พุทธศาสนสุภาษิต

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย สันโดษ, 18 ตุลาคม 2008.

  1. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    [​IMG]
    สุภาษิต แปลว่า ถ้อยคำที่กล่าวไว้ดี (สุ=ดี, ภาษิต=กล่าว) สามารถนำมาเป็นคติ ยึดถือเป็นหลักใจได้
    พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดีๆ ในพระพุทธศาสนา แต่มิได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม
    เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต (หรือ พระพุทธพจน์) ถ้าพระโพธิสัตว์ กล่าวเรียกว่า โพธิสัตว์ภาษิต ถ้าพระสาวกกล่าว ก็เรียกว่า เถรภาษิต บ้าง สาวกภาษิต บ้าง แม้แต่คำที่เทวดากล่าว และพระพุทธองค์ได้ตรัสรับรองว่าดีด้วยการตรัสคำนั้นซ้ำ เรียกว่า เทวดาภาษิต เป็นต้น
    ฉะนั้น จึงเป็นเรื่องที่ควรระมัดระวัง มิใช่ว่า เห็นว่าเป็นพุทธศาสนสุภาษิต หรือเห็นเป็นคำบาลี แล้วก็เดาเอาว่าเป็นพระพุทธพจน์ โดยมิได้ดูที่มาของสุภาษิตนั้นให้แน่นอน อาจจะเป็นการตู่พระพุทธวจนะได้
    ยกตัวอย่างเช่น คำว่า นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ กตญฺญูกตเวทิตา - ความกตัญญูเป็นเครื่องหมายของคนดี เป็นคำของ ....
    สุภาษิตที่นำมาลงไว้นี้ เกือบทั้งหมด บูรพาจารย์รุ่นก่อนๆ ได้นำมาจากคัมภีร์พระไตรปิฎก อยู่ในรูปร้อยกรอง ที่เรียกว่า คาถา หรือ ฉันท์ โดยนำเป็นช่วงสั้นๆเพื่อสะดวกแก่การจดจำนำไปใช้


    หากผู้อ่านเห็นว่ามีภาษิตใดที่สมควรนำมาลงไว้ หรือต้องการแสดงความคิดเห็น โปรดแจ้งได้ที่ info@dhammalife.com


    ข้อมูลจาก http://www.dhammalife.com/dhamma/bhasit/index.php
     
  2. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ตน

    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=279>ชนะตนนั่นแหละ เป็นดี </TD><TD width=11></TD><TD width=247>อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย
    ขุ.ธ. ๒๕/๒๙




    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>ได้ยินว่าตนแลฝึกยาก




    </TD><TD></TD><TD>อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๖





    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ตนที่ฝึกดีแล้ว เป็นแสงสว่างของบุรุษ </TD><TD></TD><TD>อตฺตา สุทนฺโต ปุริสสฺส โชติ
    สํ.ส. ๑๕/๒๔๘




    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ตนแล เป็นที่พึ่งของตน</TD><TD></TD><TD>อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ
    ขุ. ธ. ๒๕/๓๖, ๖๖.




    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ตนแล เป็นคติของตน</TD><TD></TD><TD>อตฺตา หิ อตฺตโน คติ
    ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.




    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ตนทำบาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง </TD><TD></TD><TD>อตฺตนา ว กตํ ปาปํ อตฺตนา สงฺกิลิสฺสติ
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๗




    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ตนไม่ทำบาปเอง ย่อมหมดจดเอง </TD><TD></TD><TD>อตฺตนา อกตํ ปาปํ อตฺตนา ว วิสุชฺฌติ
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๗




    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>มนุษย์ผู้เห็นแก่ประโยชน์ตน เป็นคนไม่สะอาด </TD><TD></TD><TD>อตฺตตฺถปญฺญา อสุจี มนุสฺสา
    ขุ.สุ. ๒๕/๒๙๖/๓๓๙




    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>บัณฑิต ย่อมฝึกตน </TD><TD></TD><TD>อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา
    ขุ.ธ. ๒๕/๒๕




    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>ผู้ประพฤติดี ย่อมฝึกตน




    </TD><TD></TD><TD>อตฺตานํ ทมยนฺติ สุพฺพตา
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๔




    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>บุคคลมีตนฝึกดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้ยาก.




    </TD><TD></TD><TD>อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ.
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๖




    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ถ้ารู้ว่าตนเป็นที่รัก ก็ควรรักษาตนนั้นให้ดี




    </TD><TD></TD><TD>อตฺตานญฺเจ ปิยํ ชญฺญา รกฺเขยฺย นํ สุรกฺขิตํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๖




    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ถ้าพร่ำสอนผู้อื่นฉันใด ก็ควรทำตนฉันนั้น </TD><TD></TD><TD vAlign=top>อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ
    ขุ.ธ.๒๕/๓๖




    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>จงถอนตนขึ้นจากหล่ม เหมือนช้างตกหล่มถอนตนขึ้นฉะนั้น </TD><TD></TD><TD>ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโนว กุญฺชโร
    ขุ.ธ. ๒๕/๕๘




    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลไม่พึงยังประโยชน์ของตนให้เสื่อม เพราะประโยชน์ของผู้อื่นแม้มาก บุคคลรู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน




    </TD><TD></TD><TD>อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย
    อตฺตทตฺถมภิ
     
  3. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    จิต

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD>เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคคติเป็นอันหวังได้</TD><TD></TD><TD>จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา
    ม.มู. ๑๒/๖๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เมื่อจิตไม่เศร้าหมอง สุคติเป็นอันหวังได้</TD><TD></TD><TD>จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา
    ม.มู. ๑๒/๖๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>โลกถูกจิตนำไป
    </TD><TD></TD><TD>จิตฺเตน นียติ โลโก
    สํ.ส. ๑๕/๑๘๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>การฝึกจิตเป็นความดี</TD><TD></TD><TD>จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ ขุ. ธ. ๒๕/๑๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ </TD><TD></TD><TD>จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ขุ. ธ. ๒๕/๑๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>จิตที่คุ้มครองแล้วนำสุขมาให้ </TD><TD></TD><TD>จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ
    ขุ. ธ. ๒๕/๑๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ประพฤติตามอำนาจจิตย่อมลำบาก </TD><TD></TD><TD>วิหญฺญตี จิตฺตวสานุวตฺตี
    ขุ. ชา. ๒๗/๓๑๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงรักษาจิตของตน เหมือนคนประคองบาตรที่เต็มด้วยน้ำมัน
    </TD><TD></TD><TD>เตลปตฺตํ ยถา ปริหเรยฺย เอวํ สจิตฺตมนุรกฺเข
    ขุ. ชา. ๒๗/๙๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>จงตามรักษาจิตของตน</TD><TD></TD><TD>สจิตฺตมนุรกฺขถ
    ขุ.ธ. ๒๕/๕๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิต</TD><TD></TD><TD>จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี
    ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ก็บาปเกิดจากอารมณ์ใด ๆ พึงห้ามใจจากอารมณ์นั้น ๆ </TD><TD></TD><TD>ยโต ยโต จ ปาปกํ ตโต ตโต มโน นิวารเย
    สํ.ส. ๑๕/๖๓
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เมื่อจิตไม่มั่นคง ไม่รู้พระสัทธรรม
    มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ปัญญาย่อมไม่บริบูรณ์

    </TD><TD></TD><TD>อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺส สทฺธมฺมํ อวิชานโต
    ปริปฺลวปสาทสฺส ปญฺญา น ปริปูรติ

    ขุ. ชา. ๒๗/๑๓
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สติกำหนดลมหายใจเข้าออก อันผู้ใดไม่อบรมให้บริบูรณ์ ทั้งกายทั้งจิตของผู้นั้นก็หวั่นไหว
    </TD><TD></TD><TD>อานาปานสฺสติ ยสฺส อปริปุณฺณา อภาวิตา
    กาโยปิ อิญฺชิโต โหติ จิตฺตมฺปิ โหติ อิญฺชิตํ

    ขุ. ปฏิ. ๓๑/๓๖๙
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สติกำหนดลมหายใจเข้าออก อันผู้ใดอบรมบริบูรณ์ดีแล้ว ทั้งกายทั้งจิตของผู้นั้นก็ไม่หวั่นไหว
    </TD><TD></TD><TD>อานาปานสฺสติ ยสฺส ปริปุณฺณา สุภาวิตา
    กาโยปิ อนิญฺชิโต โหติ จิตฺตมฺปิ โหติ อนิญฺชิตํ

    ขุ. ปฏิ. ๓๑/๓๖๙
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>โจรกับโจรหรือไพรีกับไพรี พึงทำความพินาศให้แก่กัน
    ส่วนจิตตั้งไว้ผิด พึงทำให้เขาเสียหายยิ่งกว่านั้น
    </TD><TD></TD><TD>ทิโส ทิสํ ยนฺตํ กยิรา เวริ วา ปน เวรินํ
    มิจฺฉา ปณิหิตํ จิตตํ ปาปิโย นํ ตโต กเร

    ขุ. ธ. ๒๕/๑๓
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>มารดาบิดาหรือญาติเหล่าอื่น ไม่พึงทำเหตุนั้นให้ได้
    ส่วนจิตที่ตั้งไว้ดีแล้ว พึงทำเขาให้ดีกว่านั้น

    </TD><TD></TD><TD>น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิจ ญาตกา
    สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร

    ขุ. ธ. ๒๕/๑๓
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ฝนย่อมรั่วรดเรือนที่มุงไม่ดีฉันใด
    ราคะย่อมรั่วรดจิตที่ไม่ได้อบรมฉันนั้น

