พระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุพ่อแม่ครูบาอาจารย์ พระเกศา ตามกาลเวลา

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย bigbanggd, 2 มีนาคม 2009.

  1. bigbanggd

    bigbanggd เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2009
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +161
    [​IMG]


    ณ. ปัจจุบันมีหลายท่านต้องการรู้ต้องการศึกษาเรื่อง "พระธาตุ"แต่สิ่งหนึ่งที่ทุกท่านลืมไปคือ "กาลเวลา"กาลเวลาหรือเวลามีส่วนสําคัญและองค์ประกอบสําคัญของการแปรสภาพไม่ว่าจะเป็นเส้นพระเกศา หรือพระธาตุ อัฐิธาตุ ก็เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เช่นเส้นพระเกศาไดรับมอบมาเมื่อ 20 ปีที่แล้วเส้นพระเกสาก็จะเริ่มออกแดงหรือเหลืองนับเป็นปัจจัยสําคัญในการศึกษา ในเรื่องของพระธาตุ เพื่อเป็นความรุ้แก่ท่านผู้ศรัทธา กระผมและพี่ท่านหนึ่งมีความคิดว่าควรจะนำเรื่อง กาลเวลา เกี่ยวกับพระธาตุ มาให้ทุกท่านนได้รุ้เห็นตามความเป็นจริงของกฎธรรมชาติทุกอย่างย่อมมีการเสื่อมสลาย ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและเพื่อเป็นข้อพิสูจณ์และหลักฐานยืนยันเกี่ยวพระธาตุตามอายุ ตาม/กาลเวลา กระนั้นก็ยังไม่เป็นแก่นสาระสำคัญ สิ่งสำคัญ คือ ธรรมะของท่าน เพื่อเป็นสาระแก่ท่านผู้อ่านทางกระผมจะนำประวัติพ่อแม่ครูบาอาจารย์เพื่อให้เห็น "สัขเลขปฏิปทา" "ปฏิปทาแห่งการพ้นทุกข์" ดังนั้นผู้อ่านจะได้รับความรุ้ทั้งเรื่องกาลเวลาและประวัติพ่อแม่ครูบาอจารย์มาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน และนำมาสู่ถึงการพ้นทกุข์ ที่ท่านต้องการ "นิพพานัง ปรมัง สุขัง" "นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง"


    ด้วยความปราถนาดี

    bigbanggb
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 มีนาคม 2009
  2. bigbanggd

    bigbanggd เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2009
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +161
    [​IMG]


    เส้นเกศาครูบาศรีวิชัย สิริวิชโย

    เส้นพระเกศาครูบาเจ้าเนื่องจากมีอายุมากกว่า 60 ปี เส้นเกศาจะออกสีแดงหรือสีน้ำผึ้งส่วนสีขาวจะเริ่มออกสีเหลือง ประกอบด้วยเนื่องจากท่านไม่ค่อยฉันท์อาหารเส้นเกศาจึงบางเส้นเกศาครูบาเจ้าจะสั้นเพราะพระล้านนาจะโกนผมสองครั้งต่อเดือน


    [​IMG]

