปะสัมมาสัมพุทธเจ้า
        4. พระศรีศากยมุนีโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้า (พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน 80 ปีก่อนพุทธกาล)
        5. พระศรีอริยเมตไตรยสัมพุทธเจ้า (อนาคต พุทธศักราช 5,000 เป็นต้นไป)
      15. สูญกัป 1 อสงไขย
      16. มัณฑกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 2 พระองค์
        1. พระรามะสัมมาสัมพุทธเจ้า
        2. พระธรรมราชาสัมพุทธเจ้า
      17. สารกัป คือ มีพระพุทธเจ้า 1 พระองค์
        1. พระธรรมสามีสัมมาสัมพุทธเจ้า
    อ้างอิง

    **** แล้วความหมายของ สูญกัปป์ คือ กัปป์ที่ไม่มีพระพุทธเจ้ามาบังเกิด บ้างบอก 60000 กัปป์ 30000 กัปป์ 60 กัปป์ 1 กัปป์ ก็มี แต่ทำไมตอนมีพระพุทธเจ้ามาบังเกิดกับไม่ได้บอกว่ากัปป์ของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ที่เป็นตัวเลขเลย ในทางกลับกัน พอไม่มีพระพุทธเจ้ามาบังเกิดกลับสามารถบอกจำนวนตัวเลขได้ แล้วเขาวัดกันที่ใหน เอาอะไรมาเป็นตัววัด ***

    .........................................................................................................


    อ้างอิง

    หลุมลึก 1 โยชน์ ยาว 1 โยชน์ กว้าง 1 โยชน์
    100 ปีมีคนหรือนกเอาเม็ดถั่วเขียวไปวาง 1 เม็ด

    เมื่อถั่วเขียวเต็มหลุมเป็นพื้นปฐพีเดียวกับแผ่นดินเรียกว่าอายุ 1 กัลป์

    กับอีกข้อความหนึ่ง ที่บอกความหมายของกัปป์ แยกออกมาได้ดังนี้

    *** 1 โยชน์ = 16 กิโลเมตร
    ถั่วเขียว 1 เม็ด ถ้าคราวๆก็จะมีขนาดประมาณ 4x4 มิลลิเมตร ***

    *** 1 กิโมตร = 1000 เมตร
    10 กิโลเมตร = 10000 เมตร
    1 เมตร = 100 เซ็นติเมตร
    10000 เมตร = 1000000 เซ็นติเมตร
    1 เซ็นติเมตร = 10 มิลลิเมตร
    10000000 เซ็นติเมตร = 10000000 มิลิเมตร
    16 กิโลเมตร ก็เท่ากับ 16x10000000 = 1600000000 มิลลิเมตร


    ...... เราจะได้เหมื่อนกล่อง1 ใบ ที่มี ความกว้าง 1600000000 มิลลิเมตร ยาว 1600000000 มิลลิเมตร ลึกอีก 1600000000 มิลิเมตร .......

    เราเอาถั่วเขียวมาวางที่ละเม็ด(4x4)จนเต็ม 1 ชั้น ก็เท่ากับ 1600000000/4 = 400000000 เม็ด แต่ถ้า 100ปี เอามาวาง 1 เม็ด เราจะได้ 400000000x100 = 40000000000 ปี แต่กล่องใบนี้มีความลึกเหมื่อนกันคือ 400000000 ชั้น หากเราจะวางเม็ดถั่วเขียวจนเต็ม เราก็ต้องเอา 40000000000x400000000 = 160000000000000000 ปี

    ** ถ้างั้น 1 กัปป์ ก็เท่ากับ 160000000000000000 ปี **




    เป็นความคิดความสงสัยส่วนตัว ผิดถูกขออภัย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 9 พฤศจิกายน 2010
  18. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    **** แล้วความหมายของ สูญกัปป์ คือ กัปป์ที่ไม่มีพระพุทธเจ้ามาบังเกิด บ้างบอก 60000 กัปป์ 30000 กัปป์ 60 กัปป์ 1 กัปป์ ก็มี แต่ทำไมตอนมีพระพุทธเจ้ามาบังเกิดกับไม่ได้บอกว่ากัปป์ของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ที่เป็นตัวเลขเลย ในทางกลับกัน พอไม่มีพระพุทธเจ้ามาบังเกิดกลับสามารถบอกจำนวนตัวเลขได้ แล้วเขาวัดกันที่ใหน เอาอะไรมาเป็นตัววัด ***<!-- google_ad_section_end -->