    </TD><TD></TD><TD>ยถา อคารํ ทุจฺฉนฺนํ วุฏฺ
     
  4. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    บุคคล

    <TABLE width="88%"><TBODY><TR vAlign=top><TD>ชื่อว่าบัณฑิตย่อมทำประโยชน์ให้สำเร็จได้แล </TD><TD></TD><TD>สาธุ โข ปณฺฑิโต นาม
    สํ. ส. ๑๕/๘๒๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บัณฑิตผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมรุ่งเรืองเหมือนไฟสว่าง </TD><TD></TD><TD>ปณฺฑิโต สีลสมฺปนฺโน ชลํ อคฺคีว ภาสติ
    ที.ปา. ๑๑/๑๙๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บัณฑิตย่อมเว้นสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ถึงเอาแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ </TD><TD></TD><TD>อนตฺถํ ปริวชฺเชติ อตฺถํ คณฺหาติ ปณฺฑิโต
    องฺ.จตุกฺก ๒๑/๔๒
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ในหมู่มนุษย์ ผู้ฝึกตนแล้วเป็นผู้ประเสริฐสุด </TD><TD></TD><TD>ทนฺโต เสฎฺโฐ มนุสฺเสสุ
    ขุ. ธ. ๒๕/๓๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนฉลาดย่อมละบาป </TD><TD></TD><TD>กุสโล จ ชหาติ ปาปกํ
    ขุ.อุ. ๒๕/๑๖๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนมีปัญญา ย่อมแนะนำทางที่ควรแนะนำ </TD><TD></TD><TD>นยํ นยติ เมธาวี
    ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๑๘๑๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปรีชาได้โภคะแล้ว ย่อมสงเคราะห์หมู่ญาติ</TD><TD></TD><TD>ธีโร โภเค อธิคมฺม สงฺคณฺหาติ จ ญาตเก
    ขุ.ชา. ๒๗/๙๓๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดไม่พูดเป็นธรรม ผู้นั้นไม่ใช่สัตบุรุษ </TD><TD></TD><TD>สนฺโต น เต เย น วทนฺติ ธมฺมํ
    สํ. ส. ๑๕/๗๒๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สัตบุรุษยินดีในการเกื้อกูลสัตว์ </TD><TD> </TD><TD>สนฺโต สตฺตหิเต รตา
    ชาตฏฺฐกถา ๑/๒๓๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สัตบุรุษทั้งหลายย่อมปรากฎได้ในที่ใกล เหมือนภูเขาหิมพานต์</TD><TD></TD><TD>ทูเร สนฺโต ปกาเสนฺติ หิมวนฺโตว ปพฺพโต
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สัตบุรุษมีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า </TD><TD></TD><TD>สนฺโต สคฺคปรายนา
    ขุ. ชา. ๒๗/๑๔๔๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้สงบใจได้ ย่อมนอนเป็นสุข </TD><TD></TD><TD>อุปสนฺโต สุขํ เสติ
    ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๔๑๕.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>กลิ่นของสัตบุรุษย่อมหอนทวนลมได้ </TD><TD></TD><TD>สตญจ คนฺโธ ปฏิวาตเมติ
    ขุ. ธ. ๒๕/๑๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนซึ่งรู้สึกตนว่าโง่ จะเป็นผู้ฉลาดเพราะเหตุนั้นได้บ้าง </TD><TD></TD><TD>โย พาโล มญฺญติ พาลฺยํ ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส
    ขุ. ธ. ๒๕/๑๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>อสัตบุรุษ แม้นั่งอยู่ในที่นี้เองก็ไม่ปรากฎ เหมือนลูกศรที่ยิงไปกลางคืน ฉะนั้น
    </TD><TD></TD><TD>อสนฺเตตฺถ น ทิสฺสนฺติ รตฺติขิตฺตา ยถา สรา
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>อสัตบุรุษย่อมไปนรก </TD><TD></TD><TD>อสนฺโต นิรยํ ยนฺติ
    สํ. ส. ๑๕/๙๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ </TD><TD></TD><TD>สุวิชาโน ภวํ โหติ
    ขุ. สุ. ๒๕/๓๐๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้เคารพย่อมมีผู้เคารพตอบ </TD><TD></TD><TD>ครุ โหติ สคารโว
    ขุ. ชา. ๒๘/๔๐๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ไหว้ย่อมได้รับไหว้ตอบ </TD><TD></TD><TD>วนฺทโก ปฎิวนฺทนํ
    ขุ. ชา. ๒๘/๔๐๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้กินคนเดียวไม่ได้ความสุข </TD><TD></TD><TD>เนกาสี ลภเต สุขํ
    ขุ. ชา. ๒๗/๑๖๗๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก </TD><TD></TD><TD>นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต
    ขุ. ธ. ๒๕/๒๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนแข็งกระด้างก็มีเวร </TD><TD></TD><TD>อติติกฺโข จ เวรวา
    ขุ. ชา. ๒๗/๑๗๐๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนตรงไม่พูดคลาดความจริง </TD><TD></TD><TD>น อุชุภูตา วิตถํ ภณนฺติ
    ขุ. ชา. ๒๗/๕๐๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>มารดาบิดาท่านว่าเป็นบูรพาจารย์ (ของบุตร) </TD><TD></TD><TD>ปุพพาจริยาติ วุจฺจเร
    องฺ.ติก. ๒๐/๑๖๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>มารดาบิดาเป็นที่นับถือของบุตร</TD><TD></TD><TD>อาหุเนยฺยา จ ปุตฺตานํ
    ขุ.อิติ. ๒๕/๒๘๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สามีเป็นเครื่องปรากฏของสตรี </TD><TD></TD><TD>ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา
    สํ.ส. ๑๕/๕๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บรรดาภริยาทั้งหลาย ภริยาผู้เชื่อฟัง เป็นผู้ประเสริฐ </TD><TD></TD><TD>สุสฺสูสา เสฏฺฐา ภริยานํ
    สํ.ส. ๑๕/๑๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บรรดาบุตรทั้งหลาย บุตรผู้เชื่อฟังเป็นผู้ประเสริฐ </TD><TD></TD><TD>โย จ ปุตฺตา นมสฺสโว
    สํ.ส. ๑๕/๑๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีความดี จงรักษาความดีของตนไว้ </TD><TD></TD><TD>คุณวา จาตฺตโน คุณํ
    ขุ.ชา.สตฺตก. ๒๗/๒๑๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เมื่อเขาขอโทษ ถ้าผู้ใดมีความขุ่นเคือง
    โกรธจัด ไม่ยอมรับ ผู้นั้นชื่อว่า หมกเวรไว้

    </TD><TD></TD><TD>อจฺจยํ เทสยนฺตีนํ โย เจ น ปฏิคณฺหติ
    โกปนฺตโร โทสครุ ส เวรํ ปฏิมุจฺจติ

    สํ.ส. ๑๕/๑๑๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ที่มีมารดาบิดาเลี้ยงมาได้โดยยากอย่างนี้
    ไม่บำรุงมารดาบิดา ประพฤติผิดในมารดาบิดา ย่อมเข้าถึงนรก
    </TD><TD></TD><TD>เอวํ กิจฺฉาภโต โปโส ปิตุ อปริจารโก
    ปิตริมิจฺฉาจริตฺวาน นิรยํ โส อุปปชฺชติ

    ขุ.ชา. ๒๘/๑๖๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ถีงเป็นคนมีเดช มีปัญหาเฉียบแหลม อันคนเป็นอันมากสักการบูชา อยู่ในอำนาจสตรีเสียแล้วย่อมไม่รุ่งเรือง เหมือนพระจันทร์ถูกพระราหูบังฉะนั้น </TD><TD></TD><TD>เตชวาปิ หิ นโร วิจกฺขโณ
    สกฺกโต พหุชนสฺส ปูชิโต
    นารีนํ วสงฺคโต น ภาสติ
    ราหุนา อุปหโตว จนฺทิมา

    ขุ.ชา. ๒๘/๓๑๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สัตบุรุษทั้งหลายย่อมปรากฎได้ในที่ใกล เหมือนภูเขาหิมวันต์
    อสัตบุรุษทั้งหลายถึงในที่นี้ก็ไม่ปรากฎ เหมือนลูกศรที่ยิงไปกลางคืน ฉะนั้น
    </TD><TD></TD><TD>ทูเร สนฺโต ปกาเสนฺติ หิมวนฺโตว ปพฺพโต
    อสนฺเตตฺถ น ทิสฺสนฺติ รตฺติขิตฺตา ยถา สรา

    ขุ.ธ. ๒๕/๓๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปรีชาได้โภคะแล้ว ย่อมสงเคราะห์หมู่ญาติ
    เพราะการสงเคราะห์นั้น เขาย่อมได้เกียรติ ละไปแล้วย่อมบันเทิงในสวรรค์
    </TD><TD></TD><TD>ธีโร โภเค อธิคมฺม สงฺคณฺหาติ จ ญาตเก
    เตน โส กิตฺตึ ปปฺโปติ เปจฺจ สคฺเค ปโมทติ

    ขุ.ชา. ๒๗/๙๓๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ตราบเท่าที่บาปยังไม่ให้ผล คนเขลายังเข้าใจว่ามีรสหวาน
    แต่บาปให้ผลเมื่อใด คนเขลาย่อมประสบทุกข์เมื่อนั้น
    </TD><TD></TD><TD>มธุวา มญฺญตี พาโล ยาว ปาปํ น ปจฺจติ
    ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (พาโล) ทุกฺขํ นิคจฺฉติ

    ขุ.ธ. ๒๕/๑๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดทำกรรมชั่วแล้ว ละเสียได้ด้วยกรรมดี
    ผู้นั้นย่อมยังโลกให้สว่าง เหมือนพระจันทร์พ้นจากเมฆ
    </TD><TD></TD><TD>ยสฺส ปาปํ กตํ กมฺมํ กุสเลน ปิถียติ
    โสมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตฺโตว จนฺทิมา

    ม.ม. ๑๓/๕๓๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลนั่งหรือนอน (อาศัย) ที่ร่มเงาตันไม้ใด
    ไม่ควรรานกิ่งต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตร เป็นคนเลวทราม

    </TD><TD></TD><TD>ยสฺส รุกฺขสฺส ฉายาย นิสีเทยฺย สเยยฺย วา
    น ตสฺส สาขํ ภญฺเชยฺย มิตฺตทุพฺโภ หิ ปาปโก

    ขุ.เปต. ๒๖/๑๐๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดย่อมเลี้ยงมารดาบิดาโดยธรรม
    บัณฑิตย่อมสรรเสริญผู้นั้นในโลกนี้ เขาละไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์
    </TD><TD></TD><TD>โย มาตรํ ปิตรํ วา มจฺโจ ธมฺเมน โปสติ
    อิเธว นํ ปสํสนฺติ เปจฺจ สคฺเค ปโมทติ

    ขุ.ชา. ๒๘/๕๒๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">ผู้ใดไม่โกรธ ไม่ผูกโกรธ ไม่ลบหลู่ ถึงความหมดจด มีทิฏฐิสมบูรณ์ มีปัญญา, พึงรู้ว่าผู้นั้นเป็นอริยะ. </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">อกฺโกธโน อนุปนาหี อมกฺขี สุทฺธตํ คโต
    สมฺปนฺนทิฏฺฐิ เมธาวี ตํ ชญฺญา อริโย อิติ

    (สารีปุตฺตเถร) ขุ ปฏิ. ๓๑/๒๔๑.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนเขลาย่อมซูบซีด เพราะคำนึงถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง เพราะเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงไปแล้ว เหมือนต้นอ้อสดที่ถูกตัด.</TD><TD></TD><TD>อนาคตปฺปชปฺปาย อตีตสฺสานุโสจนา
    เอเตน พาลา สุสฺสนฺติ นโฬว หริโต ลุโต.

