ทำไมคนพุทธ ถึง ชอบทำให้เป็นศาสนาคิด มันไม่ใช่

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย แค่พลัง, 13 มีนาคม 2017.

  1. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    ศาสนาพุทธไม่ได้มีไว้เพื่อคิด แต่มีไว้ให้ละลายพฤติกรรม เดิมๆ
     
  2. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,053
    ค่าพลัง:
    +3,465
    สาวก ภาวนาให้ตาย ก้ละนิสัยเดิมไม่ได้......

    พระสัพพัญญูเท่านั้น ที่ละนิสัยได้.......

    เปนแค่สาวก ปรวนาตนละนิสัยเดิม เฮีย!!แน่นอน


    สาวก ชื่อก้บอกอยู่แล้ว ต้องอาสัยนิสัย
    จึงมีการขอนิสัย ไม่ใช่ละ แต่เพิ่มนิสัย
    เดิมๆที่พอใช้เข้าไป จึงตรัสรู้เอง
     
  3. ธรรมแท้ว่าง

    ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,293
    ค่าพลัง:
    +12,622
    มันก็ต้องมีคิด มีถกเถียงกันก่อน เพื่อให้ตกผลึกว่า
    ศาสนาพุทธสอนอย่างนี้ อย่างนี้ ไม่ใช่อย่างนั้นนะ
    ก่อนจะลงมือบำเพ็ญที่กาย วาจาใจใจ
    ตามแก่นของพุทธ....

    เพียงแต่บางท่านอาจจะคิด อาจจะใช้เวลาตกผลึก
    นานไปหน่อย
    กว่าจะรู้ตัวก็หมดเวลาของชีวิตพอดี
    เลยไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรเลย
    ก็แล้วแต่วาสนาบารมีของแต่ละคน ใครบัญชา
    ไม่ได้ครับ
     
  4. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,053
    ค่าพลัง:
    +3,465
    จอขอกอท้อ วางมุขนัย เรื่อง จิตเปนพลังงาน
    ลงก่อนสักแพล็บๆ

    จะเหนเลย ความคิดละนิสับ มาจาก พยายาม
    ตรึกเข้าไปข้าง พลังงานแช่แป้ง

    ระวังกลายเปนผัก ก้อนหิน คิดดีทำดี
    นิสัยดีๆ มีเยอะแยะ ใช้พลังงานเข้ามา
    ให้เกิดประโยชน์ สำเร็จธรรมสบายอย่าง
    คนมีภูมิคุ้มกันจากภายใน ไม่ใช่พัก ไม่แช่แป้ง
    งอแขน งอขา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 มีนาคม 2017
  5. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    ความคิดที่ จงใจเจตนา จะทำให้เกิดความเคยชิน
    แต่ผู้ที่ทำสมาธิได้ จะไม่เห็นประโยชน์ของการคิดเอง เออเอง
    เพราะถึงจุดหนึ่ง เขาก็ทำของเขาเอง ขอให้เรามีศีล 5 ให้ครบ
    หมั่นฝึกไปให้กลายเป็นธรรมชาติของตัวเอง วิตก วิจาร มันจะมาในรูปของพลังงานที่สัมผัสได้
     
  6. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,053
    ค่าพลัง:
    +3,465
    พลังงานที่สัมผัส หลังจิตหมดเจตนา จะเปน
    ลักษณะของพลังงานเฉื่อย

    พลังงานเฉื่อย เปน ภัยมหันต เพราะกำลงใช้
    ตนทุนเก่าหมดลง มอดลง จนไม่เหลือ

    พลังงานเก่าหมดไม่เหลือ ไม่ใช่ไปนิพพาน

    แต่กำลัง แล่นลงนรกไม่มีวันกลับ เพราะความดี
    ที่ใช้พอเพียงในการไปสุคติ ใช้หมดไป ไม่ได้ทำเพิ่ม

    ยกตัวอย่าง ผกาพรหม ที่เปนผู้ชำนาญาณแช่แป้งมาก
    เสร็จแล้วก้งอมือ งอเท้า เหนจิตมันไหลไปคิดเอง
    ตามอำนาจพลังงานเก่า ไม่ได้เจตนาคิดดีทำดีขึ้นใหม่

    จิตจึงถอยจากภูมฌาณสี่ ลงมา เหลือฌาณหนึ่ง

    ตัววิบากเก่า ก้มาปรากฏที่จิต เหนเปนความดำริ
    ว่า พระพุทธเจ้าก้แค่เศษของสัมผัสเก่า อะนะ