    เราก็ไม่ได้รู้จริงนะ แต่ขอตอบตามความเข้าใจนะ
    สูญกัปป์ จะมี เลขต่อท้ายเราเข้าใจว่า เกิดเป็นโลกมีสัตว์มาอาศัย(แต่ไม่มีมรรคผล ไม่มี
    พระพุทธเจ้าบังเกิด) เกิดแล้วแตกทำลายดับไป ตามตัวเลขที่บอกต่อท้ายเช่น สูญกัป
    60,000 กัป มีโลกและสิ่งมีชีวิตเกิดและแตกทำลายดับสูญไป 60000 รอบ(กัป)
    แต่กรณีที่เป็นกัปป์ที่มีพระพุทธเจ้ามาบังเกิด จะไม่มีตัวเลขต่อท้าย เพราะถือเป็น 1 รอบ
    (กัปป์) เกิดและแตกทำลายดับสูญไป 1 รอบ อย่างกัปป์ปัจจุบันนี้ ได้ชื่อว่าภัทรกัปป์ คือ 1
    รอบกัปป์นี้จะมีพระพุทธเจ้ามาบังเกิด 5 พระองค์ ตอนนี้อุบัติไปแล้ว 4 พระองค์ ดังนั้น
    ยังไม่ครบ 5 พระองค์ กัปป์นี้ก็ยังคงอยู่ต่อไปจนกว่าจะมีพระพุทธเจ้ามาอุบัติอีก 1 พระองค์
    เมื่อครบแล้วโลกและสิ่งมีชีวิต ก็จะถูกทำลายไป ตามตำราเขาว่าจะเกิดพระอาทิตย์ 7 ดวง
    แล้วโลกก็จะแห้งเหือดไปเหลือเพียงของเหลวคล้ายเนยใส แล้วก็ค่อยวนไปเกิดเป็นโลก
    ใหม่ วนเวียนไปตามวัฏจักร
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 พฤศจิกายน 2010
  19. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    อันนี้ไปอ่านเจอมา เขาก็เก็บข้อมูลได้ละเอียดดี นะ แต่ไม่ได้อ้างตำราที่มา
    ก็ใช้วิจารณญาณในการอ่านละกัน ถ้าสงสัย ก็ไปหาอ่านเทียบกับพระไตรปิฎกฉบับที่เชื่อถือได้อีกทีนะ

    (แต่ถ้าสงสัยแล้วรู้ว่าสงสัย พอจบ เรียกว่ารู้นิวรณ์ นิวรณ์ดับ อิอิ ภาวนารู้ทันนิวรณ์ของตัวเอง เนาะ
    แต่ถ้ารู้นิวรณ์แล้วนิวรณ์ไม่ดับ จะไปค้นคว้าเพิ่มเพื่อดับนิวรณ์ในใจ ก็แล้วแต่จะสะดวก
    เพราะไปค้นหาอ่านต่อก็ไม่รู้ว่าหายสงสัยได้จริงไหม เพราะเราไม่ได้รู้เอง ไปอ่านความรู้ของคนอื่น
    ก็ไม่รู้ว่าเขารู้ถูกต้องตรงตามจริงไหม มันก็ไม่รู้จะหายสงสัยหรือเปล่าหรืออาจจะค้นอ่านจนหมดแรง
    ก็เลยยอมหายสงสัยไปเองก็ได้หรืออ่านจนเบื่อแล้วก็ไปทำอย่างอื่นที่มีประโยชน์มากกว่า อิอิ )

    ตำนาน เรื่องของ กัป กัลป์ และอสงไขย


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD class=t_msgfont id=postmessage_1837>แก้ไขล่าสุดโดย Firebond เมื่อ 2010-9-13 01:21

    การนับกาลเวลามี ๒ แบบ คือ แบบที่นับเป็นตัวเลข ๑ ๒ ๓ .... เพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ เรียกว่านับเป็นตัวเลขสังขยา คือ ตัวเลขที่นับได้
    ถ้ามากเกินจะนับไหวแล้ว ก็จะเปลี่ยนมานับโดยการอุปมา คือการเปรียบเทียบเอา