    สํ. ส. ๑๕/๗.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนฉลาด ไม่ฟุ่งซ่าน ไม่คลอนแคลน มีปัญญา สำรวมอินทรีย์ มีมิตรดี พึงทำที่สุดทุกข์ได้.</TD><TD></TD><TD>อนุทฺธโต อจปโล นิปโก สํวุตินฺทฺริโย
    กลฺยาณมิตฺโต เมธาวี ทุกฺขสฺสนฺตกโร สิยา.

    (อญฺญาโกณฺฑญฺญเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๖๖.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>กามทั้งหลายมีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก, บัณฑิตรู้ดังนี้แล้ว ไม่ใยดีในกามแม้เป็นทิพย์. </TD><TD></TD><TD>อปฺปสฺสาทา ทุกฺขา กามา อิติ วิญฺญาย ปณฺฑิโต
    อปิ ทิพฺเพสุ กาเมสุ รตึ โส นาธิคจฺฉติ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๔๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ประกอบตนในสิ่งที่ไม่ควรประกอบ และไม่ประกอบตนในสิ่งควรประกอบ ละประโยชน์เสีย ถือตามชอบใจ ย่อมกระหยิ่มต่อผู้ประกอบตนเนืองๆ. </TD><TD></TD><TD>อโยเค ยุญฺชมตฺตานํ โยคสฺมิญฺจ อโยชยํ
    อตฺถํ หิตฺวา ปิยคฺคาหี ปิเหตตฺตานุโยคินํ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๔๓.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดรู้ธรรมของอสัตบุรุษและของสัตบุรุษ ทั้งภายใน ทั้งภายนอก มีเทวดาและมนุษย์บูชาในโลกทั้งปวง ผู้นั้นจึงล่วงข่ายคือเครื่องข้องได้ และเป็นมุนี. </TD><TD></TD><TD>อสตญฺจ สตญฺจ ญตฺวา ธมฺมํ
    อชฺฌตฺตํ พหิทฺธา จ สพฺพโลเก
    เทวมนุสฺเสหิ จ ปูชิโต โย
    โส สงฺคชาลมติจฺจ โส มุนิ.

    ขุ. สุ. ๒๕/๔๓๒. ขุ. มหา. ๒๙/๔๐๖.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สมณะภายนอกไม่มี, สังขารเที่ยงไม่มี, ความหวั่นไหวของพระพุทธเจ้าทั้งหลายไม่มี, เหมือนรอยเท้าไม่มีในอากาศ.</TD><TD></TD><TD>อากาเสว ปทํ นตฺถิ สมโณ นตฺถิ พาหิโร
    สงฺขารา สสฺสตา นตฺถิ นตฺถิ พุทฺธานมิญฺชิตํ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๔๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เกียรติยศย่อมเจริญแก่ผู้ขยัน มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญแล้วจึงทำ สำรวมแล้ว เป็นอยู่โดยธรรม และไม่ประมาท.</TD><TD></TD><TD>อุฏฺฐานวโต สตีมโต สุจิกมฺมสฺส นิสมฺมการิโน
    สญฺญตสฺส จ ธมฺมชีวิโน อปฺปมตฺตสฺส ยโสภิวฑฺฒติ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ชนะย่อมก่อเวร ผู้แพ้ย่อมนอนเป็นทุกข์ คนละความชนะและความแพ้ได้แล้ว สงบใจได้ ย่อมนอนเป็นสุข </TD><TD></TD><TD>ชยํ เวรํ ปสวติ ทุกฺขํ เสติ ปราชิโต
    อุปสนฺโต สุขํ เสติ หิตฺวา ชยปราชยํ.

    ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๔๑๕.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>(เพราะธรรมของสัตบุรุษยากที่อสัตบุรุษจะประพฤติตาม) คติที่ไปจากโลกนี้ของสัตบุรุษและอสัตบุรุษจึงต่างกัน, คืออสัตบุรุษไปนรก, สัตบุรุษไปสวรรค์.
    </TD><TD></TD><TD>ตสฺมา สตญฺจ อสตญฺจ นานา โหติ อิโต คติ
    อสนฺโต นิรยํ ยนฺติ สนฺโต สคฺคปรายนา.

    ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๔๑๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เพราะนักปราชญ์มีสติตั้งมั่นในธรรมวินัยนี้ ไม่เสพกามและบาป พึงละกามทั้งทุกข์ได้ ท่านจึงกล่าวบุคคลนั้นว่า ผู้ไปทวนกระแส. </TD><TD></TD><TD>ตสฺมา หิ ธีโร อิธุปฏฺฐิตาสติ
    กาเม จ ปาเป จ อเสวมาโน
    สหาปิ ทุกฺเขน ชเหยฺย กาเม
    ปฏิโสตคามินี ตมาหุ ปุคฺคลํ.

    องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๗.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เมื่อสัตบุรุษให้สิ่งที่ให้ยาก ทำกรรมที่ทำได้ยาก, อสัตบุรุษย่อมทำตามไม่ได้ เพราะธรรมของสัตบุรุษยากที่อสัตบุรุษจะประพฤติตาม</TD><TD></TD><TD>ทุทฺททํ ททมานานํ ทุกฺกรํ กมฺมกุพฺพตํ
    อสนฺโต นานุกุพฺพนฺติ สตํ ธมฺโม ทุรนฺวโย.

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๖๓.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลเป็นคนเลวเพราะชาติก็หาไม่ เป็นผู้ประเสริฐเพราะชาติก็หาไม่ (แต่) เป็นคนเลวเพราะการกระทำ เป็นผู้ประเสริฐก็เพราะการกระทำ.</TD><TD></TD><TD>น ชจฺจา วสโล โหติ น ชจฺจา โหติ พฺราหฺมโณ
    กมฺมุนา วสโล โหติ กมฺมุนา โหติ พฺราหฺมโณ.

    ขุ. สุ. ๒๕/๓๕๒.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลถึงความสำเร็จแล้ว (พระอรหันตผล) ไม่สะดุ้ง ปราศจากตัณหา ไม่มีกิเลสเครื่องยั่วยวน ตัดลูกศรอันจะนำไปสู่ภพได้แล้ว ร่างกายจึงชื่อว่า มีในที่สุด.</TD><TD></TD><TD>นิฏฺฐํ คโต อสนฺตาสี วีตตณฺโห อนงฺคโณ
    อจฺฉินฺทิ ภวสลฺลานิ อนฺติโมยํ สมุสฺสโย.

    ขุ. ธ. ๒๕/๖๓.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดมีความสัตย์ มีธรรม มีความไม่เบียดเบียน มีความสำรวม
    และมีความข่มใจ ผู้นั้นแล ชื่อว่า ผู้มีปัญญา หมดมลทิน เขาเรียกท่านว่า เถระ.

    </TD><TD></TD><TD>ยมฺหิ สจฺจญฺจ ธมฺโม จ อหึสา สญฺญโม ทโม
    ส เว วนฺตมโล ธีโร โส เถโรติ ปวุจฺจติ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๕๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เมื่อใด บัณฑิตรู้ว่า ชราและมรณะเป็นทุกข์ กำหนดรู้ทุกข์ซึ่งเป็นที่อาศัยแห่งปุถุชน มีสติเพ่งพินิจอยู่ เมื่อนั้น ย่อมไม่ประกอบความยินดีที่ยิ่งกว่านั้น. </TD><TD></TD><TD>ยทา ทุกฺขํ ชรามรณนฺติ ปณฺฑิโต
    อวิทฺทสู ยตฺถ สิตา ปุถุชชนา
    ทุกฺขํ ปริญฺญาย สโต ว ฌายติ
    ตโต รตึ ปรมตรํ น วินฺทติ.

    (ภูตเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๔๔.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนบางพวกเหล่าใด ไม่สำรวมในกาม ยังไม่ปราศจากราคะ เป็นผู้บริโภคกามในโลกนี้, คนเหล่านั้นถูกตัณหาครอบงำ ลอยไปตามกระแส (ตัณหา) ต้องเป็นผู้เข้าถึงชาติชราร่ำไป.</TD><TD></TD><TD>เย เกจิ กาเมสุ อสญฺญตา ชนา
    อวีตราคา อิธ กามโภคิโน
    ปุนปฺปุนํ ชาติชรูปคา หิ เต
    ตณฺหาธิปนฺนา อนุโสตคามิโน.

    องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๗.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนเหล่าใดเขลา มีปัญญาทราม มีความคิดเลว ถูกความหลงปกคลุม, คนเช่นนั้น ย่อมติดเครื่องผูกอันมารทอดไว้นั้น.</TD><TD></TD><TD>เย จ โข พาลา ทุมฺเมธา ทุมฺมนฺตี โมหปารุตา
    ตาทิสา ตตฺถ รชฺชนฺติ มารกฺขิตฺตสฺมิ พนฺธเน.

    (นนฺทกเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๑๒.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปัญญาเหล่าใด ประกอบด้วยศีล ยินดีในความสงบด้วยปัญญา ผู้มีปัญญาเหล่านั้น เว้นไกลจากความชั่วแล้ว ไม่ต้องเชื่อผู้อื่น.
    </TD><TD></TD><TD>เย จ สีเลน สมฺปนฺนา ปญฺญายูปสเม รตา
    อารกา วิรตา ธีรา น โหนฺติ ปรปตฺติยา.