    ถ้าปล่อยไปแบบนั้น ผกาพรหม ซึ่งเป็นท้าว
    มหาพรหม สูงกว่าเทวดา และ พรหมทั้งปวง
    กำลังจะตกนรกแสนยาวนานนนนนนนนนนน

    พระพุทธองค์จึงไปตักเตือน ให้พิจารณาให้ถูก
    อย่าปล่อนปละวิยาก สำคัญหมดกระแสสัมผัส
    แล้วจะนิพพาน ตรึกมาทางคุณ และ โทษ
    แล้วใช้ให้เปนประโยชน์แบบ พอเพียง ถึงจะ
    มีสิทธิโน้มน้อมสมควรแก่ธรรม
     
  7. ผ่านมาเฉยๆ

    ผ่านมาเฉยๆ ไรเซ็นมันพูดว่าอะไรหว่า

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    964
    ค่าพลัง:
    +1,221
    ตั้งกระทู้แบบนี้นักวิเคราะห์แผนที่เค้าเดือดร้อนนะครับ๕๕๕๕๕
     
  8. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    ผู้ที่มีศีล 5 อย่างต่อเนื่องจนเป็นสันดาน ไม่มีวันตกนรก ผมถึงได้มองคุณนิวรณ์ตั้งแต่คุยกันแรกๆ ออก
     
  9. choksila58

    choksila58 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    631
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +1,059
    คนโง่เขลา
     
  10. เราโตมาคนละแบบ

    เราโตมาคนละแบบ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2017
    โพสต์:
    729
    ค่าพลัง:
    +197
    :eek:;)การรักษาศิล5 ต้องใช้ปัญญา แล้วปัญญามาจากไหนถ้าไม่คิด-จากข้อมูลในสมอง-ไตร่ตรองในจิตใจ-ไม่น่าเชื่อว่าคุณมีแนวคิดวิปริตแบบนี้..
    :eek:จะให้เชื่ออย่างเดียว..ห้ามคิด หรือไม่ก็ให้จำครึ่งๆกลางๆ -ผู้คนถึงเป็นแบบปัจจุบัน ขัดแย้งกันไปหมดทั้งประเทศ ด้วยคำสอน เกจิอาจารย์ ที่ต่างคนต่างคิดหลักสูตร เพื่อหาเงินบริจาค-ขึ้นมาเองมันขัดธรรมชาติ อ่านแล้วอนาถใจ ผมเข้าใจคุณละ
     
  11. สาสนี

    สาสนี Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2015
    โพสต์:
    197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +210
    สัมมัปปธาน หรือ สัมมัปปธาน 4 คือ การมุ่งมั่นทำความชอบ[1] มี 4 ประการ

    1. สังวรปทาน คือ เพียรระงับการกระทำอกุศล ไม่ให้เกิดขึ้น ( เพียรระวัง )
    2. ปหานปทาน คือ เพียรละเลิกอกุศลที่กำลังกระทำอยู่ ( เพียรละ )
    3. อนุรักขนาปทาน คือ เพียรรักษา กุศลธรรม ที่เกิดขึ้นแล้ว ( เพียรรักษา )
    4. ภาวนาปทาน คือ เพียรฝึกฝนบำรุงกุศลธรรม ให้เจริญยิ่งขึ้น ( เพียรเจริญ )
    ที่จริงแล้วที่ยกมาก็เพื่อให้เข้าใจอีกครั้งนึงค่ะว่า สัมมัปธาน 4 เป็นหนึ่งในมรรร 8 คือ สัมมาวาโม ความเพียรชอบ นะคะ และสิ่งนี้ก็เป็นตัวกรองตรวจสอบการใช้มรรค การลดละนิสัยที่เป็นอกุศล ก็สามารถทำได้ค่ะ

    ถ้าบอกว่า ทำอย่างไร ความหนักแน่นมั่นคง และความขันติอดทนต่ออารมณ์ที่เกิดขึ้นก็ไม่ให้เราใช้นิสัยเดิม

    ที่นี้มันก็จะมีประเด็นถกเถียงกันอีกใข่ไหมค่ะว่า..

    เราไม่ให้มันเกิดขึ้นแสดงว่ามันยังฝังอยู่ในตัวเราเป็นนิสัย

    แต่ก็จะมีประเด็นที่น่าสนใจอีกว่า..