    แล้วตัวเลขแค่ไหนล่ะที่นับไม่ได้ เราจะนับกันสูงสุดแค่ไหน
    ตัวเลขที่กำหนดว่าไม่นับแล้ว เลิกนับแบบสังขยากันดีกว่า คือ ๑ ตามด้วย ๐ อีก ๑๔๐ ตัว ซึ่งถือเป็นตัวเลขสูงสุดที่นับกัน ถ้าเกินไปกว่านี้ พระพรหมก็เบือนหน้าหนีแล้ว
    จำนวนที่เกินจาก ๑ ตามด้วย ๐ อีก ๑๔๐ ตัว จึงเรียกว่าเป็นจำนวน อสังขยา หรือ อสงไขยนั่นเอง

    [​IMG]

    กาลเวลาทางพุทธศาสนาที่พบเจอกันบ่อยๆ ก็คือ
    ๑. กัป
    ๒. อสงไขยปี
    ๓. รอบอสงไขย
    [​IMG]
    ๔. อันตรกัป
    ๕. อสงไขยกัป
    ๖. มหากัป
    ๗. อสงไขย
    ๘. พุทธันดร

    คำทั้งหมดนั้นมีความหมายและมีความสัมพันธ์ กันดังนี้ครับ
    1 รอบอสงไขยปี เป็น 1 อันตรกัป
    64 อันตรกัป เป็น 1 อสงไขยกัป
    4 อสงไขยกัป เป็น 1 มหากัป

    กัป
    ในความหมายแรก หมายถึงอายุกัป คือระยะเวลาที่เท่ากับอายุเฉลี่ยของมนุษย์ยุคนั้น ซึ่งผันแปรตั้งแต่ ๑๐ - อสงไขยปี
    สมัยพุทธกาล อายุกัปเท่ากับ ๑๐๐ ปี ที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า ผู้บำเพ็ญอิทธิบาท ๔ สามารถมีอายุอยู่ได้ตลอดกัป ก็หมายถึงมีอายุอยู่ได้ ๑๐๐ ปี นั่นเอง
    และเนื่องจากตอนนี้อยู่ในช่วงอายุขาลง ทุก ๑๐๐ ปี อายุมนุษย์จะลดลง ๑ ปี ปัจจุปัน อายุกัปของเราจึงเหลืออยู่เพียง ๗๕ ปีเท่านั้น
    คำว่ากัป หรือกัปป์ หรือกัปปะ เป็นภาษาบาลี ส่วนภาษาสันสกฤติใช้คำว่า กัลป์ สรุปแล้ว กัป กับ กัลป์ ก็คือตัวเดียวกันนั่นเอง

    อสงไขยปี
    ก็คือ จำนวนปีที่ขึ้นต้นด้วย ๑ ตามด้วย ๐ อีก ๑๔๐ ปีนั่นเอง ตัวเลขนี้เป็นอายุของมนุษย์ยุคสร้างโลก ในยุคแรกๆ มนุษย์นั้น จะมีอายุขัยที่ยืนยาวมาก เมื่อโลกเกิดขึ้นใหม่ พระพรหมที่หมดอายุก็จุติมาอุบัติเป็นสัตว์โลกผู้มีจิตประภัสสร ลอยไปลอยมาในอากาศได้ มีอาหารเป็นทิพย์ มีศีลธรรมดีดุจพระพรหม อายุจึงยืนยาวถึงอสงไขยหนึ่ง

    รอบอสงไขย
    ต่อมามนุษย์เริ่มไปกินง้วนดินเข้า จิตก็เริ่มหยาบ กายก็เริ่มหยาบ กิเลสก็พอกหนา เหาะไม่ได้ กลายเป็นมนุษย์เดินดิน อายุก็ค่อยๆ ลดลง ทุก ๑๐๐ ปี ลดลง ๑ ปี จนเหลือแค่ ๑๐ ปี ยุคนั้นก็เป็นยุคมิคสัญญี มนุษย์ฆ่าฟันกันเหมือนผักปลา ศีลธรรมก็ไม่มี พอฆ่ากันตายเกือบหมดโลก พวกที่เหลือสังเวชใจ เริ่มรักษาศีลกันอีกครั้ง อายุก็ค่อยๆ เพิ่มขึ้น ทุก ๑๐๐ ปี ก็เพิ่มขึ้น ๑ ปี จนกลับไปยืนยาวถึงอสงไขยปีอีกครั้ง
    เวลาทั้งหมดนี้ เรียกว่ารอบอสงไขย
    อันตรกัป
    ก็คือ ๑ รอบอสงไขยนั่นเอง