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/๑๔๓.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปัญญาเหล่าใด ขวนขวายในฌาน ยินดีในความสงบอันเกิดจากเนกขัมมะ เทวดาทั้งหลายก็พอใจต่อผู้มีปัญญา ผู้รู้ดีแล้ว มีสติเหล่านั้น.
    </TD><TD></TD><TD>เย ฌานปสุตา ธีรา เนกฺขมฺมูปสเม รตา
    เทวาปิ เตสํ ปิหยนฺติ สมฺพุทฺธานํ สตีมตํ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๓๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดเป็นคนขัดเคือง เหนียวแน่น ปรารถนาลามก ตระหนี่ โอ้อวด ไม่ละอาย และไม่เกรงกลัวบาป พึงรู้ว่า ผู้นั้นเป็นคนเลว.
    </TD><TD></TD><TD>โรสโก กทริโย จ ปาปิจฺโฉ มจฺฉรี สโฐ
    อหิริโก อโนตฺตปฺปี ตํ ชญฺญา วสโล อิติ.

    ขุ. สุ. ๒๕/๓๕๑.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD><TR vAlign=top><TD>ผู้มีบุตรย่อมเศร้าโศกเพราะบุตร, ผู้มีโคย่อมเศร้าโศกเพราะโคเหมือนกัน, นรชนมีความเศร้าโศกเพราะอุปธิ, ผู้ใด ไม่มีอุปธิ ผู้นั้น ไม่ต้องเศร้าโศกเลย.</TD><TD></TD><TD>โสจติ ปุตฺเตหิ ปุตฺติมา
    โคมิโก โคหิ ตเถว โสจติ
    อุปธีหิ นรสฺส โสจนา
    น หิ โส โสจติ โย นิรูปธิ.

    สํ. ส. ๑๕/๙.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    กรรม

    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width="53%">กรรมชั่วของตนเอง ย่อมนำไปสู่ทุคคติ </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">สานิ กมฺมานิ นยนฺติ ทุคฺคตึ
    ขุ.ธ. ๒๕/๔๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความดี อันคนดีทำง่าย</TD><TD></TD><TD>สุกรํ สาธุนา สาธุ
    ขุ.อุ. ๒๕/๑๖๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความดี อันคนชั่วทำยาก </TD><TD></TD><TD>สาธุ ปาเปน ทุกฺกรํ
    ขุ.อุ. ๒๕/๑๖๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ทำกรรมใดแล้วไม่ร้อนใจภายหลัง กรรมที่ทำนั้นแลเป็นดี </TD><TD></TD><TD>ตญฺจ กมฺมํ กตํ สาธุ ยํ กตฺวา นานุตปฺปติ
    ขุ.ธ. ๒๕/๒๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ทำกรรมใดแล้วร้อนใจภายหลัง กรรมที่ทำแล้วนั้นไม่ดี </TD><TD></TD><TD>น ตํ กมฺมํ กตํ สาธุ ยํ กตฺวา อนุตปฺปติ
    ขุ.ธ. ๒๕/๒๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น
    ผู้ทำกรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทำกรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว
    </TD><TD></TD><TD>ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ
    กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ

    สํ.ส. ๑๕/๓๓๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ใคร่ครวญก่อนแล้วจึงทำดีกว่า </TD><TD></TD><TD>นิสมฺม กรณํ เสยฺโย
    ว.ว.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงรักษาความดีของตนไว้ ดังเกลือรักษาความเค็ม </TD><TD></TD><TD>รกฺเขยฺย อตฺตโน สาธุ ํ ลวณํ โลณตํ ยถา
    ส.ส.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ไม่พึงทำประโยชน์แก่ผู้มุ่งความพินาศ </TD><TD></TD><TD>นานตฺถกามสฺส กเรยฺย อตฺถํ
    ขุ.ชา.ทสก. ๒๗/๘๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ประโยชน์ทั้งหลายย่อมล่วงเลยคน ผู้ทอดทิ้งการงาน
    ด้วยอ้างว่า หนาวนัก ร้อนนัก เย็นเสียแล้ว

    </TD><TD></TD><TD>อติสีตํ อติอุณฺห ํ อติสายมิทํ อหุ
    อิติ วิสฺฏฺฐกมฺมนฺเต อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว

    ที.ปาฏิ. ๑๑/๑๙๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เมื่อคนโง่มีปัญญาทราม ทำกรรมชั่วอยู่ก็ไม่รู้สึก
    เขาเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้
    </TD><TD></TD><TD>อถ ปาปานิ กมฺมานิ กรํ พาโล น พุชฺฌติ
    เสหิ กมฺเมหิ ทุมฺเมโธ อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ

    ขุ.ธ. ๒๕/๓๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดปรารถนาทำกิจที่ควรทำก่อนในภายหลัง
    ผู้นั้นย่อมเดือดร้อนในภายหลัง ดุจมาณพ (ผู้ประมาทแล้วรีบ) หักไม้กุ่ม ฉะนั้น

    </TD><TD></TD><TD>โย ปุพฺเพ กรณียานิ ปจฺฉา โส กาตุมิจฺฉติ
    วรุณกฏฺฐํ ภญฺโชว ส ปจฺฉา อนุตปฺปติ

    (โพธิสตฺต) ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๒๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ถ้าประสบสุขทุกข์ เพราะบุญบาปที่ทำไว้ก่อนเป็นเหตุ
    ชื่อว่าเปลื้องบาปเก่าที่ทำไว้ ดุจเปลื้องหนี้ ฉะนั้น
    </TD><TD></TD><TD>สเจ ปุพฺเพกตเหตุ สุขทุกฺขํ นิคจฺฉติ
    โปราณกํ กตํ ปาปํ ตเมโส มุญฺจเต อิณํ

    (โพธิสตฺต) ขุ.ชา.ปณฺณาส. ๒๘/๒๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สัตว์ทั้งหลายย่อมต้องการความสุข ผู้ใดแสวงหาสุขเพื่อตน
    ่เบียดเบียนเขาด้วยอาชญา ผู้นั้นละไปแล้ว ย่อมไม่ได้สุข
    </TD><TD></TD><TD>สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน วิหึสติ
    อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส น ลภเต สุขํ

    ขุ.ธ. ๒๕/๓๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สัตว์ทั้งหลายย่อมต้องการความสุข ผู้ใดแสวงหาสุขเพื่อตน
    ไม่เบียดเบียนเขาด้วยอาชญา ผู้นั้นละไปแล้ว ย่อมได้สุข
    </TD><TD></TD><TD>สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน น หึสติ
    อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส ลภเต สุขํ

    ขุ.ธ. ๒๕/๓๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้หมั่นในการงาน ไม่ประมาท เป็นผู้รอบคอบ
    จัดการงานเรียบร้อย, จึงควรอยู่ในราชการ.
    </TD><TD></TD><TD>อุฏฺฐาตา กมฺมเธยฺเยสุ อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ
    สุสํวิหิตกมฺมนฺโต ส ราชวสตึ วเส.

    ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๓๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ถ้าคนพึงทำบาป ก็ไม่ควรทำบาปนั้นบ่อยๆ ไม่ควรทำความพอใจในบาปนั้น เพราะการสั่งสมบาป นำทุกข์มาให้.</TD><TD></TD><TD>ปาปญฺเจ ปุริโส กยิรา น นํ กยิรา ปุนปฺปุนํ
    น ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ ทุกโข ปาปสฺส อุจฺจโย.

    ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้อื่นทำความดีให้ ทำประโยชน์ให้ก่อน แต่ไม่นึกถึง (บุญคุณ) เมื่อมีกิจเกิดขึ้นภายหลัง จะหาผู้ช่วยทำไม่ได้.</TD><TD></TD><TD>โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ
    ปจฺฉา กิจฺเจ สมุปฺปนฺเน กตฺตารํ นาธิคจฺฉติ.

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สัตว์ทั้งปวงหวาดต่ออาชญา ล้วนกลัวต่อความตาย ควรทำตนให้เป็นอุปมาแล้วไม่พึงฆ่าเอง ไม่พึงใช้ผู้อื่นให้ฆ่า
    </TD><TD></TD><TD>สพฺเพ ตสนฺติ ทณฺฑสฺส สพฺเพ ภายนฺติ มจฺจุโน
    อตฺตานํ อุปมํ กตฺวา น หเนยฺย น ฆาตเย

    ขุ. ธ. ๒๕/๓๒.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ความตาย

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="53%">ชีวิตของสัตว์เหมือนภาชนะดิน ล้วนมีความสลายเป็นที่สุด </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">สพฺพํ เภทปริยนฺติ เอวํ มจฺจาน ชีวิตํ
    ที.มหา. ๑๐/๑๔๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ทรัพย์สักนิดก็ติดตามคนตายไปไม่ได้ </TD><TD></TD><TD>น มิยฺยมานํ ธนมนฺเวติ กิญฺจิ
    ม.ม. ๑๓/๔๑๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ทั้งคนมีคนจน ล้วนมีแต่ความตายเป็นเบื้องหน้า </TD><TD></TD><TD>อฑฺฒา เจว ทฬิทฺทา จ สพฺเพ มจฺจุ ปรายนา
    ที.มหา. ๑๐/๑๔๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ทั้งเด็ก ทั้งผู้ใหญ่ ทั้งเขลา ทั้งฉลาด
    ล้วนไปสู่อำนาจแห่งความตาย ล้วนมีความตายเป็นเบื้องหน้า
    </TD><TD></TD><TD>ทหรา จ มหนฺตา จ เย พาลา เย จ ปณฺฑิตา
    สพฺเพ มจฺจุวสํ ยนฺติ สพฺเพ มจฺจุปรายนา

    นัย- ที.มหา. ๑๐/๑๔๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้เลี้ยงโคย่อมต้อนฝูงโค ไปสู่ที่หากินด้วยพลองฉันใด
    ความแก่และความตาย ย่อมต้อนอายุของสัตว์มีชีวิตไปฉันนั้น
    </TD><TD></TD><TD>ยถา ทณฺเฑน โคปาลา คาโว ปาเชติ โคจรํ
    เอวํ ชรา จ มจฺจุ จ อายุ ํ ปาเชนฺติ ปาณินํ

    ขุ.ธ. ๒๕/๓๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ห้วงน้ำที่เต็มฝั่ง พึงพัดต้นไม้ซึ่งเกิดที่ตลิ่งไปฉันใด
    สัตว์มีชีวิตทั้งปวง ย่อมถูกความแก่และความตายพัดไปฉันนั้น
    </TD><TD></TD><TD>ยถา วาริวโห ปูโร วเห รุกฺเข ปกูลเช
    เอวํ ชราย มรเณน วุยฺหนฺเต สพฺพปาณิโน

    (เตมิยโพธิสตฺต) ขุ.ชา.มหา. ๒๘/๑๖๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>กาลย่อมล่วงไป ราตรีย่อมผ่านไป ชั้นแห่งวัยย่อมละลำดับไป ผู้เล็งเห็นภัยในมรณะนั้น พึงทำบุญอันนำสุขมาให้</TD><TD></TD><TD>อจฺเจนฺติ กาลา ตรยนฺติ รตฺติโย
    วโยคุณา อนุปุพฺพํ ชหนฺติ
    เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขมาโน
    ปุญฺญานิ กยิราถ สุขาวหานิ.