    คนที่จะมีความหนักแน่นในอารมณ์ได้ ด้วยความขันติอดทนในอารมณ์นั้น แสดงว่าเขาต้องเห็นอะไร เขาจึงทำอย่างนั้นได้

    การเห็นอารมณ์ทำให้เขาเห็นคุณ เห็นโทษ รู้ว่าสิ่งใดมีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์ เขาจึงทำเช่นนั้น

    แล้วนิสัยจะหายไปได้อย่างไร?

    การไม่เกิดขึ้นมาอีก...นั่นแหละค่ะ คือ...การละ การเลิกนิสัยแบบเดิมๆ

    ส่วนผู้ที่มีปัญญา บางคนก็ใช้สัญญาอารมณ์ ในการพิจารณาหาเหตุผลเพื่อลดละนิสัยไปให้เบาบางก็มีค่ะ
     
  12. สาสนี

    สาสนี Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2015
    โพสต์:
    197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +210
    ทีนี้ความคิด มันเป็นเจตนาใช่ไหมค่ะ

    ก็ยังถือว่าความคิดเป็นกรรม

    เจตนาที่ดีเป็นกุศล สามารถลบล้างเจตนาอกุศลได้ ด้วยการตั้งสัจจะปฏิบ้ติตน ถือว่าเจตนาดี เป็นขั้นต้นของการสร้างบุญบารมี ที่ทรงตรัสไว้ว่า "จิตที่ตั้งไว้ดีแล้ว ย่อมนำความสุขมาให้"

    และความคิดทำให้เกิดปัญญา ที่เป็นไปเพื่อ คิดรู้ หรือรู้คิด

    เพราะเราทุกคนกระทำกรรมด้วยจิต เป็นอันดับแรก

    รู้คิด หรือ คิดรู้ ก็คือ กระทำไปพร้อมด้วยสติสัมปชัญญะ และมีเหตุผลนะคะ
     
  13. สาสนี

    สาสนี Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2015
    โพสต์:
    197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +210
    หากไม่คิดรู้ หรือ รู้คิด หรือคิดโดยไม่มีสติสัมปชัญญะ หรือคิดหาเหตุผลโดยมีอารมณ์ร่วมด้วย ไม่วางใจเป็นกลาง ความคิดนั้นย่อมเปํนพิษกลับมาทำร้ายตนเอง ทำให้เกิดปฏิกิริยาต่อร่างกายและจิตใจมีผล เพราะเป็นใช้พลังจิตหรือกำลังของจิตมากเกินไป ทำให้เหนื่อยล้า แต่หากคิดด้วยใจที่สงบมีเหตุผลและเกิดปัญญา จะเป็นการเพิ่มพลังจิตไปภายในตัว ลองดูซิค่ะ
     
  14. สาสนี

    สาสนี Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2015
    โพสต์:
    197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +210
    ตามหัวข้อกระทู้ค่ะ แล้วจริงๆ แล้วจริงๆคือสิ่งใด

    หมั่นพิจารณาอบรมจิต พิจารณาอารมณ์ที่มาปรุงแต่งจิต และ ละวาง

    จิต วิญญาณ ธาตุ ธรรมะ

    ถ้าจิตระวังวิญญาณ ธาตุจะนิ่งก็คือกายจะนิ่ง ธรรมะก็จะไหลเข้าสู่จิต หากจิตไม่ระมัดระวังวิญญาณ เมื่อธาตุไม่นิ่ง หรือกายไม่สงบ ก็จะปิดกระแสจิต ธรรมไม่สามารถวิ่งเข้าสู่จิตได้ ก็จะเป็นกรรม

    ผู้มีปัญญาลองพิจารณาดูนะคะว่าคือสิ่งใด ได้รู้มาจากคำสอนของครูบาอาจารย์ เป็นหลักธรรมโลกุตระ ค่ะ
     
  15. สาสนี

    สาสนี Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2015
    โพสต์:
    197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +210
    ขอแก้ไขความเข้าใจนิดนึงค่ะ