    อสงไขยกัป
    โลกนี้มีเกิดดับเป็นวัฏจักร รอบหนึ่งใช้เวลาทั้งสิ้น ๒๕๖ อันตรกัป คือ
    ๑ โลกกำลังถูกทำลาย อาจโดนไฟประลัยกัปเผา หรือน้ำประลัยกัปตกกระหน่ำ หรือลมประลัยกัปพัดทำลาย ทุกสรรพสิ่งจะถูกทำลายย่อยยับไม่มีเหลือเลย ทำลายตั้งแต่มหานรกขึ้นไปถึงพรหมอีกหลายชั้น ใช้เวลาทำลายทั้งสิ้น ๖๔ อันตรกัป หรือเรียกว่า ๑ อสงไขยกัป โดยมีชื่อเฉพาะว่า สังวัฏฏอสงไขยกัป
    ๒ จากนั้นทุกอย่างก็ว่างเปล่า มืดมิด ไม่มีอะไรเลย เป็นเวลาอีก ๖๔ อันตรกัป หรือเรียกว่า ๑ อสงไขยกัป โดยมีชื่อเรียกเฉพาะว่า สังวัฏฏฐายีอสงไขยกัป
    ๓ จากนั้นโลกก็จะเริ่มก่อตัวขึ้นมาใหม่ มีผืนน้ำ มีแผ่นดิน รวมเวลาอีก ๖๔ อันตรกัป หรือเรียกว่า ๑ อสงไขยกัป โดยมีชื่อเรียกเฉพาะว่า วิวัฏฏอสงไขยกัป
    ๔ จากนั้นโลกจึงมนุษย์และสัตว์อาศัยอยู่ได้ เป็นเวลาอีก ๖๔ อันตรกัป หรือเรียกว่า ๑ อสงไขยกัป โดยมีชื่อเรียกเฉพาะว่า วิวัฏฏฐายีอสงไขยกัป

    มหากัป
    คือเวลา 1 รอบวัฏจักรการแตกดับของโลก หรือเท่ากับ ๒๕๖ อันตรกัป
    ๑ มหากัป อุปมาว่ามีพื้นที่ขนาดกว้าง ๑ โยชน์ ยาว ๑ โยชน์ สูง ๑ โยชน์ บรรจุเมล็ดพันธุ์ผักกาดไว้เต็ม ทุก ๑๐๐ ปีก็มาหยิบเมล็ดผักกาดออกเมล็ดหนึ่ง แม้จะหยิบเมล็ดผักกาดออกหมดแล้วก็ยังไม่นานเท่า ๑ มหากัป
    คำว่ามหากัป มักเรียกสั้นๆ ว่า กัป

    อสงไขย
    คงเคยได้ยินคำว่า ๔ อสงไขยกำไรแสนกัป คำว่าอสงไขยในที่นี้หมายถึงระยะยาวนานมาก นับเป็นจำนวนกัปแล้วยังนับไม่ได้ คือจำนวนกัปมากกว่า ๑ ตามด้วย ๐ อีก ๑๔๐ ตัวเสียอีก
    ๔ อสงไขยกำไรแสนกัป ก็คือระยะเวลาที่พระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีในช่วงปรมัตถ์ ก่อนจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน

    พุทธันดร
    คือระยะเวลาตั้งแต่พระพุทธเจ้าองค์หนึ่งตรัสรู้ จนกระทั่งถึงพระพุทธเจ้าองค์ต่อปมาตรัสรู้ เรียกว่า ๑ พุทธันดร
    พุทธันดรของพระพุทธเจ้าแต่ละองค์ยาวไม่เท่ากัน ตัวอย่างเช่น ปัจจุบันเราอยู่ในอันตรกัปของพระสมณโคดมพุทธเจ้า และพระศรีอาริยเมตไตรยจะมาตรัสรู้ในอันตรกัปถัดมา จากนั้นไม่มีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้เลยนานถึงอสงไขยหนึ่ง
    ดังนั้น ๑ พุทธันดรของพระสมณโคดมพุทธเจ้าจึงยาวนานแค่ ๑ อันตรกัป ส่วน ๑ พุทธันดรของพระศรีอาริยเมตไตรยยาวนานถึงอสงไขยหนึ่ง