    ประวัติครูบาเจ้าศรีวิชัย
    ครูบาเจ้าศรีวิชัย ได้ถือกำเนิดเมื่อวันอังคาร ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 9 (เหนือ) เดือนมิถุนายน 2421 ณ บ้านปาง ตำบลเม่ตืน อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน บิดาชื่อ พ่อควาย มารดาชื่อ แม่อุสา
    ในคืนที่ท่านที่ถือกำเนิดได้เกิดเหตุอัศจรรย์ คือฝนได้ตกกระหน่ำลงมาอย่างหนัก ฟ้าแลบฟ้าร้องสนั่นหวั่นไหว สาเหตุดังกล่าวบิดามารดาจึงตั้งชื่อว่า อ้ายฟ้าร้องหรืออินตาเฟือน (อินทร์ไหว) ท่านเติบโตท่ามกลางความยากจน แต่มีอุปนิสัยเมตตากรุณาต่อสัตว์ทั้งปวงละเว้นการเบียดเบียน ไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตตั้งแต่เด็กและมีกริยามารยาทเรียบร้อย วาจาไพเราะสำรวมในการพูด ท่านบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดบ้านปาง เมื่ออายุ 18 ปี มีครูบาขัตติยะ วัดบ้านปางเป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อเป็นสามเณร ท่านตั้งใจศึกษาเล่าเรียนสิกขาบท พระวินัย อักขระ ภาษาลานนา(ภาษาคำเมือง) สามเณรฟ้าร้องตั้งใจศึกษาด้วยความเป็นผู้มีปฎิภาณเฉลียวฉลาดมีความจำดี จึงสามารถเล่าเรียนสำเร็จรอบรู้เข้าใจในวิชาการต่างๆได้เป็นอย่างดี
    อุปสมบท
    เมื่ออายุสามเณรฟ้าร้องได้ 21 ปี ครูบาขัติยะได้จัดให้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ โดยมีครูบาสุมโน วัดบ้านโฮ่งหลวง เป็นพระอุปัชฌาย์ ฉายา สิริวิชยฺโย เมื่อเป็นพระภิกษุท่านพยายามศึกษาและให้ความสนใจในการปฏิบัติธรรม จากการศึกษาเล่าเรียนจากครูบาขัติยะ แล้วท่านได้กราบลาท่านอาจารย์ไปศึกาต่อกับท่านครูบาอุปปาละ วัดพระธาตุดอยแต อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน พระศรีวิชัยไปกราบเป็นศิษย์ครูบาอุปปาละแล้วได้ตั้งใจศึกษาการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฎฐานสมถะกัมมัฎฐาน 40 กอง คัมภีร์วิสุทธิมรรค เมื่อศึกษาจนเข้าใจได้กลับมาวัดบ้านปางไม่นาน ครูบาขัติยะได้อาพาธและมรณภาพลง ท่านครูบาศรีวิชัยจึงได้ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดต่อ ด้วยความที่ท่านครูบาชอบความสงบวิเวกท่านจึงได้ย้ายจากวัดบ้านปางเดิม ขึ้นไปสร้างวัดขึ้นใหม่ บนดอยบ้านปาง (วัดบ้านปางในปัจจุบัน) ด้วยการปฏิบัติอย่างเคร่งครัดไม่ย่อท้อ ความเป็นผู้มักน้อย สันโดษ ความมีเมตตากรุณาเต็มเปี่ยม ศรัทธาชาวบ้านจึงบังเกิดจิตศรัทธาในครูบาเจ้าศรีวิชัยตั้งแต่ บัดนั้นเป็นต้นมา
    จากการมีผู้เคารพนับถือครูบาเจ้าศรีวิชัยเป็นจำนวนมาก ได้นำมาลูกหลานมาขอบวชเพื่อศึกษาธรรมะกับครูบาเจ้าศรีวิชัย ครูบาเจ้าจึงทำหนังสือแจ้งกับเจ้าคณะอำเภอขออนุญาตแต่ไม่มีการตอบกลับ ครูบาเจ้าศรีวิชัยจึงได้ตัดสินใจบวชให้กุลบุตรเหล่านั้น วัดบ้านปางจึงเป็นศูนย์รวมพระเณรฆราวาสมากมาย
    ทางเจ้าคณะอำเภอจึงตั้งข้อหา โดยกล่าวหาว่าครูบาเจ้าศรีวิชัยมีความผิดต้องอธิกรณ์สาเหตุมาจากการที่ครูบาเจ้าบวชพระภิกษุสามเณรไม่ถูกต้องเพราะครูบาไม่ใช่พระอุปัชฌาย์ และใช้เจ้าหน้าที่ตำรวจคุมตัวท่านครูบาไปที่วัดเจ้าคณะอำเภอลี้และส่งตัวท่านครูบาเจ้าศรีวิชัยให้เจ้าคณะจังหวัดลำพูนในสมัยนั้น คือ พระครูญาณมงคล (ครูบาธรรมปัญญา) ได้สอบปากคำครูบาเจ้าศรีวิชัยได้ตอบว่าได้ส่วหนังสือขออนุญาตไปแล้วแต่เงียบหาย และเวลาพรรษาใกล้เข้ามาทุกที เมื่อเจ้าคณะจังหวัดพระครูญาณมงคลพิจารณาเห็นว่า ท่านครูบาศรีวิชัยมีเจตนาบริสุทธิ์จึงให้ครูบาเจ้าพ้นข้อกล่าวหา ครูบาเจ้าจึงเดินทางกลับวัดบ้านปาง ส่วนชาวบ้านชาวเมืองต่างยิ่งพากันเลื่อมใสศรัทธาตัวครูบาเจ้าศรีวิชัยมากยิ่งขึ้น
    ต้องอธิกรณ์ ครั้ง 2
    คณะสงฆ์เจ้าคณะอำเภอ มีคำสั่งด่วนให้เจ้าอาวาสทุกวัดเข้าประชุมมีเจ้าอาวาสหลายวัดไม่ไปร่วมประชุม รวมทั้งครูบาเจ้าศรีวิชัยด้วย เจ้าคณะอำเภอเลยหาความใส่โทษตั้งข้อกล่าวหาว่า ครูบาเจ้าศรีวิชัยไม่สนใจต่อการปกครองของคณะสงฆ์และได้คุมตัวครูบาศรีวิชัยนำส่งเจ้าคณะจังหวัดลำพูน เพื่อสอบสวนปากคำครูบาเจ้า ท่านได้แก้ข้ออธิกรณ์ดังนี้ว่า ในเมื่อเจ้าคณะอำเภอยังไม่ตอบรับหนังสือแต่งตั้งความเป็นเจ้าอาวาสและพระอุปัชฌาย์ของท่านครูบาเจ้าศรีวิชัย เพราะฉะนั้นท่านครูบาเจ้าศรีวิชัย จึงไม่อยู่ในฐานะเจ้าอาวาสที่สมบูรณ์ จึงไม่ไปร่วมประชุม เมื่อแก้ข้อกล่าวหา ท่านพระครูญาณมงคล ท่านเป็นพระที่มีความเมตตารุณา เห็นว่าครูบาเจ้าศรีวิชัยไม่มีความผิด ท่านครูบาเจ้าศรีวิชัยจึงพ้นความผิดเป็นครั้งที่ 2 พร้อมทั้งแต่งตั้งท่านครูบาเจ้าศรีวิชัยเป็นเจ้าอาวาสและพระอุปัชฌาย์อย่างถูกต้อง
    ต้องอธิกรณ์ครั้งที่ 3
    เจ้าคณะอำเภอและเจ้าหน้าที่บางกลุ่ม คอยจะหาเรื่องครูบาเจ้าศรีวิชัยอยู่ตลอดเวลา เมื่อมีคำสั่งจากคณะสงฆ์ให้พระเถระในอำเภอลี้ไปร่วมประชุมฟังนโยบายพระราชบัญญัติคณะสงฆ์เพิ่มเติม แต่ท่านครูบาเจ้าศรีวิชัยไม่ได้ไปร่วมประชุม เนื่องด้วยสาเหตุเพราะท่านครูบาทุ่มเทเวลาให้กับการบำเพ็ญเพียรภาวนาอีกทั้งกิจการในวัดมากมายต้องคอยเทศนาอบรม บรรดาพระภิกษุสามเณรและบรรดาประชาชนจำนวนมากอีกทั้งวัดบ้านปางอยู่ห่างจากอำเภอลี้ถึง 40 กิโลเมตร การเดินทางก็ลำบากทุรกันดารจึงไม่ได้ไปร่วมประชุม เจ้าคณะอำเภอจึงได้โอกาสตั้งข้อหากล่าวโทษครูเจ้าทำผิดต่อการปกครองและราชการ ทางจังหวัดได้ส่งตำรวจาควบคุมครูบาเจ้าศรีวิชัยมาเมืองลำพูน เจ้าคณะจังหวัดลำพูนพระญาณมงคล (ฟู ขัดแก้ว) เจ้าคณะจังหวัดองค์ใหม่ตั้งคณะกรรมการสอบสวนและมีมติปลดครูบาเจ้าศรีวิชัยออกจากตำแหน่ง ทุกตำแหน่งและกักขังครูบาเจ้าศรีวิชัยไว้ที่วัดพระธาตุหริภุญชัย 1 ปี ครูบาเจ้าศรีวิชัยจึงพ้นโทษกลับสู่วัดบ้านปางตามเดิม
    ต้องอธิกรณ์ครั้งที่ 4
    เจ้าคณะอำเภอลี้ ในสมัยนั้นมีหนังสือมาถึงให้ครูบาเจ้าศรีวิชัย สำรวจอารามจดบัญชีรายชื่อพระภิกษุสามเณรหัววัดต่างๆในตำบลบ้านปาง ส่งให้เจ้าคณะอำเภอลี้ตามกำหนด เมื่อได้รับหมายแจ้งดังกล่าว ครูบาเจ้าศรีวิชัยได้ตอบว่าท่านถูกปลดจากตำแหน่งเจ้าอาวาสและจ้าคณะหมวด (ตำบล) แล้ว ไม่มีอำนาจที่จะทำได้อคำสั่งแรกผ่านไป คำสั่งที่สอง คราวพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์จักรี เจ้าคณะอำเภอลี้สั่งให้ทุกวัดทุกตำบลในความปกครองจัดทำซุ้มประตู จุดประทีป โคมไฟฉลองสมโภช เมื่อครูบาเจ้าศรีวิชัยได้รับทราบเรื่องแล้ว พิจารณาเห็นว่าวัดบ้านปางเป็นอรัญวาสี วัดป่าวัดดอยไม่สามารถเข้าใจในการตกแต่ง จึงเปลี่ยนจากการตกแต่งจะฉลองสมโภชให้พระเถระในวัดประพฤติธรรมรักษาศีลเจิรญภาวนา สวดมนต์ทุกค่ำเช้า ถวายพระพรแด่พระประมุขของชาติแทน พอพระครูเจ้าคณะอำเภอและนายอำเภอทราบ มีความไม่พอใจจึงตั้งข้อกล่าวหาส่งไปถึงจังหวัด ทางเจ้าคณะจังหวัด (พระครูญาณมงคล) จึงมีหนังสือขับไล่ครูบาเจ้าศรีวิชัยออกจากเขตจังหวัดลำพูนภายใน 15 วัน และห้ามวัดในจังหวัดลำพูนทุกวัดรับครูบาเจ้าศรีวิชัยให้ที่อยู่อาศัยในวัดนั้นโดยเด็ดขาด
    หลังจากรับคำประกาศ ครูบาเจ้าศรีวิชัยไม่สะทกสะท้านหวั่นไหว เพราะท่านไม่ได้ทำผิดพระธรรมวินัย พุทธบัญญัติข้อใด ท่านจึงไม่ปฏิบัติคำสั่งอันไม่เป็นธรรมทางจังหวัดจึงมีหนังสือเชิญตัวครูบาเจ้าเข้าเมืองลำพูน ครูบาเจ้าเดินทางเข้าเมืองลำพูนพร้อมพระภิกษุ สามเณร ศรัทธาประชาชนเป็นจำนวน 1 พันกว่าคน และถูกควบคุมตัวที่วัดพระธาตุหริภุญชัย ประชาชนพอทราบจึงพากันมากราบไหว้ครูบาเจ้ามากขึ้นทุกวัน ทางจังหวัดลำพูนจึงย้ายครูบาเจ้าไปควบคุมกักขัง ณ วัดศรีดอนชัย เป็นเวลา 3 เดือนและส่งตัวครูบาเจ้าศรีวิชัยมายังกรุงเทพฯพร้อมทั้งข้อกล่าวหาที่คณะสงฆ์จังหวัดลำพูนตั้งให้ 8 ข้อคือ
    1. พระครีวิชัย ตั้งตัวเป็นอุปัชฌาย์เถื่อนทำการบวชพระภิกษุสามเณรจำนวนมาก โดยไม่ขออนุญาตตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง ร.ศ.121
    2. พระศรีวิชัยไม่ยอมอยู่ใต้บังคับบัญชาของเจ้าคณะแขวงลี้ เจ้าหน้าที่ฝ่ายหัวเมืองลี้ ร่วมกับคณะแขวงเรียกประชุมเจ้าอธิการวัดต่างๆ เพื่อชี้แจงพระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง ร.ศ.121 ปรากฏว่าเจ้าอธิการทุกวัดไปหมดยกเว้นแต่พระศรีวิชัย วัดบ้านปางไม่ไปร่วมประชุม
    3. เมื่อครั้งพิธีบรมราชาภิเษกพระบามสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 เจ้าคณะแขวงลี้ได้ประกาศให้ทุกวัดตามประทีปโคมไฟ ทำซุ้มประตู ตีฆ้อง กลองเป็นการฉลองสมโภช วัดบ้านปางของพระศรีวิชัยไม่ปฏิบัติตาม
    4.เจ้าคณะแขวงลี้คือพระมหารัตนากร ไม่สามารถปกครองวัดในเขตอำเภอลี้ได้เพราะพระศรีวิชัยตั้งตัวเป็นผู้วิเศษชักชวนวัดต่างๆให้ขัดขืนต่อพระราชบัญญัคิ ร.ศ.121 ถึงแม้ว่าขอร้องต่อพระศรีวิชัยแล้ว แต่พระศรีวิชัยไม่ยอมปฏิบัติตาม
    5. เมื่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมืองให้เจ้าคณะแขวงลี้สำรวจจำนวนพระภิกษุสามเณรในวัดเขตอำเภอลี้ทุกวัด แต่วัดบ้านปางของพระศรีวิชัยไม่ยอมปฏิบัติตาม
    6. เจ้าคณะแขวงลี้นัดประชุมเจ้าอธิการวัดในเขตอำเภอลี้ เจ้าอธิการหลายวัดไม่ยอมประชุมโดยอ้างเอาอย่างพระศรีวิชัย
    7. พระศรีวิชัยตั้งตัวเป็นผู้วิเศษ เป็นเทวดามาเกิด มีดาบฝักทองคำ(ดาบสะหรีกัญชัย) ตกลงจากฟ้าสู่แท่นบูชา
    8. เดินท่ามกลางฝนแต่ไม่เปียก เดินสูงกว่าพื้นดิน 1 ศอกและเดินบน ผิวน้ำได้อันเป็นเหตุให้คนลุ่มหลงเป็นจำนวนมาก
    เมื่อท่านครูบาเจ้าถูกนำตัวเข้ากรุงเทพฯได้พักอยู่ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้ทรงแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาชำระคดีของท่านครูบาเจ้า มีกรมหมื่นชินวรสิริวัฒน์ พระญาณวราภรณ์ พระธรรมไตรโลกาจารย์ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาคดีร่วมกัน มีความเห็นว่าพระครูบาเจ้าศรีวิชัยไม่มีความผิด ได้นำเรื่องขึ้นกราบทูลสมเด็จพระสังฆราชเจ้าสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ทรงมีพระวินิจฉัย ดังนี้
    ข้อ 1. พระศรีวิชัยตั้งตัวเป็นอุปัชฌาชย์เอาเอง บวชกุลบุตรไม่มีใบอนุญาต มีความผิดต่อคณะโดยแท้ เจ้าคณะลงโทษกักตัวพระศรีวิชัยไว้ได้อยู่ ส่วนกำหนด 2 ปีนั้นแรงเกินไป คดีเช่นนี้ตามธรรมเนียมที่เป็นมาเราเป็นผู้สั่งลงโทษเอง คดีนี้ ผู้แทนเจ้าคณะใหญ่หนเหนือสั่งตามลำพังตนเองก็ไม่ผิดดอก แต่ถ้าได้ขอคำสั่งของเราการลงโทษจัดเป็นไปตามความพอดี
    ข้อ 2 พระศรีวิชัยไม่อยู่ในความบังคับบัญชาของเจ้าคณะแขวงนั้น มีความผิดเฉพาะข้อที่สมควร เจ้าคณะแขวงจะลงโทษควรยกข้อนั้นขึ้นกล่าว
    ข้อ 3 เจ้าหน้าที่ ฝ่ายอาณาจักรเรียกประชุมสงฆ์เพื่อตักเตือนให้รู้ ระเบียบการคณะสงฆ์และทางราชการ คณะสงฆ์หมู่หนึ่งไม่ไปและไม่ได้แจ้งเหตุขัดข้อง พระศรีวิชัยไม่ไปจะยกเอาเป็นความผิดมิได้
    ข้อ 4 ทางราชการป่าวร้องให้วัดทั้งหลายตามประทีป ตีฆ้อง กลองเป็นกิจอันจะพึงทำด้วยความมีแก่ใจ ทางราชการป่าวร้องก็เพียงนัดให้ทำ ถ้าเป็นการบังคับแล้ว ผิดทางไม่เป็นพระเกียรติยศพระศรีวิชัยไม่ทำตามไม่ควรยกเป็นความผิด
    ข้อ 5 วัดทั้งหลายขัดขืนต่อการปกครองของเจ้าคณะแขวง เจ้าคณะยกเป็นความผิดของพระศรีวิชัยนั้นหาถูกไม่ ชอบแต่จะเอาผิดแก่เจ้าอาวาสทั้งหลายนั่นเอง
    ข้อกล่าวหาทั้ง 5 ดูเป็นไปในต่างคราวกัน เจ้าคณะจักเอาโทษควรจะยกขึ้นว่าในคราวนั้นๆมาประมวลยกขึ้นว่าและลงโทษในคราวเดียวกันอย่างนี้ไม่เป็นหลักฐาน คนทั้งกลายจึงเห็นว่าข่มเหงพระศรีวิชัย อันที่จริงดูความผิดทางนั้นไม่ถนัดอันที่จริง ดูเหมือนระแวงตามที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายอาณาจักรว่า เป็นผีบุญจักยกความผิดทางนั้นไม่ถนัดจึงหยิบยกทางอื่นมาประมวลกันเป็นสาเหตุลงดทษเพื่อจะได้เอาตัวมากักไว้ เท่านั้นเอง พระศรีวิชัยมีคนติดตามมากอย่างนี้ไม่ได้ทำการอันชัดว่าเป็นความผิดทางอาวุธแผ่นดินหรือทางพระศาสนา ยังเอาโทษไม่ได้หรือถูกลงโทษไม่บังควร นอกจากผิดยุติธรรม คนทั้งหลายผู้สงสารย้อมเป็นความดีของเธอและนับถือเธอมากขึ้น ครั้งโบราณกาลเช่นนี้อันเป็นรุนแรงถึงเป็นเหตุตั้งศาสนาขึ้นใหม่ก็ได้เคยมีมาแล้ว
    ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 คณะกรรมการวินิจฉัยว่า พระศรีวิชัยไม่มีความผิด เจ้าคณะลงโทษเกินไปแต่ปล่องให้กลับไปตามลำพัง เข้ากับคณะไม่ได้จักเตร็ดแตร่ ควรจัดส่งขึ้นไป ถ้าควรเป็นเจ้าสำนักก็ควรให้เป็นไปตามเดิม ถ้าไม่ควรก็จงให้มีสังกัด อยู่ในวัดอื่นที่พระศรีวิชัยจะพึงเลือกได้ตามใจ กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน์จงสั่งตามนี้
    เมื่อครูบาเจ้าศรีวิชัยพ้นความผิด ท่านครูบาได้นำดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง เครื่องสัการะเข้าไปกราบสมเด็จพระสังฆราชเจ้าแล้วทูลลากลับ หลังจากที่ท่านครูบาเจ้าศรีวิชัยได้กลับมาวัดพระธาตุหริภุญชัย ความศรัทธาของมหาชนเพิ่มมากขึ้น ครูบาเจ้าได้บูรณะองค์พระธาตุหริภุญชัยและพระวิหารหลวงจนสำเร็จแล้วเดินทางกลับวัดบ้านปาง มีบรรดาภิกษุ สามเณร ศรัทธาประชาชนมากมายหลั่งไหลพากันมากราบครูบาเจ้าเพิ่มขึ้น ครูบาเจ้าศรีวิชัยได้ก่อสร้างพระธาตุวัดบ้านปางจนสำเร็จ
    ความเชื่อมั่น ความเคารพนับถือในตัวครูบาเจ้าศรีวิชัยมีมากมาย ชื่อเสียงได้ขจรขจายไปทั่วมณฑลพายัพ ตลอดจนชาวป่าชาวเขาเผ่าต่างๆให้ความนับถือครูบาเจ้าศรีวิชัย จากนั้นครูบาเจ้าศรีวิชัยได้เป็นประธานในการ่อสร้างบูรณะ ศานวัตถุโบราณสถานที่สำคัญต่างๆ เป็นจำนวนมาก ตามคำอาราธนานิมนต์จากผู้ที่ศรัทธาครูบาเจ้าขอท่านไปนั่งหนัก ผลงานด้านพัฒนาก่อสร้างของครูบาเจ้าศรีวิชัยมีอยู่มากมาย หลายจังหวัดทั่วภาคเหนือ
    ผลงานชิ้นสำคัญอีกประการหนึ่ง คือ การสร้างถนนไปยังบนดอยสุเทพ การสร้างทางขึ้นดอยสุเทพในสมัยนั้น รัฐบาลเคยคิดที่จะสร้างแต่หางบประมาณไม่ได้ เนื่องจากต้อองใช้เงินมหาศาล
    ครูบาเจ้าศรีวิชัยได้เป็นประธานและมีครูบาเถิ้ม วัดแสนฝาง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ มานั่งหนักเป็นประธานร่วมอักท่านหนึ่ง การสร้างทางขึ้นดอยสุเทพ เริ่มในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2477 เวลา 10.00 น. ประชาชนเมื่อทราบข่าวต่างทยอยกันมาช่วยครูบาเจ้าศรีวิชัยสร้างทางครั้งนี้
    ผู้ที่เป็นกำลังสำคัญในการสร้างทาง คือ ครูบาอภิชัยขาวปี ได้นำชาวบ้านชาวเมืองลำพูนและชาวเขานับพันคนมาร่วมงาน พร้อมด้วยพระภิกษุ สามเณร ประชาชนจากจังหวัดต่างๆอีกเป็นจำนวนมาก ก็ด้วยบารมีธรรมของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย การตัดถนนขึ้นดอยสุเทพมีระยะทางความยาวทั้งสิ้น 11 กิโลเมตร ได้สำเร็จลงเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2478 แล้วจัดให้มีการฉลองสมโภชอย่างยิ่งใหญ่ โดยที่ไม่ต้องเสียงบประมาณของรัฐบาลแม้แต่บาทเดียว
    ต้องอธิกรณ์ ครั้งที่ 5
    ตลอดระยะเวลาที่สร้างทาง มีศรัทธานำบุตรหลานไปขอบรรพชาและอุปสมบท ซึ่งครูบาเจ้าศรีวิชัยไม่ขัดศรัทธาและได้บวชให้ครูบาเข้าอภิชัยขาวปี ให้กลับมานุ่งผ้าเหลืองอีกครั้งหนึ่ง ทางคณะสงฆ์จึงกล่าวโทษต่อครูบาเจ้าว่า ครูบาเจ้าไม่อยู่ในความปกครองของคณะสงฆ์ บวชพระบวชเณรโดยไม่ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชณาย์และ เรื่องการตัดไม้ทำลายป่าในการสร้างทาง เมื่อกิริยาของเจ้าคณะพระครูในเชียงใหม่แสดงต่อครูบาศรีวิชัย จึงทำให้เจ้าอาวาสวัด 60 วัดและพระสงฆ์ สามเณรในจังหวัดเชียงใหม่ไปเรียกร้องขอความเป็นธรรม เมื่อเจ้าคณะ พระครูไม่ยอมฟังเสียงเรียกร้องทัดทาน เจ้าอาวาสทั้งหมดและพระภิกษุ สามเณร ทั้งหลายจึงพร้อมใจกันขอลาออกจากการปกครองของคณะสงฆ์ ไม่ขอขึ้นอยู่กับครูบาศรีวิชัย เมื่อถามครูบาเจ้า ตอบว่า ไม่ทราบเรื่องไม่ได้บังคับให้ลาออก เจ้าอาวาสเหล่านั้นลาออกเอง เมื่อเรื่องราวเริ่มวุ่นวาย ครูบาเจ้าศรีวิชัยถูกนิมนต์ไปสอบสวนที่กรุงเทพฯอีกครั้งหนึ่ง
    ในระหว่สงที่ถูกสอบสวนที่เชียงใหม่ มีพระเณร ถูกจับสึกมากมาย แต่ความศรัทธาเลือมใสในครูบาเจ้าศรีวิชัยหาน้อยไปหม่ การสอบสวนเป็นไปตามขั้นตอนใช้เวลา 6 เดือน 17 วัน เมื่อพิจารณาเป็นที่พอใจแล้ว พระครูบาศรีวิชัยพ้นข้อกล่าวหาและอนุญาตให้กลับภูมิลำเนาได้ หลังจากการพิจารณาคดีเสณ็จ คุณหลางศรีประกาศไปเยี่ยมท่านที่กรุงเทพฯ ขอนิมนต์ไปช่วยบูรณะก่อสร้างสิ่งที่ยังไม่เสร็จที่เชียงใหม่ ท่านครูบาเจ้าได้ปฏิเสธและกล่าวอมตะวาจาว่า "ตราบใดที่นำแม่ปิงไม่ไหลล่องขึ้นเหนือจะไม่ขอเหยียบย่างแผ่นดินเมืองเชียงใหม่อีก" ท่านครูบาเจ้าได้กลับมาลำพูนและบูรณะก่อสร้างพระวิหารวัดบ้านปาง แต่ยังไม่ทันเสร็จได้ไปก่อสร้างวัดจามเทวี อ.เมือง จ.ลำพูนจนเสร็จ
    ครูบาเจ้าเกิดอาพาธด้วยโรคริดสีดวงทวาร ได้รักษาตัวที่วัดจามเทวีระยะหนึ่ง แล้วกลับไปรักษษตัวที่วัดบ้านปางต่อ อาการของครูบาเจ้าหนักมา พร้อมทั้งยังมีโรคปอดเข้าแทรก อาการจึงทรุดหนักลงอย่างรวดเร็ว พระครูบาเจ้าศรีวิชัยได้ดับขันธ์ด้วยอาการอันสงบในเวลาเที่ยวคืน 5 นาที ตรงกับวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 สิริรวมอายุ 61 ปี
    คณะศิษย์ได้อาราธราพระศพของครูบาเจ้า ขึ้นสู่ปราสาม 5 ยอดตั้งบำเพ็ญกุศลเก็บรักษาไว้ที่วัดบ้านปาง 2 ปี จึงได้อัญเชิญพระศพของครูบาเจ้าศรีวิชัยมาตึ้งบำเพ็ญกุศลที่วัดจามเทวี เป็นเวลา นานถึง 7 ปี จึงมีกำหนดพระราชทานเพลิงศพในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2489
    พระครูบาศรีวิชัย ได้ชื่อว่าเนนักบุญแห่งลานนาไทยที่ยิ่งใหญ่ มีชื่อเสียงเป็นที่เคารพสักการะทั่วประเทศ ท่านเป็นพระนักปฏิบัติที่เคร่งครัดมีความมักน้อยสันโดษถือความวิเวกสงวัด ท่านได้ออกธุดงค์ไปในที่ต่างๆ เป็นพระนักพัฒนา ก่อสร้างบูรณะวัดวาอาราม โบราณสถานที่ต่างๆ ท่านครูบาเจ้าบำเพ็ญปารมี แม้จะถูกกลั่นแกล้ง กล่าวโทษอยู่หลายครั้ง ท่านก็ไม่หวั่นไหว ตั้วใจบำเพ็ญบุญกุศลโดยไม่ย่อท้อ ความตั้งใจของท่านเพื่อปรารถนาพุทธภูมิเป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งในอนาคต ครูบาเจ้าศรีวิชัยได้วางแนวทางการปฏิบัติเอาไว้ให้บรรดาพระภิกษุ สามเณร ที่เป็นศิษย์ทั้งหลายได้ดำเนินรอยตามด้วย การที่พระครูบาศรีวิชัยได้กระทำคุณงามความดี เพื่อพุทธศาสนาและส่วนรวมมาตลอดชีวิต ท่านครูบาเจ้าจึงเป็นที่เคารพบูชาของประชาชนทั่วประเทศ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน





    ที่มา: หนังสือที่ระลึกในงานไหว้ครูบูรพาจารย์ (เสาร์ห้า) พระประกอบบุญ สิริญาโณ วัดมหาวัน จังหวัดลำพูน
    คําสอนครูบาเจ้า

    "พาลภายนอกย่อมเห็นด้วยตา พาลภายในมองไม่เห็นด้วยตา หากไม่คบหาบัณฑิต นักปราชญ์แล้วที่ไหนจะล่วงรู้ได้ การคบ บัณฑิตนักปราชญ์ คือ หมั่นฟังธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็เพื่อให้รู้ทันพาลภายใน ปุถุชนทั้งหลายพากันเชื่อว่า นามรูป เป็นตัวตน จึงตกอยู่ในอำนาจของมัน จึงบันดาลให้เป็นพาล "

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 มีนาคม 2009
  3. chakapong

    chakapong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    497
    ค่าพลัง:
    +1,305
    อัฐิเกศาครูบาเจ้า

    อัฐเกศาครูบาเจ้า
     
  4. chakapong

    chakapong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    497
    ค่าพลัง:
    +1,305
    อัฐิเกศาครูบาเจ้า

    อัฐิเกศาครูบาเจ้า
     
  5. chakapong

    chakapong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    497
    ค่าพลัง:
    +1,305
    รูป

    รูป
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC02089.JPG
      DSC02089.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.2 MB
      เปิดดู:
      544
  6. ธัมมนัตา

    ธัมมนัตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +9,766
    สาธุ

    ขอกราบบูชาแทบเท้าครูบาศรีวิชัยนักบุญแห่งล้านนาไทย

    อ่านตอนที่ท่านต้องอธิกรณ์แล้วมีแต่เรื่องทางโลกแท้ๆ ท่านไม่ได้ทำผิดวินัยสงฆ์เลย
    เศร้าใจ จริงๆ และเป็นตราบาปของผู้คนที่ทำที่ได้กระทำต่อพระโพธิสัตว์ ซึงมีผลมากกว่ากระทำต่อคนปกติทั่วไป

    บาปกรรมทั้งหลายนั้นส่งผลต่อลูกหลานในยุคถัดมา ควรมีการขอขมาต่อท่านนะครับ
     
  7. bigbanggd

    bigbanggd เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2009
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +161
    [​IMG]