    สิ่งที่ได้กล่าวไปนั้น ขออนุญาตทำความเข้าใจใหม่ค่ะ ว่าเป็นปัจตังเว รู้ได้เฉพาะตนค่ะ อาจใช้ไม่ได้กับทุกคน. เป็นเพียงประสบการณ์ของตนเองที่ทำแล้วไดัผลเกิดขึ้นกับตนเองบ้างเท่านั้น เนื่องจากวิธีนี้ อันเป็นเหตุมาจาก สร้างวิบากกรรมทางอารมณ์ไวัมาก อารมณ์ที่เป็นกรรมอกุศลที่มีผลรุนแรงจะมีผลต่อตนเองมาก เปรียบเสมือนความมือบอดครอบคลุมตนเองไว้ แสงสว่างเข้าไปไม่ได้ ต้องรับผลแห่งกรรมนั้นก่อน การยอมรับผิด การสำนึกผิด การขออโหสิกรรมต่อสิ่งที่กระทำผิดทั้งหลาย. เป็นคลี่คลายอารมณ์ให้เบาง พร้อมกับกับตั้งสัจจะว่าจะไม่กระทำแบบเดิมอีก เป็นการช่วยลดกรรม บรรเทากรรมให้เบาบางได้

    เมื่อสีดำแห่งกรรมเริ่มลดลง เราก็สามารถนำสิ่งดีๆเข้าสู่จิตด้วยการสรัางกุศลกรรมให้กับจิต

    ทำไมจึงกล่าวอย่างนั้น เพราะขณะที่มีสติ เราจะรู้ได้เลยว่าการเกิดขึ้นของวิบากที่ทำให้จิตเป็นทุกข์ มันมาได้อย่างไรก็ ทำไมเราจึงบังคับใหัมันเป็นอย่างที่ต้องการ เราไม่การเป็นอย่างนี้ เราไม่ได้จะมีความรู้สึกนึกคิดที่จะทำอย่างนึ้ มันมาจากไหน ยิ่งเราต่อต้าน ยิ่งฝืนก็ยิ่งทุกข์ จนกว่าเราจะมีสติไปเห็นความจริงว่า เราเคยมีอารมณ์รู้สึกแบบนึักับคนอื่นไวั ทำให้เขาไดัรับความทุกข์ทางใจด้วยอารมณ์ของเรา เวลากรรมให้ผล มันจึงแสดงอารมณ์นั้นออกมาให้เห็น ใหัเรารับทุกข์ เป็นความรู้สึกภายในที่เกิดปฎิกริยาขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ โดยที่เราไม่อยากได้หรือ ต้องการจะเป็นอย่างนีัเลย มันบังคับไม่ได้ เปํนวิบากรรมที่ใหัผลทางด้านอารมณ์ในขณะที่เราปฎิบัติค่ะ แสดงให้เราเห็น ถ้ามีสติเห็นโทษภัย และสำนึกได้ว่าไม่ดี ก็มีการพิจารณาสัญญาอารมณ์เพื่อสำนึกผิด ลดละแก้ไข ปรับปรุงตนเองใหม่ สิ่งที่ให้ผลมานั้นก็เบาบางหายไปไม่เกิดขึ้นมาอีกค่ะ


    ทีนี้ได้ไปอ่านเรื่องมหาสติของการปฏิบัติของท่านหนึ่งท่านฝึกสติจนเห็นเหตุของการเกิด ไม่ต้องยกเหตุผลมาหักล้างสิ่งนั้นไม่เกิดขึ้นอีก ก็มีค่ะ


    แล้วที่จริงแล้วการพิจารณาโดยใช้ความคิดนั้น น้อยรายที่จะประสบความสำเร็จเพราะต้องมีมูลที่เก็บไว้ในจิตมากพอและตัองเป็นความคิดที่ไม่มีเจตนาที่จะคิดด้วยค่ะ

    การฝึกสติโดยการรู้สึกตัว โดยไม่คิด ถ้าคิดแล้วไม่รู้สึกตัว ถือว่าหลงไป คือหลงไปเป็นความคิด เป็นผู้คิด แต่ตัวของตัวเองหายไปไหนก็ไม่รู้ มีแต่ผู้คิดไม่มีตัวเองถือว่าหลงไปค่ะ. แต่ถ้าดึงความหลงจากการคิด แล้วมารู้สึกตัวจะเลิกคิด ความคิดจะหายไปทันที จะเหลือแต่ความรู้สึกตัว แต่ถ้ารู้สึกทั้งตัว แล้วมีความคิดผุดขึันมา ธรรมผุดก็เป็นปัญญาค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 เมษายน 2017

แชร์หน้านี้

Loading...