    ชั่วกัปชั่วกัลล์ทางศาสนาพราหมณ์เขามีทฤษฎีไว้อย่างงี้ครับ

    ศาสนาพราหมณ์กำหนดยุคของโลกไว้ ๔ ยุค แต่ละยุคมีเวลาซึ่งเรียกว่า สนธยา และ สนธยางศะ ยุคทั้ง ๔ มีดังนี้

    ๑)กฤตยุค ๔,๐๐๐ ปีสวรรค์
    สนธยา ๔๐๐ ปีสวรรค์
    สนธยางศ์ ๔๐๐ ปีสวรรค์
    รวม ๔,๘๐๐ ปีสวรรค์

    ๒)ไตรดายุค ๓,๐๐๐ ปีสวรรค์
    สนธยา ๓๐๐ ปีสวรรค์
    สนธยางศ์ ๓๐๐ ปีสวรรค์
    รวม ๓,๖๐๐ ปีสวรรค์

    ๓)ทวาปรยุค ๒,๐๐๐ ปีสวรรค์
    สนธยา ๒๐๐ ปีสวรรค์
    สนธยางศ์ ๒๐๐ ปีสวรรค์
    รวม ๒,๔๐๐ ปีสวรรค์

    ๔)กลียุค ๑,๐๐๐ ปีสวรรค์
    สนธยา ๑๐๐ ปีสวรรค์
    สนธยางศ์ ๑๐๐ ปีสวรรค์
    รวม ๑,๒๐๐ ปีสวรรค์
    เมื่อคิดเป็นปีมนุษย์ ๑ ปีมนุษย์เท่ากับ ๑ วันสวรรค์ นับทางจันทรคติ ๑ ปีมี ๓๖๐ วัน ดังนั้น

    กฤตยุค มี ๔,๘๐๐ ปีสวรรค์ เท่ากับ ๑,๗๒๘,๐๐๐ ปีมนุษย์
    ไตรดายุค มี ๓,๖๐๐ ปีสวรรค์ เท่ากับ ๑,๒๙๖,๐๐๐ ปีมนุษย์
    ทวาปรยุค มี ๒,๔๐๐ ปีสวรรค์ เท่ากับ ๘๖๔,๐๐๐ ปีมนุษย์
    กลียุค มี ๑,๒๐๐ ปีสวรรค์ เท่ากับ ๔๓๒,๐๐๐ ปีมนุษย์

    สี่ยุครวมกันได้ ๑๒,๐๐๐ ปีสวรรค์ หรือ ๔,๓๒๐,๐๐๐ ปีมนุษย์ เรียกว่า ๑ มหายุค

    ๑,๐๐๐ มหายุค เท่ากับ ๑ วัน ๑ คืน ของพระพรหม ซึ่งพราหมณ์เรียกว่า ๑ กัลป์ หรือ ๑ กัป

    ส่วนไตรภูมิพระร่วงบอกว่าให้นับจาก ๑ มหากัปคือระยะเวลาระหว่างที่โลกธาตุหรือสกลจักรวาลเกิดและแตกดับไปคราวหนึ่งๆ ๑มหากัปนี่แบ่งเป็น ๔ อสงไขย

    อลงไขยที่ ๑ คือระยะเวลาที่โลกถึงแก่ประลัยเพราะไฟน้ำลมมาล้างให้หมดสิ้น

    อสงไขยที่ ๒ คือระยะเวลาที่โลกธาตุทั้งหลายพินาศแล้ว ยังมีแต่ความว่างเปล่าอยู่

    อสงไขยที่ ๓ เป็นระยะเวลาที่โลกธาตุเกิดใหม่

    อสงไขยที่ ๔ คือระยะเวลาที่โลกธาตุมีขึ้นจนกว่าจะถึงกาลประลัยอีก

    เวลาของ๑ มหากัป โบราณท่านอุปมาไว้ว่า ภูเขาลูกหนึ่งสูงได้โยชน์หนึ่งวัดโดยรอบได้ ๓ โยชน์ถึงร้อยปีเอาผ้าทิพย์อ่อนบางดังคววันมากวาดภูเขานั้นแต่ละคาบเมื่อใดภูเขานั้นราบดังแผ่นดินจึงเรียกว่า ๑ มหากัป
    สำหรับไตรภูมิพระร่วงยังแบ่งมหากัปออกเป็น
    สุญกัป คือกัปว่างที่ไม่มีพระพุทธเจ้ามาตรัส และ