    (นนฺทเทวปุตฺต) สํ. ส. ๑๕/๘๙.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ธรรม

    <TABLE width="88%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="53%">ธรรมเหมือนห้วงน้ำไม่มีตม </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">ธมฺโม รหโท อกทฺทโม
    ขุ.ชา.ฉกฺก. ๒๗/๒๐๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ธรรมที่ประพฤติดีแล้ว นำสุขมาให้ </TD><TD></TD><TD>ธมฺโม สุจิณฺโณ สุขมาวหาติ
    สํ.ส. ๑๕/๕๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม </TD><TD></TD><TD>ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ
    ขุ.เถร. ๒๖/๓๑๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ประพฤติธรรม ไม่ไปสู่ทุคติ </TD><TD></TD><TD>น ทุคฺคตึ คจฺฉติ ธมฺมจารี
    ขุ.เถร. ๒๖/๓๑๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เกียรติ ย่อมไม่ละผู้ตั้งอยู่ในธรรม</TD><TD></TD><TD>ธมฺเม ฐิตํ น วิชหาติ กิตฺติ
    องฺ.ปญฺจก. ๒๓/๕๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่ทำบาป </TD><TD></TD><TD>ธมฺเม ฐิตา เย น กโรนฺติ ปาปกํ
    องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๒๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงประพฤติธรรมให้สุจริต ไม่ควรประพฤติให้ทุจจริต</TD><TD></TD><TD>ธมฺมํ จเร สุจริตํ น ตํ ทุจฺจริตํ จเร
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เขากล่าวว่า ฟ้ากับดินไกลกัน และฝั่งทะเลก็ไกลกัน
    แต่ธรรมของสัตบุรุษกับอสัตบุรุษ ไกลกันยิ่งกว่านั้น
    </TD><TD></TD><TD>นภญฺจ ทูเร ปฐวี จ ทูเร
    ปารํ สมุทฺทสฺส ตทาหุ ทูเร
    ตโต หเว ทูรตรํ วทนฺติ
    สตญฺจ ธมฺโม อสตญฺจ ราช

    (พฺราหฺมณ) ขุ.ชา.อสีติ. ๒๘/๑๔๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เมื่อพระพุทธเจ้าผู้ทำความสว่างอุบัติขึ้นในโลก
    พระองค์ย่อมประกาศธรรมสำหรับดับทุกข์นี้
    </TD><TD></TD><TD>ยทา จ พุทฺธา โลกสฺมึ อุปฺปชฺชนฺติ ปภงฺกรา
    เต อิมํ ธมฺมํ ปกาเสนฺติ ทุกฺขูปสมคามินํ

    (สารีปุตฺต) ขุ.ปฏิ. ๓๑/๔๑๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ชนใดประพฤติธรรม ในธรรมที่พระพุทธเจ้ากล่าวดีแล้ว ชนเหล่านั้นจักข้ามแดนมฤตยูที่ข้ามได้ยาก </TD><TD></TD><TD>เย จ โข สมฺมทกฺขาเต ธมฺเม ธมฺมานุวตฺติโน
    เต ชนา ปารเมสฺสนฺติ มจฺจุเธยฺยํ สุทตฺตรํ

    ขุ.ธ. ๒๕/๒๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดปราถนาโภคทรัพย์ อายุ ยศ สุข อันเป็นทิพย์
    ผู้นั้นพึงงดเว้นบาปทั้งหลาย แล้วประพฤติสุจริตธรรม ๓ อย่าง
    </TD><TD></TD><TD>โย อิจฺเฉ ทิพฺพโภคญฺจ ทิพฺพมายุ ํ ยสํ สุขํ
    ปาปานิ ปริวชฺ เชตฺวา ติวิธํ ธมฺมมาจเร

    (เทวธีตา) ขุ.ชา.มหา. ๒๘/๓๐๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงขจัดตัณหาที่เป็นเหตุถือมั่นทั้งปวง ทั้งเบื้องสูง เบื้องต่ำ เบื้องขวาง ท่ามกลาง, เพราะเขาถือมั่นสิ่งใดๆ ในโลกไว้ มารย่อมติดตามเขาไป เพราะสิ่งนั้นๆ. </TD><TD></TD><TD>อาทานตณฺหํ วินเยถ สพฺพํ
    อุทฺธํ อโธ ติริยํ วาปิ มชฺเฌ
    ยํ ยํ หิ โลกสฺมึ อุปาทิยนฺติ
    เตเนว มาโร อนฺเวติ ชนฺตุ ํ.

    ขุ. สุ. ๒๕/๙๔๖. ขุ. จู. ๓๑/๒๐๒.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>จงเด็ดเยื่อใยของตนเสีย เหมือนเอาฝ่ามือเด็ดบัวในฤดูแล้ง
    จงเพิ่มพูนทางสงบ (ให้ถึง) พระนิพพานที่พระสุคตแสดงแล้ว
    </TD><TD></TD><TD>อุจฉินฺท สิเนหมตฺตโน
    กุมุทํ สารทิกํว ปาณินา
    สนฺติมคฺคเมว พฺรูหย
    นิพฺพานํ สุคเตน เทสิตํ

    ขุ. ธ. ๒๕/๕๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลควรเตือนกัน ควรสอนกัน และป้องกันจากคนไม่ดี เพราะเขาย่อมเป็นที่รักของคนดี แต่ไม่เป็นที่รักของคนไม่ดี.</TD><TD></TD><TD>โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย
    สตํ หิ โส ปิโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโย.

    ขุ. ธ. ๒๕/๒๕.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ภิกษุผู้เห็นโทษในกาม มีความประพฤติประเสริฐ ปราศจากตัณหา มีสติทุกเมื่อ พิจารณาแล้ว ดับกิเลสแล้ว ย่อมไม่มีความหวั่นไหว.

    </TD><TD></TD><TD>กาเมสุ พฺรหฺมจริยวา วีตตณฺโห สทา สโต
    สงฺขาย นิพฺพุโต ภิกฺขุ ตสฺส โน สนฺติ อิญฺชิตา.

    ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๑. ขุ. จู. ๓๐/๓๕.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ, เมื่อรักษาชีวิตพึงสละอวัยวะ เมื่อคำนึงถึงธรรม พึงสละอวัยวะ ทรัพย์ และแม้ชีวิต ทุกอย่าง.</TD><TD></TD><TD>จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ
    องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน
    องฺคํ ธนํ ชีวิตญฺจาปิ
    สพฺพํ จเช นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต.

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. อสีติ. ๒๘/๑๔๗.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงเป็นผู้พอใจและประทับใจในพระนิพพานที่บอกไม่ได้
    ผู้มีจิตไม่ติดกาม ท่านเรียกว่าผู้มีกระแสอยู่เบื้องบน.
    </TD><TD></TD><TD>ฉนฺทชาโต อนกฺขาเต มนสา จ ผุโฐ สิยา
    กาเม จ อปฏิพทฺธจิตฺโต อุทฺธํโสโตติ วุจฺจติ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๔๔.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ราชรถอันงดงามย่อมคร่ำคร่า แม้ร่างกายก็เข้าถึงชรา ส่วนธรรมของสัตบุรุษย่อมไม่เข้าถึงชรา สัตบุรุษกับสัตบุรุษเท่านั้นย่อมรู้กันได้.</TD><TD></TD><TD>ชีรนฺติ เว ราชรถา สุจิตฺตา
    อโถ สรีรมฺปิ ชรํ อุเปติ
    สตญฺจ ธมฺโม น ชรํ อุเปติ
    สนฺโต หเว สพฺภิ ปเวทยนฺติ.

    สํ. ส. ๑๕/๑๐๒.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ฉลาดนั้นเป็นผู้เพ่งพินิจ มีความเพียรติดต่อ บากบั่นมั่นคงเป็นนิตย์ ย่อมถูกต้องพระนิพพาน อันปลอดจากโยคะ หาธรรมอื่นยิ่งกว่ามิได้ </TD><TD></TD><TD>เต ฌายิโน สาตติกา นิจฺจํ ทฬฺหปรกฺกมา
    ผุสนฺติ ธีรา นิพฺพานํ โยคกฺเขมํ อนุตฺตรํ

    ขุ.ธ. ๒๕/๑๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น ทุกข์ย่อมตั้งอยู่ และเสื่อมไป นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับ. </TD><TD></TD><TD>ทุกฺขเมว หิ สมฺโภติ ทุกฺขํ ติฏฺฐติ เวติ จ
    นาญฺญตร ทุกฺขา สมฺโภติ นาญฺญตฺร ทุกฺขา นิรุชฺฌติ.

    (วชิราภิกฺขุนี) สํ. ส. ๑๕/๑๙๙, ขุ. มหา. ๒๙/๕๓๖.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>มหาราช ! ธรรมเป็นทาง (ควรดำเนินตาม) ส่วนอธรรมนอกลู่นอกทาง (ไม่ควรดำเนินตาม) อธรรมนำไปนรกถึงสวรรค์. </TD><TD></TD><TD>ธมฺโม ปโถ มหาราช อธมฺโม ปน อุปฺปโถ
    อธมฺโม นิรยํ เนติ ธมฺโม ปาเปติ สุคตึ.