    อัฐิกับความเก่าแก่

    โดย bigbanggd

    สวัสดี.....ครับ ทุกท่าน ไม่ได้เข้าเวปซ่ะนานเลยและไม่ได้อัพเดตกระทู้ปานนึ้คงโดน เพื่อนที่รู้จักชวนมาอ่าน ด่าเอาแน่ อัฐินั้นเป็นเรื่องที่ดูยากพอสมควรเพราะอับินั้นต้องอาสัยประสบการณ์ล้วนๆๆๆไม่ใช่ความเดาเลยแต่ยังไงก็อย่าถือเป้นบรรทัดฐาน เพราะอะไร ไม่มีอะไรขึ้นชื่อว่าดิเลิศมากที่สุดดังนั้น เป็นการสังเกตของบุคคลคนหนึ่งน่ะครับ จากการที่ผมได้รับความเมตตาจากหลายท่าน ได้เคยใด้กราบสักการะอัฐิธาตุพ่อแม่ครูบาอาจารย์ ยุคต้นๆๆ ผลสรุปว่าอัฐิทุกองค์จะไม่เหมือนกระดูกใหม่ๆๆที่พึ่งเผาเลย 'อัฐิจะบางลง จะกรอบ แล้วสีจะเปลี่ยน" เรื่องการเผาก็เหมือนกันคือสมัยโบราณจะไม่เหมือนสมัยใหม่ เรื่องสีนึ้ผมไม่กล้าอธิบายมากเพราะแต่ล่ะทีไม่เหมือนกัน บางที่สีปนเทา บางที่สีน้ำตาลๆ แต่เรื่องสีก็พอมีส่วนช่วยอยู่มาก แต่ยังหาคำอธิบายที่ชัดเจนไม่ได้ แต่เอาเป็นว่าให้ยึดสองอันแรกเป้นหลัก เรื่องนึ้อธิบายยากพอสมควรจะต้องเห็นของจริงไม่ก็ลองเอาเทียบดู เรื่องนึ้สามารถสอบถามเพื่อนผมอีกท่านที่รู้จัก คือ คุณหมอสุมิตร ท่านนึ้ก็เคยเล่าให้ฟังเหมือนกัน ระหว่างอัฐิเก่า อัฐิใหม่ แต่ต้องขอบคุณ คุณหมอคนนึ้มากที่สุดเพราะอะไร หมอช่วยบอกในเรื่องเกศามาก ได้ประสบการณ์จากหมอก็เรื่องนึ้แหละ ครับ คราวหน้าจะขอเขียนเรื่อง พระอรหันตธาตุที่แปรจากอัฐิ แต่สุดท้ายขอฝากว่า "ไม่มีอะไรที่จะดีกว่าคำว่าเชื่อใจและที่มา' แม้ผู้รู้ยังพลาดพลั้ง แม้นักปราชย์ยังมีความพ่ายแพ้ สาธุ........
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 กรกฎาคม 2009
  8. bigbanggd

    bigbanggd เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2009
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +161
    [​IMG]

    พระอรหันตธาตุที่แปรจากอัฐิ

    โดย bigbanggd

    ผมมีเพื่อนท่านหนึ่ง ท่านผู้นึ้เป็นคนบุกเบิกในเรื่องพระอรหันตธาตุสมัยพุทธกาลพอสมควร คนผู้นึ้ก็มีความเกี่ยวข้องกับผมมาก เขาชื่อว่า คุณปราโมช ผมได้เดินทางไปชมรมตามปรกติ เนื่องจากบางครั้งจะนัดคนเก่าๆๆเจอกันที่นั้นเพราะเป็นสถานที่เหมาะกับการสนทนาทางธรรม และภาวนาผมถามคุณปราโมชว่า นี่ ! ปราโมช มีพระอรหันตธาตุที่ยังทรงให้เห็นความเป็นกระดูกหรือมั่ย ? มีครับ คุณปราโมชได้ นำออกมาจากผอบแลกล่าวว่า นี่ไง ครับ ที่ยังทรงความเป็นกระดูก ถาพที่เห็นตอนนั้น เหมือนจะเป็นพระธาตุ เพราะเนื้อกระดูกไม่มีแล้วเหลือแต่ฟองกระดูก ถูกเคลือบไปจนหมดเลย และบางองค์ก็เป้นพระธาตุสมบูรณ์แต่ร่องรอยที่แสดงให้เห็นว่าฟองกระดูกอยุ่อีกนิดหนึ่ง เรื่องนึ้ถามให้ผมนึกถึงอัฐิหลวงปู่มั่นที่วัดป่าสาลวันที่แปรสภาพเป็นพระธาตุ และของ คุณวัน ผู้ที่เก็บอัฐิหลวงปู่มั่นแปรสภาพเป้นพระธาตุคนแรก ก็ยังเหลือให้เห็นว่านี่แปรมาจากกระดูกน่ะ ของคุณแม่เพี้ยะเหมือนกันบางองค์ยังกลายไม่หมดบางองค์ก็เหมือนอรหันตธาตุสมัยพุทธกาล ผมเคยนำกล่องถ่ายรูปถ่ายซูมหลายของพระอริยะเจ้าท่านหนึ่ง ปรากฏว่าภาพที่ข้าพเจ้าเห็น ขุยสีขาวๆๆๆขึ้นเต็มอัฐิธาตุ ที่จริงแล้วแทบจะมองไม่เห็นความเป็นกระดูกแต่มองให้เห็นว่าอัฐิรูปเดิมแต่คล้ายหินอ่อน บางที่ก็แปรหมดเลยไม่เห็สภาพเลย จากพิจารณาบางองค์ก็จะถูกเนื้อพระธาตุกลืนไปเรื่อยจนไม่เหลือเนื้อกระดูก บางองค์มีลักษณะสภาพเดิมแต่คล้ายหินอ่อนหรือเป็นแก้ว เป็นมรกต ไปเลย บางองค์เนื้อพระธาตุกลืนไปเรื่อยๆๆจนเป้นก้อนกลมหรือถูกกลืนเป็นชั้นๆๆๆจนไม่ดำรงให้เห็นเนื้อกระดุก หลายเป็นพระธาตุหลายชั้นให้สักเกต พระธาตุปัจเจกพุทธเจ้า กลายเป็นแก้วไปเลยข้างใน ขางนอก เป้นเนื้อพระธาตุสีขาวๆๆเคลือบไปจนหมด บางที่ใช่เวลาแปรสภาพไม่กี่วัน บางครั้งเป็นปี บางที่ใช่เวลาเกือบชั่วอายุคน ของพวกนึ้ก็อจินไตย แต่ยิ่งนานไปเรื่อยๆๆเราก็จะเห็นความเก่าของพระธาตุได้อย่างชัดเจนขึ้น หรืออาจจะไม่ได้เห็นอะไรเลยเพราะเมื่อแปรจนถึงที่สุดก็จะคงสภาพเดิม

    คราวหน้าจะเขียนเรื่อง พระธาตุที่แปรแล้วลักษณะคล้ายพระบรมสารีริกธาตุ
     
  9. bigbanggd

    bigbanggd เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2009
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +161
    พระธาตุกับครูบาอาจารย์

    พ่อแม่ครูบาอาจารย์ท่านหนึ่งท่านเก่งในเรื่องสมถและวิปัสสนามากคือ ท่านเจ้าคุณพุธ ฐานนิโย ท่านเคยกล่าวกับเพื่อนของผู้เขียนว่า "พระโสดาบันก็เหมือนเข้าไปในประตูบ้านแล้ว" ผู้เขียนมีความเชื่อว่า ท่านที่ทรงคุณธรรมตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไปอัฐิธาตุต้องแปรสภาพอันนึ้เป็นความคิดของผู้เขียนน่ะครับ เพราะผู้ที่เป็นพระโสดาบันท่านก็ทวนกระแสโลกแล้ว แต่ยังไม่ดับซึ่งกิเลศจนไม่มีเชื้อ การภาวนา เจริญปัญญาก็จะไปขัดเกลากระดูกให้ใสขึ้นเรื่อยๆ หลวงปู่บัว สิริปุณโณ ท่านเคยกล่าวในเชิงอุปมาอุปมัยในเรื่องนึ้ว่า "ถ้าเป็นพระอรหันต์ต้องมีกระดูกซักชิ้นที่ต้องเป็นแก้ว แต่อัฐิธาตุของหลวงปู่สีใสจะน้อย จะมีแต่สีขาว เพราะท่านเป็นเกิดเป็นสัตว์มากกว่าเกิดเป็นมนุษย์ แต่หลวงปู่ตื้อจะมีหลากหลายสีสัน เพราะท่านเกิดเป็นมนุษย์บำเพ็ญบารมีมาเยอะ" ดังนั้นจะเห็นได้ว่าถ้าเป็นพระอรหันต์อัฐิธาตุต้องแปรสภาพเป็นแก้วและขึ้นอยู่กับการบำเพ็ญบารมีด้วย ตามที่องค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน กล่าวว่า อัฐิแปรสภาพเป็นพระธาตุต้องเป็นพระอรหันต์นึ้ก็เป็นการยืนยันอย่างหนึ่งแต่สุดท้าย หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ก็กล่าว "กระดูกมันจะเป็นยังไงก็ได้" ดังนั้นก็ขอให้ยึดข้อวัตร ปฏิปทา การปฏิบัติของพ่อแม่ครูบาอาจารย์เอาไว้ เพราะนับวันเนื้อนาบุญจะหายากขึ้นไปทุกที
     
  10. bigbanggd

    bigbanggd เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2009
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +161
    [​IMG]

    ชีวประวัติท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตเถระ


    <CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+2]๑ ชาติกำเนิดและการอุปสมบท[/FONT] </CENTER>


    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD width="40%"><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]

    <CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สถานที่กำเนิดของหลวงปู่[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ณ หมู่บ้านคำบง อ.โขงเจียม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]จ.อุบลราชธาน[/FONT] </CENTER></CENTER>
    </TD><TD width="30%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ท่าน กำเนิดในสกุลแก่นแก้ว บิดาชื่อคำด้วง มารดาชื่อจันทร์ เพีย ( พระยา ) แก่นท้าวเป็นปู่ นับถือพุทธศาสนา เกิดวันพฤหัสบดีเดือนยี่ ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๒๐ เดือนมกราคมพ.ศ.๒๔๑๓ ณ บ้านคำบง ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ( ปัจจุบันคือ บ้านคำบง ต.สงยาง อ.ศรีเชียงใหม่ จ.อุบลราชธานี ) มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน ๗ คน ท่านเป็นบุตรคนหัวปีท่านเป็นคนร่างเล็ก ผิวขาวแดงแข็งแรงว่องไวสติปัญญาดีมาตั้งแต่กำเนิดฉลาดดี [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เป็นผู้ว่าง่ายสอนง่ายได้เรียนอักขรสมัยในสำนักของอา คือเรียนอักษรไทยน้อย อักษรไทย อักษรธรรมและอักษรขอมอ่านออกเขียนได้นับว่าท่านเรียนได้รวด เร็ว เพราะมีความทรงจำดี และมีความขยันหมั่นเพียรชอบการเล่าเรียนศึกษา[/FONT]
    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="85%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD width="50%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เมื่อ [/FONT][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ท่านอายุได้ ๑๕ ปี ได้บรรพชา เป็นสามเณรในสำนักวัดบ้านคำบง ใครเป็นบรรพชาจารย์ไม่ปรากฏ ครั้นบวชแล้วได้ศึกษาหาความรู้ทางพระศาสนามีสวดมนต์และสูตรต่างๆ ในสำนักบรรพชาจารย์ จดจำได้รวดเร็ว อาจารย์เมตตาปรานีมาก เพราะ เอาใจใส่ในการเล่าเรียนดี ประพฤติปฏิบัติเรียบร้อย เป็นที่ไว้เนื้อเชื่อใจได้ [/FONT][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เมื่ออายุท่านได้ ๑๗ ปี บิดาขอร้องให้ลาสิกขาเพื่อช่วยการงานทางบ้านท่านก็ได้ลาสิกขาออกไปช่วยงาน ของบิดามารดาเต็มความสามารถ ท่านเล่าว่าเมื่อลาสิกขาไปแล้วยังคิดที่จะบวชอีกอยู่เสมอไม่ลืมเลย คงเป็นเพราะอุปนิสัยในทางบวชมาแต่ก่อนอย่างหนึ่งอีกอย่าง หนึ่งเพราะติดใจในคำสั่งของยายว่า[/FONT]
    </TD><TD width="15%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG] [/FONT]</CENTER></TD></TR><TR><!-- Row 2 --><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอริยกวี ( อ่อน ) [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอุปฌาย์ของหลวงปู่[/FONT] </CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