    อสุญกัป หรือเรียกอีกอย่างนึงว่า พุทธกัป คือกัปที่มีพระพุทธเจ้ามาตรัส

    หรือกัปที่ไม่สูญจากพระพุทธเจ้า อีกทั้งยังรวมถึง การที่จะมีพระปัจเจกพระพุทธเจ้า พระอริยบุคคล และพระจักรพรรดิ จะได้มาอุบัติในมหากัปดังกล่าวนี้ด้วย
    ในทางตรงกันข้าม สุญกัปคือ กัปที่ไม่มีบุคคลผู้วิเศษเหล่านี้เลย

    หากพูดถึงเรื่องอสุญกัปแล้ว ไม่กล่าวถึงเรื่องต่อไปนี้คงจะไม่ครบถ้วนกระบวนความนะครับ
    ในบรรดาอสุญกัปนั้น คือกัปที่มีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้ ยังมีชื่อเรียกตามจำนวนสมเด็จพระพุทธเจ้าที่เสด็จมาตรัสรู้อีก ดังต่อไปนี้
    1. สารกัป อสุญกัปใดที่มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาตรัสรู้เพียง 1 พระองค์ อสุญกัปนั้นเรียกว่า สารกัป
    2. มัณณฑกัป อสุญกัปใดที่มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาตรัสรู้เพียง 2 พระองค์ อสุญกัปนั้นเรียกว่า มัณฑกัป
    3. วรกัป อสุญกัปใดที่มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาตรัสรู้เพียง 3 พระองค์ อสุญกัปนั้นเรียกว่า วรกัป
    4. สารมัณฑกัป อสุญกัปใดที่มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาตรัสรู้เพียง 4 พระองค์ อสุญกัปนั้นเรียกว่า สารมัณฑกัป
    5. ภัทรกัป อสุญกัปใดที่มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาตรัสรู้ 5 พระองค์ อสุญกัปนั้นเรียกว่า ภัทรกัป
    ในกัป ประเภทสุดท้ายนี้ เป็นกัปที่ประเสริฐที่สุด คือมี พระพุทธเจ้าเสด็จมาตรัส มากที่สุด ด้วยเหตุนี้ เหล่าสัตว์โลก คือ มนุษย์และเทวดาอินทร์ พรหม ผู้ที่มีจิตเป็นกุศลโสภณ ปฏิสนธิด้วยไตรเหตุ ประกอบไปด้วยบุญวาสนาบารมี ย่อมสามารถที่จะกระทำอาสวะกิเลส ให้สูญสิ้นไปจากขันธสัน-ดาน แห่งตนโดยชุกชุม เป็นกัปที่หาได้โดยยากยิ่ง นานแสนนาน จึงจักปรากฏมีในโลกเรานี้สักครั้งหนึ่ง ท่านจึงขนานนามอสุญกัปนี้ว่า ภัทรกัป = กัปที่เจริญที่สุด (เราอยู่ในกัปที่เรียกว่า ภัทรกัป ซึ่งมีพระพุทธองค์ของเราเป็นลำดับที่ 4 ในอนาคตกาลจะมีพระศรีอริยเมตไตยมาบังเกิดเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในลำดับที่ 5 ลำดับสุดท้ายในกัปนี้)