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. สฏฺฐิ. ๒๘/๓๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เรา (ตถาคต) ไม่เห็นความสวัสดีของสัตว์ทั้งหลาย นอกจากปัญญา ความเพียร ความระวังตัว และการสละสิ่งทั้งปวง </TD><TD></TD><TD>นาญฺญตฺร โพชฺฌาตปสา นาญฺญตฺร อินฺทริยสํวรา
    นาญฺญตฺร สพฺพนิสฺสคฺคา โสตฺถึ ปสฺสามิ ปาณินํ

    สํ.ส. ๑๕/๗๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีจิตสงบ มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีสติ เป็นผู้เพ่งพินิจไม่เยื่อใยในกาม ย่อมเห็นธรรมโดยชอบ.</TD><TD></TD><TD>เย สนฺตจิตฺตา นิปกา สติมนฺโต จ ฌายิโน
    สมฺมา ธมฺมํ วิปสฺสนฺติ กาเมสุ อนเปกฺขิโน.

    ขุ. อิติ. ๒๕/๒๖๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมัปปธาน
    มีสติปัฏฐานเป็นอารมณ์
    ดาดาษด้วยดอกไม้คือวิมุตติ
    หาอาสวะมิได้ จักปรินิพพาน.
    </TD><TD></TD><TD>สมฺมปฺปธานสมฺปนฺโน
    สติปฏฺฐานโคจโร
    วิมุตฺติกุสุมสญฺฉนฺโน
    ปรินิพฺพายิสฺสตฺยนาสโว.

    (เทวสภเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๒๗๘๒.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พระนิพพานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม เป็นที่ดับทุกข์ เป็นสุขดีหนอ.</TD><TD></TD><TD>สุสุขํ วต นิพฺพานํ สมฺมาสมฺพุทฺธเทสิตํ
    อโสกํ วิรชํ เขมํ ยตฺถ ทุกฺขํ นิรุชฺฌติ.

    (หาริตเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๐๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>โสรัจจะและอวิหิสานั้น เป็นช้างเท้าหลัง สติและสัมปชัญญะนั้น เป็นช้างเท้าหน้า.</TD><TD></TD><TD>โสรจฺจํ อวิหึสา จ ปาทา นาคสฺส เต ทุเว
    สติ จ สมฺปชญฺญญฺจ จรณา นาคสฺส เต ปเร.

    (อุทายีเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๖๘.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ไม่ควรเสพธรรมที่เลว ไม่ควรอยู่กับความประมาท ไม่ควรเสพมิจฉาทิฏฐิ ไม่ควรเป็นคนรกโลก. </TD><TD></TD><TD>หีนํ ธมฺมํ น เสเวยฺย ปมาเทน น สํวเส
    มิจฺฉาทิฏฺฐึ น เสเวยฺย น สิยา โลกวฑฺฒโน.

    ขุ. ธ. ๒๕/๓๗.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นกษัตริย์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างเลว., ถึงความเป็นเทวดา ด้วยพรหมจรรย์อย่างกลาง, ย่อมบริสุทธิ์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างสูง.</TD><TD></TD><TD>หีเนน พฺรหฺมจริเยน ขตฺติเย อุปปชฺชติ.
    มชฺฌิเมน จ เทวตฺตํ อุตฺตเมน วิสุชฺฌนฺติ.

    ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๑๙๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ เมื่อรักษาชีวิตพึงสละอวัยวะ เมื่อคำนึงถึงธรรม พึงสละอวัยวะ ทรัพย์ และแม้ชีวิต ทุกอย่าง </TD><TD></TD><TD>จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ
    องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน
    องฺคํ ธนํ ชีวิตญฺจาปิ สพฺพํ
    จเช นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต

    ขุ.ชา. ๒๘/๓๘๒/๑๔๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ราชรถอันงดงามย่อมคร่ำคร่า แม้ร่างกายก็เข้าถึงชรา
    ส่วนธรรมสัตบุรุษย่อมไม่เข้าถึงชรา สัตบุรุษกับสัตบุรุษเท่านั้นย่อมรู้กันได้
    </TD><TD></TD><TD>ชีรนฺติ เว ราชรถา สุจิตฺตา อโถ สรีรมฺปิ ชรํ อุเปติ
    สตญฺจ ธมฺโม น ชรํ อุเปติ สนฺโต หเว สพฺภิ ปเวทยนฺติ

    สํ.ส. ๑๕/๓๓๓/๑๐๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีจิตสงบ มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีสติ เป็นผู้เพ่งพินิจ ไม่เยื่อใยในกาม ย่อมเห็นธรรมโดยชอบ</TD><TD></TD><TD>เย สนฺตจิตฺตา นิปกา สติมนฺโต จ ฌายิโน
    สมฺมา ธมฺมํ วิปสฺสนฺติ กาเมสุ อนเปกฺขิโน

    ขุ.อิติ. ๒๕/๒๒๓/๒๖๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ไม่ประมาท

    <TABLE width="88%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ความไม่ประมาท เป็นทางไม่ตาย </TD><TD></TD><TD>อปฺปมาโท อมตํ ปทํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๑๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=top width="53%">ปราชญ์ย่อมรักษาความไม่ประมาทไว้
    เหมือนรักษาทรัพย์อันประเสริฐ
    </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">อปฺปมาทญฺจ เมธาวี ธนํ เสฏฺฐํว รกฺขติ
    ขุ.ธ. ๒๕/๑๘
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ไม่ประมาท ย่อมไม่ตาย </TD><TD></TD><TD>อปฺปมตฺตา น มียนฺติ
    ขุ.ธ. ๒๕/๑๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ไม่ประมาทพินิจอยู่ ย่อมถึงสุขอันไพบูลย์ </TD><TD></TD><TD>อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต ปปฺโปติ วิปุลํ สุขํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๑๘
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=3>
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท มีสติ มีศีลดีงาม
    ตั้งความดำริไว้ให้ดี คอยรักษาจิตใจของตน.

    </TD><TD></TD><TD>อปฺปมตฺตา สตีมนฺโต สุสีลา โหถ ภิกฺขโว
    สุสมาหิตสงฺกปฺปา สจิตฺตมนุรกฺขถ.

    ที. มหา. ๑๐/๑๔๒.
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ท่านทั้งหลายจงยินดีในความไม่ประมาท จงตามรักษาจิตของตน จงถอนตนขึ้นจากหล่มคือกิเลสที่ถอนได้ยาก เหมือนช้างที่ตกหล่ม ถอนตนขึ้น ฉะนั้น
    </TD><TD></TD><TD>อปฺปมาทรตา โหถ สจิตฺตมนุรกฺขถ
    ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโนว กุญฺชโร

    ขุ. ธ. ๒๕/๓๓/๕๘
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท
    ย่อมเผาสังโยชน์น้อยใหญ่ไป เหมือนไฟไหม้เชื้อน้อยใหญ่ไป ฉะนั้น
    </TD><TD></TD><TD>อปฺปมาทรโต ภิกฺขุ ปมาเท ภยทสฺสิ วา
    สญฺโญชนํ อณุ ํ ถูลํ ฑหํ อคฺคีว คจฺฉติ

    ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท
    เป็นผู้ไม่ควรเพื่อจะเสื่อม (ชื่อว่า) อยู่ใกล้พระนิพพานทีเดียว.
    </TD><TD></TD><TD>อปฺปมาทรโต ภิกฺขุ ปมาเท ภยทสฺสิ วา
    อภพฺโพ ปริหานาย นิพฺพานสฺเสว สนฺติเก.

    ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ภิกษุผู้มีธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างนี้ มีสติ ไม่ประมาท
    ละความถือมั่นว่าของเราได้แล้วเที่ยวไป เป็นผู้รู้
    พึงละชาติ ชรา โสกะ ปริเทวะ และทุกข์ ในโลกนี้ได้.
    </TD><TD></TD><TD>เอวํวิหารี สโต อปฺปมตฺโต
    ภิกฺขุ จรํ หิตฺวา มมายิตานิ
    ชาติชรํ โสกปริทฺทวญฺจ
    อิเธว วิทฺวา ปชเหยฺย ทุกฺขํ.

    ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๕. ขุ. จู. ๓๐/๙๒.
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปัญญา พึงสร้างเกาะที่น้ำหลากมาท่วมไม่ได้ ด้วยความหมั่น ความไม่ประมาท ความสำรวมระวัง และความข่มใจ
    </TD><TD></TD><TD>อุฏฺ
     
  9. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    อดทน

    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ขันติคือความอดทน เป็นตบะอย่างยิ่ง</TD><TD></TD><TD>ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา
    ที.มหา. ๑๐/๕๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ขนฺติพลา สมณพฺราหฺมณา</TD><TD></TD><TD>สมณพราหมณ์ มีความอดทนเป็นกำลัง
    องฺ.อฏฺฐก. ๒๓/๒๒๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">ผู้มีขันติ ชื่อว่านำประโยชน์มาให้ ทั้งแก่ตนทั้งแก่ผู้อื่น
    ผู้มีขันติ ชื่อว่าเป็นผู้ขึ้นสู่ทางไปสวรรค์และนิพพาน
    </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">อตฺตโนปิ ปเรสญฺจ อตฺถาวโห ว ขนฺติโก
    สคฺคโมกฺขคมํ มคฺคํ อารุฬฺโห โหติ ขนฺติโก

    ส.ม. ๒๒๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ขันติ ย่อมตัดรากแห่งบาปทั้งสิ้น ผู้มีขันติชื่อว่าย่อมขุดรากแห่งความติเตียนและการทะเลาะกันได้</TD><TD></TD><TD>เกวลานํปิ ปาปานํ ขนฺติ มูลํ นิกนฺตติ
    ครหกลหาทีนํ มูลํ ขนฺติ ขนฺติโก

    ส.ม. ๒๒๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ
    ผู้มีขันติเป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย
    </TD><TD></TD><TD>ขนฺติโก เมตฺตวา ลาภี ยสสฺสี สุขสีลวา
    ปิโย เทวมนุสฺสานํ มนาโป โหติ ขนฺติโก

    ส.ม. ๒๒๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีขันติ ชื่อว่าทำตามคำสอนของพระศาสดา
    และผู้มีขันติ ชื่อว่าบูชาพระชินเจ้าด้วยบูชาอันยิ่ง
    </TD><TD></TD><TD>สตฺถุโน วจโนวาทํ กโรติเยว ขนฺติโก
    ปรมาย จ ปูชาย ชินํ ปูเชติ ขนฺติโก

    ส.ม. ๒๒๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ขันติ เป็นประธาน เป็นเหตุ แห่งคุณคือศีลและสมาธิ
    กุศลธรรมทั้งปวงย่อมเจริญเพราะขันติเท่านั้น

    </TD><TD></TD><TD>สีลสมาธิคุณานํ ขนฺติ ปธานการณํ
    สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา ขนฺตฺยาเยว วฑฺฒนฺติ เต

    ส.ม. ๒๒๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ขันติเป็นเครื่องประดับของนักปราชญ์ ขันติเป็นตบะของผู้พากเพียร ขันติเป็นกำลังของนักพรต ขันตินำประโยชน์สุขมาให้.</TD><TD></TD><TD>ขนฺติ ธีรสฺส ลงฺกาโร ขนฺติ ตโป ตปสฺสิโน
    ขนฺติ พลํ ว ยตีนํ ขนฺติ หิตสุขาวหา.