    <CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]"เจ้าต้องบวชให้ยาย เพราะยายก็ได้เลี้ยงเจ้ายาก" [/FONT]

    </CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD width="40%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]

    </TD></TR><TR><!-- Row 2 --><TD width="100%"><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระครูวิเวกพุทธกิจ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หลวงปู่เสาร์ กันตสีลมหาเถร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอาจารย์กรรมฐาน[/FONT] </CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]<SMALL>คำสั่ง ของยายนี้ คอยสะกิดใจอยู่เสมอ ครั้นอายุท่านได้ ๒๒ ปี ท่านเล่าว่ามีความอยากบวชเป็นกำลัง จึงอำลาบิดา มารดาบวชท่านทั้งสองก็อนุญาตตามประสงค์ท่านได้เข้าศึกษาในสำนักพระอาจารย์เสาร์ ( หลวงปู่เสาร์ ) กันตสีโล วัดเลียบ เมืองอุบล จังหวัดอุบลราชธานี </SMALL>[/FONT]<SMALL>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อุปสมบท เป็นภิกษุภาวะในพุทธศาสนา ณ วัดศรีทอง(วัดศรีอุบลรัตนาราม)อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พระอริยกวี (อ่อน) เป็นพระ อุปฌายะ พระครูสีทาชยเสโน เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูประจักษ์อุบลคุณ ( สุ่ย ) เป็นพระอนุสาวนาจารย์เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๓๖ [/FONT]</SMALL>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอุปัชฌายะขนานนามมคธให้ว่า "ภูริทัตโต"แปลว่า "ผู้ให้ปัญญา ผู้แจกจ่ายความฉลาด" เสร็จอุปสมบทกรรมแล้ว ได้กลับมาศึกษาวิปัสสนาธุระกับพระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล ณ วัดเลียบต่อไป เมื่อแรกอุปสมบทท่านพำนักอยู่วัดเลียบ โดยได้เรียนกรรมฐานจากพระอาจารย์เสาร์เมื่องอุบลเป็นปกติและได้ออกไปอาศัยอยู่วัดบูรพาราม เมือง อุบลราชธานีเป็นครั้งคราว [/FONT]
    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]

    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระครูสีทา ชยเสโน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดบูรพา จ.อุบลราชธานี[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระกรรมวาจาจารย์ [/FONT]
    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระครูประจักษ์อุบลคุณ ( ญาณาสโย สุ้ย )[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดศรีอุบลรัตนาราม ( ศรีทอง ) จ.อุบลราชธานี[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอนุสาวนาจารย์ [/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอุโบสถ ( หลังเก่า ) เป็นสถานที่ที่หลวงปู่มั่นอุปสมบท[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดศรีอุบลรัตนาราม ( ศรีทอง ) จ.อุบลราชธานี[/FONT]
    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอุโบสถ ( หลังปัจจุบัน )[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดศรีอุบลรัตนาราม ( ศรีทอง ) จ.อุบลราชธานี[/FONT] ​

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="74%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="59%" height=223>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ใน ระหว่างนั้นได้ศึกษาข้อปฏิบัติเบื้องต้น อันเป็นส่วน แห่งพระวินัย คือ อาจาระความประพฤติมารยาท อาจริยวัตร และอุปัชฌายวัตรปฏิบัติได้เรียบร้อยดีจนเป็นที่ไว้วางใจของพระอุปัชฌาจารย์และได้ศึกษาข้อปฏิบัติอบรมจิตใจคือเดินจงกรมนั่งสมาธิกับการสมาทานธุดงควัตรต่างๆ[/FONT]


    <CENTER>[​IMG] </CENTER><CENTER>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+2]๒ บำเพ็ญเพียร[/SIZE][/FONT] </CENTER>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR width?20%?><!-- Row 1 --><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD></TR><TR><!-- Row 2 --><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]( จันทร์ สิริจันทมหาเถร ) [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดบรมนิวาส กรุงเทพมหานคร[/FONT] </CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="60%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ใน สมัยต่อไปได้แสวงหาวิเวกบำเพ็ญสมณธรรมในที่ต่างๆ ตามราวป่า ป่าช้า ป่าชัฏที่แจ้ง หุบเขา ซอกเขา ห้วย ธารเขา เงื้อมเขา ท้องถ้ำ เรือนว่างทางฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงบ้าง ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขงบ้าง แล้วลงไปศึกษากับนักปราชญ์ทางกรุงเทพ จำพรรษาอยู่ที่วัดปทุมวนาราม หมั่นไปสดับธรรมเทศนากับเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ( จันทร์ ) ๓ พรรษา แล้วออกแสวงหาวิเวกในถิ่นภาคกลาง คือถ้ำสาริกา เขาใหญ่ นครนายก ถ้ำไผ่ขวาง เขาพระงามและถ้ำสิงห์โตลพบุรีจนได้รับความรู้แจ่มแจ้งในพระธรรมวินัย สิ้นความสงสัยในสัตถุศาสนา จึงกลับมาภาคอีสานทำการอบรมสั่งสอนสมถวิปัสสนา แก่สหธรรมิกและอุบาสกอุบาสิกาต่อไป มีผู้เลื่อมใสปฏิบัติตามมากขึ้นโดยลำดับ มีศิษยานุศิษย์แพร่หลายกระจายทั่วภาคอีสาน [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="86%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ในกาลต่อมาได้ลงไปพักจำพรรษาที่วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ อีก ๑ พรรษาแล้ว ไปเชียงใหม่ กับเจ้าพระคุณอุบาลี ( จันทร์ ) จำพรรษาวัดเจดีย์หลวง ๑ พรรษาแล้วออก ไปพักตามที่วิเวกต่างๆ ในเขตภาคเหนือหลายแห่ง เพื่อสงเคราะห์สาธุชนในที่นั้นๆนานถึง ๑๑ ปี จึงได้กลับมาจังหวัดอุบลราชธานีพักจำพรรษาอยู่ที่วัดโนนนิเวศน์เพื่ออนุเคราะห์สาธุชนในที่นั้น ๒ พรรษาแล้วมาอยู่ในเขตจังหวัดสกลนครจำพรรษาที่วัดป่าบ้านนามน ตำบลตองโขบ อำเภอเมืองสกลนคร ( ปัจจุบันคืออำเภอ โคกศรีสุพรรณ ) ๓ พรรษา จำพรรษาที่วัดป่าหนองผือ ตำบลนาใน อำเภอพรรณานิคม ๕ พรรษาเพื่อสงเคราะห์สาธุชนในถิ่นนั้น มีผู้สนใจในธรรมปฏิบัติได้ติดตามศึกษา อบรมจิตใจมากมาย ศิษยานุศิษย์ของท่านได้แพร่กระจายไปทั่วทุกภาคของประเทศไทย ยังเกียรติคุณของท่านให้ฟุ้งเฟื่องเลื่องลือไป[/FONT] </TD><TD><TABLE width="95%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดบรมนิวาส[/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]รองเมือง กรุงเทพมหานคร[/FONT]​

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG] [/FONT]</CENTER></TD><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG] [/FONT]</CENTER></TD></TR><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ถ้ำที่หลวงปู่เคยจำพรรษา [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ณ วัดภูหล่น อ.ศรีเชียงใหม่ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]จ.อุบลราชธานี[/FONT] </CENTER>
    </TD><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดเจดีย์หลวง[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อ.เมือง จ.เชียงใหม่[/FONT] </CENTER>
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดปทุมวนาราม พ.ศ. ๒๔๑๐[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]กุฎิ ณ วัดปทุมวนาราม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ที่ท่านจำพรรษา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๗๑[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร [/FONT]
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ดอยมูเซอ ( หมู่บ้านปู่พญา ) อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงใหม่ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]( หลวงปู่มั่นจำพรรษาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๙ โดยมีหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ร่วมจำพรรษาด้วย )[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หมู่บ้านชาวมูเซอร์กลางหุบเขา[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]( ภาพปัจจุบัน )[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดป่าอาจารย์มั่น ( วัดร้างป่าแดง ) ภาพปัจจุบัน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]บ้านแม่กรอย อ.พร้าว จ.เชียงใหม่[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หลวงปู่มั่นจำพรรษาช่วงประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๒[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ทางจงกรมหลวงปู่มั่น[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ณ วัดป่าอาจารย์มั่น[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]บริเวณที่เป็นกุฏิหลวงปู่มั่นเดิม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ณ วัดป่าอาจารย์มั่น[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]กุฏิหลวงปู่มั่น[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดป่าโนนนิเวศน์ อ.เมือง จ.อุดรธานี[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]จำพรรษา พ.ศ. ๒๔๘๓ - ๒๔๘๔[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]กฏิหลวงปู่มั่น[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดป่าบ้านโคก ( วัดป่าวิสุทธิธรรม )[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร[/FONT]​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ศาลาหลวงปู่มั่น ณ วัดป่าบ้านโคก[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร[/FONT]


    <CENTER>[​IMG] </CENTER><CENTER>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+2]๓ ปัจฉิมวัย </CENTER>[/SIZE]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ใน[/FONT][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif] วัยชรานับแต่ พ.ศ.๒๔๘๔ เป็นต้นมาท่านหลวงปู่มั่นมาอยู่ที่จังหวัดสกลนคร เปลี่ยนอิริยาบท ไปตามสถานที่วิเวกผาสุขวิหารหลายแห่ง คือ เสนาสนะป่าบ้านนามน ตำบลตองโขบ อำเภอเมือง ( ปัจจุบันเป็นอำเภอโคกศรีสุพรรณ ) บ้าง แถวนั้นบ้าง[/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ครั้น พ.ศ. ๒๔๘๗ จึงย้ายไปอยุ่เสนาสนะป่าบ้านหนองผือ ตำบลนาใน อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร จนถึงปีสุดท้ายแห่งชีวิต ตลอดเวลา ๘ ปีในวัยชรานี้ท่านได้เอาธุระอบรมสั่งสอนศิษยานุศิษย์ทางสมถวิปัสสนาเป็นอันมาก ได้มีการเทศนาอบรมจิตใจศิษยานุศิษย์เป็นประจำวันศิษย์ผู้ใกล้ชิด ได้บันทึกธรรมเทศนาของท่านไว้และได้รวบรวมพิมพ์ขึ้นเผยแพร่แล้วให้ชื่อว่า "มุตโตทัย"[/FONT]