    อายุของเหล่าเทวดา


    เทวดาที่จะพูดถึงนี้คือ เทวดาที่อยู่ในชั้นกามวจรทั้ง 6 ชั้น ต่อไปนี้
    1. สวรรค์ชั้น จาตุมมหาราชิกา มีอายุ 500 ปีสวรรค์
    2. สวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ มีอายุ 1,000 ปีสวรรค์
    3. สวรรค์ชั้น ยามา มีอายุ 2,000 ปีสวรรค์
    4. สวรรค์ชั้น ดุสิต มีอายุ 4,000 ปีสวรรค์
    5. สวรรค์ชั้น นิมมานรดี มีอายุ 8,000 ปีสวรรค์
    6. สวรรค์ชั้น ปรนิมมิตวสวัตตี มีอายุ 16,000 ปีสวรรค์
    ปัญหาต่อไปคือ ใน 1 วันสวรรค์ของ สวรรค์แต่ละชั้น มีระยะเวลาเมื่อเทียบกับระยะเวลาในโลกมนุษย์ไม่เท่ากันดังนี้
    1. 1 วันของสวรรค์ชั้น จาตุมมหาราชิกา เท่ากับ 50 ปีโลกมนุษย์
    2. 1 วันของสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ เท่ากับ 100 ปีโลกมนุษย์
    3. 1 วันของสวรรค์ชั้น ยามา เท่ากับ 200 ปีโลกมนุษย์
    4. 1 วันของสวรรค์ชั้น ดุสิต เท่ากับ 400 ปีโลกมนุษย์
    5. 1 วันของสวรรค์ชั้น นิมมานรดี เท่ากับ 800 ปีโลกมนุษย์
    6. 1 วันของสวรรค์ชั้น ปรนิมมิตวสวัตตี เท่ากับ 1,600 ปีโลกมนุษย์
    เพราะฉะนั้น อายุของเทวดาในสวรรค์ชั้นต่างๆ ถ้าจะเทียบกับเวลาในมนุษย์จะได้ดังนี้
    1. ชั้น จาตุมมหาราชิกา เท่ากับ 9 ล้านปีมนุษย์ (500 ปีสวรรค์ * 12 เดือน * 30 วัน * 50ปีมนุษย์ )
    2. ชั้น ดาวดึงส์ เท่ากับ 36 ล้านปีมนุษย์ (1,000 ปีสวรรค์ * 12 เดือน * 30 วัน * 100ปีมนุษย์ )
    3. ชั้นยามา เท่ากับ 144 ล้านปีมนุษย์ (2,000 ปีสวรรค์ * 12 เดือน * 30 วัน * 200ปีมนุษย์ )
    4. ชั้น ดุสิต เท่ากับ 576 ล้านปีมนุษย์ (4,000 ปีสวรรค์ * 12 เดือน * 30 วัน * 400ปีมนุษย์ )
    5. ชั้น นิมมานรดี เท่ากับ 2,304 ล้านปีมนุษย์ (8,000 ปีสวรรค์ * 12 เดือน * 30 วัน * 800ปีมนุษย์ )
    6. ชั้น ปรนิมมิตวสวัตตี เท่ากับ 9,216 ล้านปีมนุษย์ (16,000 ปีสวรรค์ * 12 เดือน * 30 วัน * 1,600ปีมนุษย์ )

    ตำนาน เรื่องของ กัป กัลป์ และอสงไขย - ตำนาน เรื่องเล่า เรื่องหลอน - Masook Board! มาสุข One piece Naruto Bleach AirGEAR Anime Ma



    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 พฤศจิกายน 2010
  20. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    889
    ค่าพลัง:
    +3,876
    มธุรัตถวิลาสินี กถาปรารภคัมภีร์ (๑)