    ส. ม. ๒๒๒.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความบริสุทธิ์ก็ดี ผู้ที่จะประเสริฐล้วนก็ดี ขันติและโสรัจจะก็ดี จะเป็นผู้เย็นสนิทก็ดี ย่อมไม่มีเพราะการชำระล้าง (ด้วยน้ำ) </TD><TD></TD><TD>น สุทฺธิ เสจเนน อตฺถิ นปิ เกวลี พฺราหฺมโณ
    น เจว ขนฺติ โสรจฺจํ นปิ โส ปรินิพฺพุโต

    (โพธิสตฺต) ขุ.ชา.ปกิณฺณก. ๒๗/๓๗๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เสนาแม้หมู่ใหญ่ พร้อมด้วยพระราชารบอยู่ ไม่พึงได้ประโยชน์ที่สัตบุรุษผู้มีขันติพึงได้ (เพราะ) เวรทั้งหลายของผู้มีขันติเป็นกำลังนั้น ย่อมสงบระงับ </TD><TD></TD><TD>นเหตมตฺถํ มหตีปิ เสนา
    สราชิกา ยุชฺฌมานา ลเภถ
    ยํ ขนฺติมา สปฺปุริโส ลเภถ
    ขนฺติพลสฺสูปสมนฺติ เวรา

    (โพธิสตฺต) ขุ.ชา.จตฺตาฬีส. ๒๗/๕๓๘
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ความเพียร

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="53%">คนขยันย่อมไม่พร่าประโยชน์ชั่วตามกาล </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">กาลาคตญฺจ น หาเปติ อตฺถํ
    ขุ,ชา,ฉกฺก. ๒๗/๑๙๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร </TD><TD></TD><TD>วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ
    ขุ.สุ. ๒๕/๓๖๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนมีธุระหมั่นทำการงานให้เหมาะเจาะ ย่อมหาทรัพย์ได้
    </TD><TD></TD><TD>ปฏิรูปการี ธุรวา อุฏฺฐาตา วินฺทเต ธนํ
    ขุ.สุ. ๒๕/๓๖๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ประโยชน์ย่อมไม่สำเร็จโดยชอบแก่ผู้ทำโดยเบื่อหน่าย </TD><TD></TD><TD>น นิพฺพินฺทิยการิสฺส สมฺมทตฺโถ วิปจฺจติ
    ขุ.ชา.จตฺตาฬีส. ๒๗/๕๓๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนที่ผลัดวันประกันพรุ่งย่อมเสื่อม ยิ่งว่ามะรืนนี้ยิ่งเสื่อม </TD><TD></TD><TD>หิยฺโยติ หิยฺยติ โปโส ปเรติ ปริหายติ
    ขุ.ชา.วีส. ๒๗/๔๖๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด ย่อมตั้งตนได้ด้วยต้นทุนแม้น้อย
    เหมือนคนก่อไฟน้อยขึ้นฉะนั้น
    </TD><TD></TD><TD>อปฺปเกนปิ เมธาวี ปาภเฏน วิจกฺขโณ
    สมุฏฺฐาเปติ อตฺตานํ อณุ ํ อคคึว สนฺธมํ

    ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ขยันในหน้าที่การงาน ไม่ประมาท
    เข้าใจเลี้ยงชีพพอสมควร จึงรักษาทรัพย์ที่หามาได้
    </TD><TD></TD><TD>อฏฺฐาตา กมฺมเธยฺเยสุ อบฺปมตฺโต วิธานวา
    สมํ กปฺเปติ ชีวิตํ สมภตํ อนุรกฺขติ

    อง.อฏฺฐก. ๒๓/๒๙๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้เกียจคร้าน มีความเพียรเลว พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี
    ส่วนผู้ปรารภความเพียรมั่นคง มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวก็ประเสริฐกว่า
    </TD><TD></TD><TD>โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย
    เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ

    ขุ.ธ. ๒๕/๓๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ท่านทั้งหลายจงเห็นความเกียจคร้านเป็นภัย และเห็นการปรารภความเพียรเป็นความปลอดภัย แล้วปรารภความเพียรเถิด นี้เป็นพุทธานุศาสนี. </TD><TD></TD><TD>โกสชฺชํ ภยโต ทิสฺวา วิริยารมฺภญฺจ เขมโต
    อารทฺธวิริยา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี.

    ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ท่านทั้งหลายต้องทำความเพียรเอง ตถาคตเป็นแต่ผู้บอก ผู้มีปกติเพ่งพิเนิจดำเนินไปแล้ว จักพ้นจากเครื่องผูกของมาร.</TD><TD></TD><TD>ตุมฺเหหิ กิจฺจํ อาตปฺปํ อกฺขาตาโร ตถาคตา ปฏิปนฺนา ปโมกฺขนฺติ ฌายิโน มารพนฺธนา.
    ขุ. ธ. ๒๕/๕๑.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>อริยมรรคย่อมบริสุทธิ์ เพราะขับไล่ความหลับ ความเกียจคร้าน ความบิดขี้เกียจ ความไม่ยินดี และความเมาอาหารนั้นได้ด้วยความเพียร.</TD><TD></TD><TD>นิทฺทํ ตนฺทึ วิชิมฺหิตํ อรตึ ภตฺตสมฺมทํ
    วิริเยน นํ ปณาเมตฺวา อริยมคฺโค วิสชฺฌติ.

    สํ. ส. ๑๕/๑๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดเกียจคร้าน มีความเพียรเลว พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี แต่ผู้ปรารภความเพียรมั่นคง มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ประเสริฐกว่าผู้นั้น.</TD><TD></TD><TD>โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย
    เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล มีปัญญา มีใจมั่นคงดีแล้ว
    ปรารภความเพียรตั้งตนไว้ในกาลทุกเมื่อ ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้ยาก
    </TD><TD></TD><TD>สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ปญฺญวา สุสมาหิโต
    อารทฺธวิริโย ปหิตตฺโต โอฆํ ตรติ ทุตฺตรํ

    สํ.ส. ๑๒/๗๔
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    บุญ

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="53%">บุญอันโจรนำไปไม่ได้ </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">ปุญฺญํ โจเรหิ ทูหรํ
    สํ.ส. ๑๕/๕๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุญนำสุขมาให้ในเวลาสิ้นชีวิต </TD><TD></TD><TD>ปุญฺญํ สุขํ ชีวิตสงฺขยมฺหิ
    ขุ.ธ. ๒๕/๕๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความสั่งสมบุญ นำสุขมาให้ </TD><TD></TD><TD>สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ในโลกหน้า </TD><TD></TD><TD>ปุญฺญานิ ปรโลกสฺมึ ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณินํ
    สํ.ส. ๑๕/๒๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ทำบุญแล้วย่อมยินดีในโลกนี้ ตายแล้วย่อมยินดีชื่อว่ายินดีในโลกทั้งสอง เขาย่อมยินดีว่าเราทำบุญไว้แล้ว ไปสู่สุคติย่อมยินดียิ่งขึ้น </TD><TD></TD><TD>อิธ นนฺทติ เปจฺจ นนฺทติ กตปุญโญฺ อุภยตฺถ นนฺทติ
    ปุญฺญํ เม กตนุติ นนฺทติ ภิยฺโย นนฺทุติ สุคตึ คโต

    ขุ.ธ. ๒๕/๑๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ถ้าบุรุษจะพึ่งทำบุญ ควรทำบุญนั้นบ่อย ๆ
    ควรทำความพอใจในบุญนั้น การสั่งสมบุญนำความสุขมาให้
    </TD><TD></TD><TD>ปญฺญญฺ ปริโส กยิรา กยิราถนํ ปุนปฺปุนํ
    ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย

    ขุ.ธ. ๒๕/๓๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ไม่ควรดูหมิ่นต่อบุญว่ามีประมาณน้อยจักไม่มีมาถึง
    แม้หม้อน้ำย่อมเต็มได้ด้วยหยาดน้ำที่ตกลงมาฉันใด
    ผู้มีปัญญาสั่งสมบูญแม้ทีละน้อยๆ ย่อมเต็มได้ด้วยบุญ ฉันนั้น
    </TD><TD></TD><TD>มาวมญฺเญถ ปุญฺญสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ
    อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ
    อาปูรติ ธีโร บุญฺญสฺส โถกํ โถกํปิ อาจินํ

    ขุ.ธ. ๒๕/๓๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สหายเป็นมิตรของคนผู้มีความต้องการเกิดขึ้นบ่อย ๆ
    บุญทั้งหลายที่ตนทำเองนั้น จะเป็นมิตรในสัมปรายภพ
    </TD><TD></TD><TD>สหาโย อตฺถชาตสฺส โหติ มิตฺตํ ปุนปฺปุนํ
    สยํ กตานิ ปุญฺญานิ ตํ มิตฺตํ สมฺปรายิกํ

    สํ.ส. ๑๕/๕๑
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    สุข

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="53%">ละเหตุทุกข์ได้เป็นสุขในที่ทั้งปวง </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">สพฺพตถ ทุกฺขสฺส สุขํ ปหานํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๕๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความไม่เบียดเบียนเป็นสุขในโลก </TD><TD></TD><TD>อพฺยาปชฺฌํ สุขํ โลเก
    ขุ.ธ. ๒๕/๘๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความสุข (อื่น) ยิ่งกว่าความสงบไม่มี </TD><TD></TD><TD>นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๔๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง </TD><TD></TD><TD>นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๕๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>จะพึงมีความสุขเป็นนิตย์ ก็เพราะไม่พบเห็นคนพาล </TD><TD></TD><TD>อทสฺสเนน พาลานํ นิจฺจเมว สุขี สิยา
    ขุ.ธ. ๒๕/๔๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้เจริญเมตตาดีแล้วย่อมหลับและตื่นเป็นสุข </TD><TD></TD><TD>สุขํ สุปติ พุทฺโธ จ เยน เมตฺตา สุภาวิตา
    ว.ว.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าทั้งหลายนำสุขมาให้</TD><TD></TD><TD>สุโข พุทฺธานํ อุปฺปาโท
    ขุ.ธ. ๒๕/๔๑
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