    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=1 cellPadding=0 width="80%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD></TR><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]กุฏิของหลวงปู่[/FONT] </CENTER></TD><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หุ่นขี้ผึ้งของหลวงปู่ภายในกุฏิ[/FONT] </CENTER></TD></TR><TR><TD height=152><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD><TD height=152><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD></TR><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ภายนอกกุฏิหลวงปู่[/FONT] </CENTER></TD><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ภายในกุฏิหลวงปู่[/FONT] </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE><CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="50%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD></TR><TR><!-- Row 2 --><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ศาลาวัด[/FONT] </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]<SMALL>วัดป่าบ้านหนองผือ ต.นาใน อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร ( ภาพปัจจุบัน )</SMALL>[/FONT] </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ศาลาที่พักอาพาธหลวงปู่มั่น ณ เสนาสนะป่าบ้านกู่ ( วัดป่ากลางโนนกู่ )[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]บ้านกุดก้อม ต.ไร่ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร[/FONT]​

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]มา ถึงปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ซึ่งเป็นปีที่ท่านมีอายุย่างเข้า ๘๐ ปี ท่านเริ่มอาพาธเป็นไข้ ศิษย์ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดก็ได้เอาธุระรักษาพยาบาลไปตามกำลังความสามารถ อาการอาพาธก็สงบไปบ้างเป็นครั้งคราวแต่แล้วก็กำเริบขึ้นอีก เป็นเช่นนี้เรื่อยมาจนจวนออกพรรษาอาพาธก็กำเริบมากขึ้น ข่าวนี้ได้กระจายไปโดยรวดเร็ว พอออกพรรษาศิษยานุศิษย์ผู้อยู่ใกล้ไกลต่างก็ทะยอยกันเข้ามาปรนนิบัติพยาบาล ได้เชิญหมอแผนปัจจุบันมาตรวจ และรักษาแล้วนำมาพักที่เสนาสนะป่าบ้านภู่ อำเภอพรรณานิคมเพื่อสะดวกแก่ผู้รักษา และศิษยานุศิษย์ที่จะมาเยี่ยมพยาบาล อาการอาพาธมีแต่ทรงกับทรุดลงโดยลำดับ[/FONT]



    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD width="55%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG] [/FONT]</CENTER></TD></TR><TR><!-- Row 2 --><TD noWrap><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อุโบสถวัดป่าสุทธาวาส[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]( สร้างบนสถานที่ถวายพระเพลิงศพหลวงปู่มั่น ) [/FONT]</CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ครั้น เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒ ได้นำท่านมาพักที่วัดป่าสุทธาวาส อ.เมือง เมืองสกลนคร โดยพาหนะรถยนต์ของแขวงการทางมาถึงวัดเวลา ๑๒.๐๐น. เศษ ครั้นถึงเวลา ๒.๒๓ น. ของวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ปีเดียวกันท่านก็ได้ถึงมรณภาพด้วยอาการสงบในท่างกลางศิษยานุศิษย์ทั้งหลาย มีเจ้าพระคุณพระธรรมเจดีย์เป็นต้น สิริชนมายุของท่านอาจารย์ได้ ๗๙ ปี ๙ เดือน ๒๑ วันรวม ๕๖ พรรษา [/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ซึ่งท่านหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ได้เล่าถึงเหตุการณ์ในเวลานั้น ไว้ใน"ประวัติท่านพระอาจารย์มั่นฯ"ไว้ว่า [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]" องค์ท่าน[/FONT] [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เบื่องต้นนอนสีหไสยาสน์ คือ นอนตะแคงข้างขวา แต่เห็นว่าท่านจะเหนื่อยเลยค่อย ๆ ดึงหมอนที่หนุนอยู่ข้างหลังท่านออกนิดหนึ่งเลยกลายเป็นท่านนอนหงายไป พอท่านรู้สึกก็พยายามขยับตัวกลับคืนท่าเดิม แต่ไม่สามารถทำได้เพราะหมดกำลัง พระอาจารย์ใหญ่ก็ช่วยขยับหมอนที่หนุนหลังท่านเข้าไป แต่ดูอาการท่านรู้สึกเหนื่อยมากเลยต้องหยุดกลัวจะกระเทือนท่านมากไป ดังนั้น การนอนท่านในวาระสุดท้ายจึงเป็นท่าหงายก็ไม่ใช่ ท่าตะแคงข้างขวาก็ไม่เชิง เป็นเพียงท่าเอียง ๆ อยู่เท่านั้น เพราะสุดวิสัยที่จะแก้ไขได้อีก อาการท่านกำลังดำเนินไปอย่างไม่หยุดยั้ง บรรดาศิษย์ซึ่งโดยมากมีแต่พระกับเณรฆราวาสมีน้อยที่นั้งอาลัยอาวรณ์ด้วยความหมดหวังอยู่ขณะนั้น ประหนึ่งลืมหายใจไปตาม ๆ กัน เพราะจิตพะว้าพะวังอยู่กับอาการท่านซึ่งกำลังแสดงอย่างเต็มที่เพื่อถึงวาระสุดท้ายของท่านอยู่แล้ว ลมหายใจท่านปรากฏว่าค่อยอ่อนลงทุกทีและละเอียดไปตาม ๆ กัน ผู้นั้งดูลืมกระพริบตาเพราะอาการท่านเต็มไปด้วยความหมดหวังอยู่แล้ว ลมค่อยอ่อนและช้าลงทุกทีจนแทบไม่ปรากฏ วินาทีต่อไปลมก็ค่อย ๆ หายเงียบไปอย่างละเอียดสุขุมจนไม่มีใครสามารถรู้ได้ว่าท่านได้สิ้นไปแล้วแต่วินาทีใด เพราะอวัยวะทุกส่วนมิได้แสดงอาการผิดปกติเหมือนสามัญชนทั่ว ๆ ไปเคยเป็นกัน ต่างคนต่างสังเกตจ้องมองจนตาไม่กระพริบ สุดท้ายก็ไม่ได้เรื่องพอให้สะดุดใจเลยว่า "ขณะท่านลาขันธ์ลาโลกที่เต็มไปด้วยความกังวลหม่นหมองคือขณะนั้น " ดังนี้ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พอเห็นท่าไม่ได้การ ท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ พูดเป็นเชิงไม่แน่ใจขึ้นมาว่า "ไม่ใช่ท่านสิ้นไปแล้วหรือ " พร้อมกับยกนาฬิกาขึ้นดูเวลา ขณะนั้นเป็นเวลาตี ๒ นาฬิกา ๒๓ นาที จึงได้ถือเวลามรณภาพของท่าน พอทราบว่าท่านสิ้นไปแล้วเท่านั้นมองดูพระเณรที่นั้งรุมล้อมท่านอยู่เป็นจำนวนมาก เห็นแต่ความโศกเศร้าเหงาหงอยและน้ำตาบนใบหน้าที่ไหลซึมออกมา ทั้งไอทั้งจามทั้งเสียงบ่นพึมพำไม่ได้ถ้อยได้ความใครอยู่ที่ไหนก็ได้ยินเสียงอุบอิบพึมพำทั่วบริเวณนั้น บรรยากาศเต็มไปด้วยความเงียบเหงาเศร้าใจอย่างบอกไม่ถูก เราก็เหลือทน ท่านผู้อื่นก็เหลือทน ปรากฏว่าเหลือแต่ร่างครอบตัวอยู่แวลานั้น ต่างองค์ต่างนิ่งเงียบไปพักหนึ่งราวกับโลกธาตุได้ดับลง ในขณะเดียวกับขณะที่ท่านอาจารย์ลาสมมติคือขันธ์ก้าวเข้าสู่แดนเกษม ไม่มีสมมติความกังวลใด ๆ เข้าไปเกี่ยวข้องวุ่นวายอีก ผู้เขียนแทบหัวอกจะแตกตายไปกับท่านจริง ๆ เวลานั้นทำให้รำพึงรำพันและอัดอั้นตันใจไปเสียทุกอย่าง ไม่มีทางคิดพอขยับขยายจิตที่กำลังว้าวุ่นขุ่นเป็นตมเป็นโคลนไปกับการจากไปของท่าน พอให้เบาบางลงบ้างจากความแสนรักแสนอาลัยอาวรณ์ที่สุดจะกล่าว ที่ท่านว่าตายทั้งเป็นเห็นจะได้แก่คนไม่เป็นท่าคนนั้นแล [/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]..............ดวงประทีปที่เคยที่เคยสว่างไสวมาประจำชีวิตจิตใจได้ดับวูบสิ้นสุดลง ปราศจากความอบอุ่นชุ่มเย็นเหมือนแต่ก่อนมา ราวกับว่าทุกสิ่งได้ขาดสะบั้นหั่นแหลกเป็นจุณไปเสียสิ้น ไม่มีสิ่งเป็นที่พึ่งพอเป็นที่หายใจได้เลย มันสุดมันมุดมันด้านมันตีบตันอั้นตู้ไปเสียหมดภายในใจ ราวกับโลกธาตุนี้ไม่มีอะไรเป็นสาระพอเป็นที่เกาะของจิตผู้กำลังกระหายที่พึ่ง ได้อาศัยเกาะพอได้หายใจแม้เพียงวินาทีหนึ่งเลย ทั้งที่สัตว์โลกทั่วไตรภพอาศัยกันประจำภพกำเนิดตลอดมา แต่จิตมันอาภัพอับวาสนาเอาอย่างหนักหนา จึงเห็นโลกธาตุเป็นเหมือนยาพิษเอาเสียหมดเวลานั้น ไม่อาจเป็นที่พึงได้ ปรากฏแต่ท่านพระอาจารย์มั่นองค์เดียวเป็นชีวิตจิตใจเพื่อฝากอรรถฝากธรรมและฝากเป็นฝากตายทุกขณะลมหายใจเลย ......" [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]คลิกที่นี่ เพื่ออ่านบันทึกของหลวงปู่หล้า เขมปัตโต [/FONT]​