    <!-- /firstHeading --><!-- bodyContent --><!-- tagline -->จาก วิกิซอร์ซ
    <!-- /tagline --><!-- subtitle -->
    <!-- /subtitle --><!-- jumpto -->ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
    <!-- /jumpto --><!-- bodytext -->มธุรัตถวิลาสินี
    อรรถกถาขุททกนิกาย พุทธวงศ์
    ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
    กถาปรารภคัมภีร์
    ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้า ผู้มีพระญาณ
    อันหาที่สุดมิได้ มีพระกรุณาเป็นที่อาศัย ทรงทำลาย
    มลทิน มีพระหฤทัยมั่นคง อำนวยประโยชน์เกื้อกูล.
    ขอนอบน้อมพระธรรมอันประเสริฐ เครื่องป้อง
    กันภพ.
    ขอนอบน้อมพระสงฆ์ ผู้ปราศจากมลทินและ
    เป็นบ่อเกิดคุณความดี.
    ท่านพระสารีบุตรผู้เป็นธรรมเสนาบดี แม่ทัพ
    ธรรม ผู้เป็นเอตทัคคะ เป็นผู้เลิศกว่าเหล่าพุทธสาวก
    ทางปัญญา ได้ทูลถามพระศาสดาผู้เป็นพระธรรมราชา
    จอมทัพธรรมผู้ทรงถึงฝั่ง ที่หาขอบเขตมิได้ ผู้ไร้มลทิน
    ถึงพุทธวงศ์ใด ท่ามกลางหมู่พระประยูรญาติ. พุทธ-
    วงศ์ใด อันพระตถาคต วงศ์ผู้ตรัสรู้ดี วงศ์พระผู้บริ-
    สุทธิ์ดี ผู้มีสมาธิเป็นธรรมเครื่องอยู่ ผู้เป็นนายกพิเศษ
    ทรงเปิดโอกาสประกาศไว้แล้ว ณ ท่ามกลางหมู่พระ
    ประยูรญาตินี้.
    เหล่าโอรสพระสุคต ไม่ทำลำดับบาลี และอรรถ
    แห่งบาลีให้เสื่อมเสีย ช่วยกันรวบรวมตามที่ศึกษาสดับ
    ฟังสืบต่อเรื่องกันมา จนตราบเท่าปัจจุบันนี้.
    เพราะเหตุที่การพรรณนาพุทธวงศ์นั้นนั่นแล อัน
    ไม่ขาดสายแห่งพระสัมพุทธะผู้ประเสริฐ ซึ่งเป็นเรื่อง
    ไม่ตาย ฟังกันได้ให้เกิดความเลื่อมใสและปัญญา แก่
    ชนทั้งหลายทุกเมื่อ เป็นไปตามลำดับ. ฉะนั้น ข้าพเจ้า
    อันท่านพุทธสีหะ ผู้ยินดีในพระสัทธรรมโดยเคารพ
    อันคุณมีศีลเป็นต้นบันดาลใจ อ้อนวอนแล้วจึงจักเริ่ม
    พรรณนาพุทธวงศ์นั้น เพื่อกำจัดความชั่วร้าย ของชน
    ทั้งหลายทุกเมื่อ เพื่อความตั้งมั่น แห่งพระพุทธศาสนา
    เพื่อความเกิดและเจริญแห่งบุญ แม้ของข้าพเจ้าเอง
    และเพื่อยังมหาชนให้เลื่อมใส.
    ก็การพรรณนาพุทธวงศ์โดยสังเขปนี้ อาศัยทาง
    บาลีที่มาจากสำนักมหาวิหาร ละโทษคือการปะปนกัน
    เสีย จักเป็นสาระ. แต่เพราะเหตุที่ในที่นี้ ไม่มีเรื่องที่
    ควรฟัง ที่จะเป็นเครื่องยังผู้ยินดีในพระพุทธคุณให้
    เลื่อมใส เป็นเครื่องลอยบาป ซึ่งเป็นมลทินใหญ่ นอก
    จากเรื่องพุทธวงศ์ ฉะนั้นแล ขอท่านทั้งหลายจงเป็น
    ผู้ประกอบอยู่ในสมาธิโดยเคารพ ละความฟุ้งซ่าน ไม่
    มีจิตเป็นอื่น จงตั้งโสตประสาทดังภาชนะทองรองรับ
    สดับมธุรสของข้าพเจ้า ผู้กำลังกล่าวพรรณนา.
    ก็กถาพรรณนาพุทธวงศ์ ควรที่จะมัจจะคนที่
    ต้องตาย เป็นผู้รู้จะต้องละกิจอื่นเสียให้หมดแล้ว ฟัง
    ก็ดี กล่าวก็ดี ในที่นี้ได้ตลอดกาลเป็นนิจ โดยเคารพ
    ด้วยว่ากถานี้ แต่งได้แสนยากแล.
    ควรกำหนดพุทธวงศ์ก่อน เพราะในคาถาปรารภนั้น ข้าพเจ้ากล่าว
    ไว้ว่า กถาพรรณนาพุทธวงศ์ จักเป็นสาระดังนี้ ก็การกำหนดในพุทธวงศ์นั้น
    มีดังนี้ การกล่าวประเพณีอย่างพิศดาร โดยปริเฉทมีกัปปปริเฉทเป็นต้น อันเกิด
    ขึ้น แต่พระพุทธเจ้า ๒๕ พระองค์ ซึ่งเสด็จอุบัติใน ๔ อสงไขยกำไรแสน
    กัป นับถอยหลังแต่กัปนี้ไป พึงทราบว่า ชื่อว่า พุทธวงศ์.

    คุณเจ้าของกระทู้ครับมีแต่ท่านผู้รจนาคัมภีร์ถึงตอบคำถามท่านได้ครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...