    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ตลอดชีวิตขององค์หลวงปู่ ด้วยความที่ท่านหวัง เพื่อให้เป็นประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก เหตุนั้นท่านจึงไม่อยู่เป็นที่เป็นทางหลักแหล่ง เฉพาะแห่งเดียว เที่ยวไปเพื่อประโยชน์ แก่ชนในสถานที่นั้น ๆ ดังนี้ [/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑. ณ กาลสมัยนั้น (พ.ศ.๒๔๔๗) ท่านอาจารย์มั่น ฯ อยู่วัดเลียบมานาน จึงได้เข้าไปจำพรรษาที่วัดปทุมวนาราม (วัดสระปทุม) กรุงเทพฯ และทางเขาพระงาม จังหวัดลพบุรี จนถึง พ.ศ.๒๔๕๗ ครั้นแล้วท่านจึงมาหาสหธรรมทางอุบลราชธานี จำพรรษาที่วัดบูรพาในจังหวัดนั้น เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๘ ท่านมีพรรษาได้ ๒๕ พรรษา [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒. พ.ศ.๒๔๕๙ จำพรรษาที่ภูผากูด บ้านหนองสูง อำเภอคำชะอี จังหวัดนครพนม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๓. พ.ศ.๒๔๖๐ จำพรรษาที่บ้านดงปอ "ห้วยหลวง" อำเภอเพ็ญ จ.อุดรธานี[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๔. พ.ศ.๒๔๖๑ จำพรรษาที่ถ้ำผาบิ้ง จังหวัดเลย [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๕. พ.ศ.๒๔๖๒ จำพรรษาที่บ้านค้อ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๖. พ.ศ.๒๔๖๓ จำพรรษาที่อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๗. พ.ศ.๒๔๖๔ จำพรรษาที่บ้านห้วยทราย อำเภอมุกดาหาร จังหวัดนครพนม [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๘. พ.ศ.๒๔๖๕ จำพรรษาที่ตำบลหนองลาด อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๙. พ.ศ.๒๔๖๖ จำพรรษาที่วัดมหาชัย อำเภอหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำพู [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๐. พ.ศ.๒๔๖๗ จำพรรษาที่บ้านค้อ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๑. พ.ศ.๒๔๖๘ จำพรรษาที่อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย (วัดอรัญวาสี ปัจจุบัน)[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๒. พ.ศ.๒๔๖๙ จำพรรษาที่บ้านสามผง อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๓. พ.ศ.๒๔๗๐ จำพรรษาที่บ้านหนองขอน อ.บุง (ปัจจุบัน อ.หัวตะพาน) จังหวัดอำนาจเจริญ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๔. พ.ศ.๒๔๗๑ จำพรรษาที่กรุงเทพฯ วัดปทุมวนาราม หรือวัดสระปทุม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๕. พ.ศ.๒๔๗๒ จำพรรษาที่ถ้ำเชียงดาว อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๖. พ.ศ.๒๔๗๓ จำพรรษาที่ดอยจอมแตง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๗. พ.ศ.๒๔๗๔ จำพรรษาที่บ้านโป่ง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๘. พ.ศ.๒๔๗๕ จำพรรษาที่วัดเจดีย์หลวง อ.เมือง จ.เชียงใหม่[/FONT][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif] ออกพรรษาแล้ว ท่านก็ออกธุดงค์ไปทาง จ.เชียงราย[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑๙. พ.ศ.๒๔๗๗ ได้กลับมาทางเขตเชียงใหม่ จำพรรษาที่ป่าเมี่ยง ดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒๐. พ.ศ.๒๔๗๙ จำพรรษาที่บ้านมูเซอ อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒๑. พ.ศ.๒๔๘๐ จำพรรษาที่พระธาตุจอมแจ้ง อ.แม่สรวย จ.เชียงราย[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒๒. พ.ศ.๒๔๘๑ ท่านได้ลงมาพำนักที่วัดเจดีย์หลวง อ.เมือง จ.เชียงใหม่[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒๓. พ.ศ.๒๔๘๒ จำพรรษาที่บ้านแม่กอย ( ปัจจุบัน วัดป่าอาจารย์มั่น ) อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ออกพรรษาแล้ว ท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์( จูม พนฺธุโล ) ได้เดินทางจากอุดรไปเชียงใหม่นิมนต์ท่านกลับอีสาน [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒๔. พ.ศ.๒๔๘๓ - ๒๔๘๔ จำพรรษาที่วัดโนนนิเวศน์ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒๕. พ.ศ.๒๔๘๕ จำพรรษาที่เสนาสนะป่าบ้านโคก ( ปัจจุบัน วัดป่าวิสุทธิธรรม ) อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒๖. พ.ศ.๒๔๘๖ จำพรรษาที่เสนาสนะป่าบ้านนามน ( ปัจจุบัน วัดป่านาคนิมิตต์ ) อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒๗. พ.ศ.๒๔๘๗ จำพรรษาที่เสนาสนะป่าบ้านโคก ( ปัจจุบัน วัดป่าวิสุทธิธรรม ) อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒๘. พ.ศ.๒๔๘๘ - ๒๔๙๒ จำพรรษาอยู่ที่บ้านหนองผือ ( ปัจจุบัน วัดป่าภูริทัตตถิราวาท ) ต.นาใน อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]มรณภาพ ณ ที่วัดป่าสุทธาวาส อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ตรงกับวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๒ เวลา ๐๒.๒๓ น. สิริชนมายุรวมได้ ๘๐ ปี [/FONT]

    [/FONT]<CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="60%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD><CENTER>[​IMG] </CENTER></TD></TR><TR><!-- Row 2 --><TD><CENTER>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+2]๔ พระธาตุ[/SIZE][/FONT] </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หลังองค์หลวงปู่มั่นลาขันธ์เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒ จึงได้มี การจัดถวายพระเพลิงศพหลวงปู่ ณ วัดป่าสุทธาวาส จ.สกลนครในวันอังคารที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๓ เมื่อถวายพระเพลิงเสร็จแล้ว อัฐิขององค์หลวงปู่ได้ถูกแบ่งแจกไปตามจังหวัดต่างๆ และประชาชนได้เถ้าอังคารไป[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]คลิกที่นี่ เพื่อชมประมวลภาพงานถวายเพลิงศพหลวงปู่มั่น [/FONT]

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=1 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD><CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD></TR><TR><TD><CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER></TD></TR><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]<SMALL>งานถวายพระเพลิงศพองค์หลวงปู่มั่น ภูริทัตตมหาเถร ณ วัดป่าสุทธาวาส จ.สกลนคร</SMALL>[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]<SMALL>วันอังคารที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ( ขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๓ ปีขาล )</SMALL>[/FONT] </CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ต่อมาปรากฏว่าอัฐิธาตุขององค์หลวงปู่ที่แจกจ่ายไปยังที่ต่างๆ ก็กลายเป็น พระธาตุไปหมด แม้แต่เส้นผมของท่านที่มีผู้เก็บไปบูชาในที่ต่างๆ ก็กลายเป็นพระธาตุ ได้เช่นเดียวกับอัฐิของท่าน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ปัญหาเรื่องอัฐิหลวงปู่มั่นกลายเป็นพระธาตุนี้ พระธรรมวิสุทธิมงคลหรือหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ศิษย์ขององค์หลวงปู่ รูปหนึ่งได้อธิบายไว้ว่า[/FONT]

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD></TR><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระบุษบกที่บรรจุพระธาตุหลวงปู่มั่น [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ณ วัดป่าสาละวัน อ.เมือง นครราชสีมา[/FONT] </CENTER>
    </TD><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระธาตุหลวงปู่มั่น [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ประดิษฐาน ณ วัดป่าสาละวัน[/FONT] </CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]"อัฐิพระอรหันต์ก็ดี ของสามัญชนก็ดี ต่างก็เป็นธาตุดินเช่นเดียวกันการที่อัฐิกลายเป็นพระธาตุได้นั้น ขึ้นอยู่กับใจหรือจิตเป็นสำคัญ อำนาจจิตของพระอรหันต์ท่านเป็นอริยจิตเป็นจิตที่บริสุทธิ์ ปราศจากกิเลสเครื่องโสมมต่างๆอำนาจซักฟอกธาตุขันธ์ให้เป็นธาตุบริสุทธิ์ไปตามส่วนของตน อัฐิจึงกลายเป็นพระธาตุไปได้ แต่อัฐิหรือกระดูกสามัญชนทั่วไป แม้จะเป็นธาตุดินเช่นเดียวกัน แต่จิตสามัญชนทั่วไปเต็มไปด้วยกิเลส จิตไม่มีอำนาจและคุณภาพที่จะซักฟอกธาตุขันธ์ของตนให้บริสุทธิ์ได้[/FONT]


    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD><CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD></TR><TR><!-- Row 2 --><TD noWrap width="30%"><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระธาตุ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ของหลวงปู่มั่น ภูริทัตตมหาเถร[/FONT] </CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER></TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อัฐิจึงจำต้องเป็นสามัญธาตุไปตามวิสัยจิตของคนมีกิเลส จะเรียกไปตามภูมิของจิตภูมิของธาตุว่า อริยจิต อริยธาตุ และสามัญจิต สามัญธาตุก็คงไม่ผิดเพราะคุณสมบัติของจิตของธาตุระหว่างพระอรหันต์กับสามัญชนย่อมแตกต่างกันอย่างแน่นอน ดังนั้นอัฐิจึงจำเป็นต้องต่างกันอยู่ดี[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ผู้สำเร็จอรหันต์ทุกองค์เวลานิพพาน อัฐิต้องกลายเป็นพระธาตุด้วยกันหมดทั้งสิ้นหรือเปล่านั้นข้อนี้ยังเป็นเรื่องน่าสงสัยไม่แน่ใจว่าจะเป็นไปได้อย่างนั้นทุกๆ องค์ เพราะว่าระหว่างกาลเวลาที่บรรจุอรหันต์จนถึงวันนิพพานนั้นพระอรหันต์แต่ละองค์มีเวลาสั้นยาว[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]แตกต่างกันพระอรหันต์ที่บรรลุธรรมวิเศษแล้วมีเวลาทรงขันธ์อยู่นานปีเวลานิพพานนาน ถึงอัฐิย่อมมีทางกลายเป็นพระธาตุได้โดยไม่มีปัญหาเพราะระยะเวลาที่ทรงขันธ์อยู่นาน[/FONT]

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG] [/FONT]</CENTER></TD><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG] [/FONT]</CENTER></TD></TR><TR><TD noWrap><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พิพิธภัณฑ์บริขานหลวงปู่มั่น [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ณ วัดป่าสุทธาวาส อ.เมือง สกลนคร[/FONT] </CENTER>
    </TD><TD noWrap><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระธาตุหลวงปู่มั่น [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ประดิษฐาน ณ พิพิธภัฑ์บริขานหลวงปู่มั่น[/FONT] </CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เช่นเดียวกันกับความสืบต่อแห่งชีวิต ด้วยการทำงานของระบบต่างๆ ภายในร่างกาย มีลมหายใจเป็นต้น มีการเข้าสมาบัติประจำอริยาบถเสมอ ซึ่งเป็นการซักฟอกธาตุขันธ์ให้บริสุทธิ์ไปตามส่วนของตนทุกวันทุกคืนโดยลำดับ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ครั้นถึงเวลานิพพานอัฐิจึงกลายเป็นพระธาตุไป เมื่อผสมกันเข้ากับธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ ซึ่งแผ่กระจายอยู่ทุกอณูบรรยากาศของโลก[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ส่วนพระอรหันต์ที่บรรลุอรหัตผลแล้วมิได้ทรงขันธ์อยู่นานเท่าที่ควร เมื่อถึงเวลานิพพานอัฐิจะกลายเป็นพระธาตุเหมือนพระอรหันต์ที่ทรงขันธ์อยู่นานหรือไม่นั้น ยังเป็นปัญหาที่ตอบไม่สนิทใจ[/FONT]

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD width="40%"><CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><!-- Row 1 --><TD><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG][/FONT] </CENTER></TD></TR><TR><!-- Row 2 --><TD><CENTER><SMALL>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระธาตุของหลวงปู่มั่น[/FONT] </SMALL></CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER></TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอรหันต์ที่เป็นทันธาภิญญา คือผู้รู้ได้ช้าค่อยเป็นค่อยไป เช่น บำเพ็ญไปถึงขั้นอนาคามิผลแล้วติดอยู่นาน [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]กว่าจะก้าวขึ้นอรหัตภูมิได้ ต้องพิจารณาท่องเที่ยวไปมาอยู่ในระหว่างอรหัตมรรคกับอรหัตผล จนกว่าจิตจะชำนิชำนาญและมีกำลังเต็มที่จึงผ่านไปได้[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ในขณะที่กำลังพิจารณาอยู่ในขั้นอรหัตมรรคเพื่ออรหัตผลนี้เป็นอุบายวิธีซักฟอกธาตุขันธ์ไปในตัวด้วย เวลานิพพานอัฐิอาจกลายเป็นพระธาตุได้ ส่วนพระอรหันต์ที่เป็นขิปาภิญญาคือ รู้ได้เร็ว บรรลุอรหันต์ได้เร็ว และนิพพานไปเร็วพระอรหันต์ประเภทนี้ [/FONT][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ไม่แน่ใจว่อัฐิาจะเป็นพระธาตุได้หรือไม่ประการใดเพราะจิตบริสุทธิ์ของท่านเหล่านี้ ไม่มีเวลาทรงและซักฟอกธาตุขันธ์อยู่นานเท่าที่ควร"[/FONT]

    [​IMG]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+2]๕ ปฏิปทาท่านพระอาจารย์มั่น [/SIZE]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]"ธุดงควัตรที่ท่านถือปฏิบัติเป็นอาจิณ ๔ ประการ[/FONT] <DD>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๑. บังสุกุลิกังคธุดงค์ ถือนุ่งห่มผ้าบังสุกุล นับตั้งแต่วันอุปสมบทมาตราบจนกระทั่งถึงวัยชรา[/FONT]

    <DD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]จึงได้พักผ่อนให้คหบดีจีวรบ้างเพื่ออนุเคราะห์แก่ผู้ศรัทธานำมาถวาย[/FONT]
    <DD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๒. บิณฑบาตกังคธุดงค์ ถือภิกขาจารวัตรเที่ยวบิณฑบาตมาฉันเป็นนิตย์ แม้อาพาธไปในละแวก[/FONT]
    <DD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]บ้านไม่ได้ก็บิณฑบาตในเขตวัด บนโรงฉันจนกระทั่งอาพาธ ลุกไม่ได้ในปัจฉิมสมัยจึงงดบิณฑบาต[/FONT]
    <DD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๓. เอกปัตติกังคธุดงค์ ถือฉันในบาตรใช้ภาชนะใบเดียวเป็นนิตย์ จนกระทั่งถึงสมัยอาพาธหนักจึงงด[/FONT]
    <DD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]๔. เอกาสนิกังคธุดงค์ ถือฉันหนเดียวเป็นนิตย์ตลอดมา แม้ถึงอาพาธหนักในปัจฉิมสมัยก็มิได้เลิกละ[/FONT]
    <DD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ส่วนธุดงควัตรนอกนี้ได้ถือปฏิบัติเป็นครั้งคราวที่นับว่าปฏิบัติได้มาก ก็คือ อรัญญิกกังคธุดงค์ ถืออยู่ [/FONT][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เสนาสนะป่าห่างบ้านประมาณ ๒๕ เส้น หลีกเร้นอยู่ในที่สงัดตามสมณวิสัยเมื่อถึงวัยชราจึงอยู่ใน[/FONT] [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เสนาสนะ ป่าห่างจากบ้านพอสมควร ซึ่งพอเหมาะกับกำลังที่จะภิกขาจารบิณฑบาตเป็นที่ที่ปราศจากเสียงอื้ออึง[/FONT] [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ประชาชนยำเกรงไม่รบกวน นัยว่าในสมัยที่ท่านยังแข็งแรง ได้ออกจาริกโดดเดี่ยวแสวงวิเวกไปในดงพงลึกจน[/FONT] [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สุดวิสัยที่ศิษยานุศิษย์ จะติดตามไปถึงได้ก็มี เช่นในคราวไปอยู่ทางภาคเหนือเป็นต้น ท่านไปวิเวกบนเขาสูง[/FONT] [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อันเป็นที่อยู่ของพวกมูเซอร์ ยังชาวมูเซอร์ซึ่งพูดไม่รู้เรื่องกันให้บังเกิดศรัทธาในพระศาสนาได้"[/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอริยคุณคุณาธาร วัดเขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น เรียบเรียง[/FONT]

    <HR align=center width="69%" SIZE=1>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]"...พ่อแม่ครูอาจารย์มั่น ท่านพาดำเนินอย่างถูกต้องแม่นยำ ถือเอาธุดงควัตร ๑๓ ("...ธุดงค์ 13แต่ละข้อมีความหมายในการปราบปรามกิเลสทุกประเภทได้อย่างอัศจรรย์ยากที่คาดให้ทั่งถึงได้ดังนี้ 1.บิณฑบาตเป็นวัตร 2.บิณฑบาตตามลำดับบ้าน 3.ไม่รับอาหารที่ตามส่งทีหลัง 4.ฉันในบาตร 5.ฉันหนเดียวในวันหนึ่งๆ 6.ถือผ้าสามผืน 7.ถือผ้าบังสกุล 8.อยู่รุกขมูลร่มไม้ 9.อยู่ป่า 10.อยู่ป่าช้า 11.อยู่กลางแจ้ง 12.อยู่ในที่เขาจัดให้ 13.ถือไม่อยู่อิริยาบถนอน...")นี้เป็นพื้นเพในการดำเนิน และการประพฤติปฏิบัติจิตใจของท่านก็เป็นไปโดยสม่ำเสมอ ไม่นอกลู่นอกทางทำให้ผู้อื่นเสียหาย และริจะทำเพื่อความเด่นความดังอะไรออกนอกลู่นอกทางนั้นไม่มี เป็นแนวทางที่ราบรื่นดีงามมาก นี่ละเป็นที่นอนใจ เป็นที่ตายใจยึดถือไว้ได้โดยไม่ต้องสงสัยก็คือปฏิปทาเครื่องดำเนินของท่าน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]นี่ครูบาอาจารย์ที่เป็นลูกศิษย์ลูกหาของท่านก็มีจำนวนมากพากันดำเนินมายึดถือหลักนั้นแหละมาปฏิบัตได้แพร่หลายหรือกระจายออกไปแก่บรรดาลูกศิษย์ทั้งหลายเป็นแขนงๆ หรือแผลงๆ อะไรออกไปให้เป็นที่สะดุดตา ไม่แน่ใจอย่างนี้ไม่มี ท่านดำเนินอะไรเป็นที่เหมาะสมทั้งนั้น คือมีแบบมีฉบับเป็นเครื่องยืนยันไม่ผิดเพี้ยนไปเลย[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]นี่เพราะเหตุไร เพราะเบื่องต้นท่านก็ตะเกียกตะกายก็จริง แต่ตะเกียกตะกายตามหลักธรรมหลักวินัย ไม่ได้นอกเหนือไปจากหลักธรรมหลักวินัย หลักวินัยคือกฏของพระระเบียบของพระ ท่านตรงเป๋งเลย และหลักธรรมก็ยึดธุดงค์๑๓ ข้อนี้เป็นทางดำเนิน ไม่ได้ออกนอกลู่นอกทางนี้ไปอย่างทางอื่นบ้างเลย นี่จึงเป็นที่น่าอนุโมทนาเป็นอย่างยิ่งมาตั้งแต่ขั้นเริ่มแรกของท่าน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ต่อจากนั้นท่านก็ปรากฏเห็นผลขึ้นมาโดยอันดับอำดา ดังเคยเขียนไว้แล้วในประวัติของท่านจนกระทั้งเป็นผู้ทรงมรรคทรงผลโดยสมบูรณ์ในหัวใจท่าน แล้วก็ประกาศสั่งสอนธรรมแก่บรรดาศิษยทั้งหลายพร้อมทั้งปฏิปทาเครื่องดำเนินด้วยความองอาจกล้าหาญ ไม่มีคำว่าสะทกสะท้านแม้นิดหนึ่งเลย นี่เพราะความแน่ใจในใจของท่านเอง ทั้งฝ่ายเหตุทั้งฝ่ายผล ท่านเป็นที่แน่ใจทั้งสองแล้ว[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พวกบรรดาลูกศิษย์ลูกหาทั้งหลายที่เข้าไปศึกษาอบรมกับท่าน จึงได้หลักได้เกณฑ์จากความถูกต้องแม่นยำที่ท่านพาดำเนินมา มาเป็นเครื่องดำเนอนของตน แล้วถ่ายทอดไปโดยลำดับลำดา ไม่มีประมาณเฉพาะอย่างยิ่งภิกษุบริษัท มีกว้างขวางอยู่มากสำหรับลูกศิษย์ของพ่อแม่ครูอาจารย์มั่นแตกกระจายออกไปการที่ได้ปฏิปทาเครื่องดำเนินจากท่านผู้รู้ผู้ฉลาดพาดำเนินมาแล้วเช่นนี้ เป็นสิ่งที่หาได้ยากมาก นี่ละเป็นที่ ให้ตายใจนอนใจ อุ่นใจได้ ผิดกับเราเรียนมาโดยลำพัง และปฏิบัติโดยลำพังเป็นไหนๆ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ยกตัวอย่างไม่ต้องเอาที่อื่นไกลที่ไหนเลย ผมเองนี่แหละเรียน จะว่าอวดหรือไม่อวดก็ตามก็เรียนถึงมหา แต่เวลาจะหาหลักหาเกณฑ์มายึดเป็นเครื่องดำเนินด้วยความอุ่นแน่ใจตายใจสำหรับตัวเอง ไม่มีจะว่ายังไงนั่น มันเป็นอย่างนั้น จิตเสาะแสวงหาแต่ครูอาจารย์อยู่ตลอดเวลาเฉพาะอย่างยิ่งพ่อแม่ครูอาจารย์มั่น..."[/FONT] ​

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระธรรมวิสุทธิมงคล(หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]( จากหนังสือ"หยดน้ำบนใบบัว")[/FONT]

    <HR align=center width="69%" SIZE=1>


    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]"...ที่ผมได้ความรู้ความฉลาด จนได้มาแบ่งปันพวกท่านทั้งหลายนั้น ก็เพราะผมได้ ไปกราบครูบาอาจารย์มั่น...ไปพบท่าน แล้วก็เห็นสภาพวัดวาอารามของท่าน ถึงจะไม่สวยงาม แต่ก็ สะอาดมาก พระเณรตั้งห้าสิบหกสิบ เงียบ! ขนาดจะถากแก่นขนุน (แก่นขนุนใช้ต้มเคี่ยว สำหรับย้อมและซักจีวร) ก็ยังแบกเอาไปฟันอยู่โน้น.. ไกล ๆ โน้น เพราะกลัวว่าจะ ก่อกวนความสงบของหมู่เพื่อน... พอตักน้ำทำกิจอะไรเสร็จ ก็เข้าทางจงกรม ของใครของมัน ไม่ได้ยินเสียง อะไร นอกจากเสียงเท้าที่เดินเท่านั้นแหละ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]บางวันประมาณหนึ่งทุ่ม เราก็เข้าไปกราบท่านเพื่อฟังธรรม ได้เวลาพอ สมควรประมาณสี่ทุ่มหรือห้าทุ่มก้กลับกุฏิ เอาธรรมะ ที่ได้ฟังไปวิจัย... ไปพิจารณา [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เมื่อได้ฟังเทศน์ท่าน มันอิ่ม เดินจงกรมทำสมาธินี่... มันไม่เหน็ดไม่เหนื่อย มันมีกำลังมาก ออกจากที่ประชุมกันแล้วก็เงียบ! บางครั้งอยู่ใกล้ ๆ กัน เพื่อนเขาเดิน จงกรมอยู่ตลอดคืนตลอดวัน จนได้ย่องไปดูว่าใครท่านผู้นั้นเป็นใคร ทำไมถึงเดิน ไม่หยุดไม่พัก นั่น... เพราะจิตใจมันมีกำลัง..." [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระโพธิญาณเถร ( หลวงปู่ชา สุภัทโธ ) วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]จากอัตตโนประวัติหลวงปู่ชา "ใต้ร่มโพธิญาณ"[/FONT]​

    [/FONT]



    </CENTER>

    </DD></TD><TD width="41%" height=223><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG] [/FONT]</CENTER><CENTER>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดบูรพาราม ( ภาพปัจจุบัน ) [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อ.เมือง จ.อุบลราชธานี [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดที่หลวงปู่จำพรรษาในระยะต้นๆ[/FONT] </CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>[/SIZE]
    พระธาตุพระอาจารย์มั่น ภูริทัตเถระ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC01375.JPG
      DSC01375.JPG
      ขนาดไฟล์:
      3.8 MB
      เปิดดู:
      552

แชร์หน้านี้

Loading...