     
  13. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ชนะ

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="53%">ผู้ชนะย่อมก่อเวร</TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">ชยํ เวรํ ปสวติ
    สํ.ส. ๑๕/๑๒๒
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>การให้ธรรมย่อมชนะการให้ทั้งปวง
    รสแห่งธรรมย่อมชนะรสทั้งปวง
    ความยินดีในธรรมย่อมชนะความยินดีทั้งปวง
    ความสิ้นตัณหาย่อมชนะทุกข์ทั้งปวง
    </TD><TD></TD><TD>สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ
    สพฺพํ รสํ ธมฺมรโส ชินาติ
    สพฺพํ รตึ ธมฺมรตี ชินาติ
    ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ

    ขุ.ธ. ๒๕/๖๓
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความชนะใดที่ชนะแล้วกลับแพ้ได้ ความชนะนั้นไม่ดี </TD><TD></TD><TD>น ตํ ชิตํ สาธุ ชิตํ ย ํ ชิตํ อวชิยฺยติ
    ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๒๒
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงชนะความโกรธด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดีด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ด้วยการให้ พึงชนะคนพูดปดด้วยคำจริง</TD><TD></TD><TD>อกฺโกเธน ชิเน โกธํ อสาธุ ํ สาธุนา ชิเน
    ชิเน กทริยํ ทาเนน สจฺเจนาลิกวาทินํ

    ขุ.ธ. ๒๕/๔๕
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    กิเลส

    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ความกำหนัดเพราะดำริ เป็นกามของคน</TD><TD></TD><TD>สงฺกปฺปราโค ปุริสสฺส กาโม
    สํ.ส. ๑๕/๑๐๓/๓๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>กามทั้งหลายที่เที่ยง ไม่มีในหมู่มนุษย์</TD><TD></TD><TD>น สนฺติ กามา มนุเชสุ นิจฺจา
    สํ.ส. ๑๕/๑๐๓/๓๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้คนหลอกลวง เย่อหยิ่ง เพ้อเจ้อ ขี้โอ่ อวดดี และไม่ตั้งมั่น ย่อมไม่งอกงามในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว
    </TD><TD></TD><TD>กุหา ถทฺธา ลปา สิงฺคี อุนฺนฬา จาสมาหิตา
    น เต ธมฺเม วิรูหนฺติ สมฺมาสมฺพุทฺธเทสิเต

    องฺ.จตุกฺก. ๒๑/๓๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พราหมณ์ ! พระอริยเจ้าย่อมสรรเสริญผู้ฆ่าความโกรธ ซึ่งมีโคนเป็นพิษ ปลายหวาน เพราะคนตัดความโกรธนั้นได้แล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก
    </TD><TD></TD><TD>โกธสฺส วิสมูลสฺส มธุรคฺคสฺส พฺราหฺมณ
    วธํ อริยา ปสํสนฺติ ตญฺหิ เฉตฺวา น โสจติ

    สํ.ส. ๑๕/๒๓๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีความเพียรไม่พึงนอนมาก พึงเสพธรรมเครื่องตื่น พึงละความเกียจคร้าน มายา ความร่าเริง การเล่น และเมถุนพร้อมทั้งเครื่องประดับเสีย
    </TD><TD></TD><TD>นิทฺทํ น พหุลีกเรยฺย ชาคริยํ ภเชยฺย อาดาปี
    ตนฺทึ มายํ หสฺสํ ขิฑฺฑํ เมถุนํ วิปฺปชเห สวิภูสํ

    ขุ.สุ. ๒๕/๕๑๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนที่เห็นแต่โทษผู้อื่น คอยแต่เพ่งโทษนั้น อาสวะก็เพิ่มพูน เขายังไกลจากความสิ้นอาสวะ </TD><TD></TD><TD>ปรวชฺชานุปสฺสิสฺส นิจฺจํ
    อุชฺฌานสญฺญิโน อาสวา
    ตสฺส วฑฺฒนฺติ อารา โส อาสวกฺขยา

    ขุ.ธ. ๒๕/๔๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ทุคคติในโลกนี้และโลกหน้า ล้วนมีอวิชชาเป็นราก มีอิจฉาและโลภเป็นลำต้น </TD><TD></TD><TD>ยา กาจิมา ทุคฺคติโย อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ
    อวิชฺชา มูลกา สพฺพา อิจฺฉาโลภสมุสฺสยา

    ขุ.อิติ. ๒๕/๒๕๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลถูกลูกศรใดแทงแล้ว ย่อมแล่นไปทั่วทิศ
    ถอนลูกศรนั้นแล้ว ย่อมไม่แล่นและไม่จม
    </TD><TD></TD><TD>เยน สลฺเลน โอติณฺโณ ทิสา สพฺพา วิธาวติ
    ตเมว สลฺลํ อพฺพุยฺห น ธาวติ น สีทติ

    ขุ.มหา. ๒๙/๕๐๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>โลภะ โทสะ โมหะ เกิดจากตัวเอง ย่อมเบียดเบียนผู้มีใจชั่ว ดุจขุยไผ่ฆ่าต้นไผ่ ฉะนั้น </TD><TD></TD><TD>โลโภ โทโส จ โมโห จ ปุริสํ ปาปเจตสํ
    หึสนฺติ อตฺตสมฺภูตา ตจสารํว สมฺผลํ

    ขุ.มหา. ๒๙/๑๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">กามทั้งหลาย ไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน มีทุกข์มาก มีพิษมาก
    ดังก้อนเหล็กที่ร้อนจัด เป็นต้นเค้าแห่งความคับแค้น มีทุกข์เป็นผล.
    </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">อนิจฺจา อทฺธุวา กามา พหุทุกฺขา มหาวิสา
    อโยคุโฬว สนฺตตฺโต อฆมูลา ทุกฺขปฺผลา.

    (สุเมธาเถรี) ขุ. เถรี. ๒๖/๕๐๓.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>โลกถูกความอยากผูกพันไว้ จะหลุดได้เพราะกำจัดความอยาก
    เพราะละความอยากเสียได้ จึงชื่อว่าตัดเครื่องผูกทั้งปวงได้
    </TD><TD></TD><TD>อิจฺฉาย พชฺฌตี โลโก อิจฺฉาวินยายุ มุจฺจต
    อิจฺฉาย วิปฺปหาเนน สพฺพํ ฉินฺทติ พนฺธนํ

    สํ.ส. ๑๕/๕๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความอยากย่อมชักลากนรชนไป ความอยากละได้ยากในโลก
    สัตว์เป็นอันมากถูกความอยากผูกมัดไว้ ดุจนางนกถูกบ่วงรัดไว้ ฉะนั้น
    </TD><TD></TD><TD>อิจฺฉา นรํ ปริกสฺสติ อิจฺฉา โลกสฺมิ ทุชชหา
    อิจฺฉาพุทฺธา ปุถู สตฺตา ปาเสน สกุณี ยถา

    สํ.ส. ๑๕/๖๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้วางเฉยมีสติทุกเมื่อ ไม่สำคัญตนว่าเสมอเขา ว่าดีกว่าเขา
    ว่าต่ำกว่าเขาในโลก, ผู้นั้นชื่อว่า ไม่มีกิเลสเครื่องฟูขึ้น
    </TD><TD></TD><TD>อุเปกฺขโก สทา สโต น โลเก มญฺญตี สมํ
    น วิเสสี น นีเจยฺโย ตสฺส โน สนฺติ อุสฺสทา.

    ขุ. มหา. ๒๙/๒๘๙. ขุ. สุ. ๒๕/๕๐๑.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง, (เพราะ) เครื่องข้องทั้งหลายย่อมไม่ติดตามผู้ไม่ข้องในนามรูป ไม่มีกังวลนั้น.</TD><TD></TD><TD>โกธํ ชเห วิปฺปชเหยฺย มานํ
    สญฺโญชนํ สพฺพมติกฺกเมยฺย
    ตํ นามรูปสฺมิมสชฺชมานํ
    อกิญฺจนํ นานุปตนฺติ สงฺคา.

    สํ.ส. ๑๕/๓๕๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง, (เพราะ) ทุกข์ทั้งหลายย่อมไม่ติดตามผู้ไม่ข้องอยู่ในนามรูป ไม่มีกังวลนั้น.</TD><TD></TD><TD>โกธํ ชเห วิปฺปชเหยฺย มานํ
    สญฺโญชนํ สพฺพมติกฺกเมยฺย
    ตนฺนามรูปสฺมึ อสชฺชมานํ
    อกิญฺจนํ นานุปตนฺติ ทุกฺขา.

    ขุ. ธ. ๒๕/๔๔.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ตัณหายังคนให้เกิด จิตของเขาย่อมวิ่งพล่าน
    สัตว์ยังท่องเที่ยวไป จึงไม่พ้นจากทุกข์.
    </TD><TD></TD><TD>ตณฺหา ชเนติ ปุริสํ จิตฺตมสฺส วิธาวติ
    สตฺโต สํสารมาปาทิ ทุกฺขา น ปริมุจฺจติ.

    สํ. ส. ๑๕/๕๑.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ตัณหายังคนให้เกิด จิตของเขาย่อมวิ่งพล่าน
    สัตว์ยังท่องเที่ยวไป จึงมีทุกข์เป็นภัยใหญ่.
    </TD><TD></TD><TD>ตณฺหา ชเนติ ปุริสํ จิตฺตมสฺส วิธาวติ
    สตฺโต สํสารมาปาทิ ทุกฺขมสฺส มหพฺภยํ.

    สํ. ส. ๑๕/๕๑.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD height=62>ตัณหายังคนให้เกิด จิตของเขาย่อมวิ่งพล่าน
    สัตว์ยังท่องเที่ยวไป จึงยังมีกรรมนำหน้า
    </TD><TD></TD><TD>ตณฺหา ชเนติ ปุริสํ จิตฺตมสฺส วิธาวติ
    สตฺโต สํสารมาปาทิ กมฺมํ ตสฺส ปรายนํ

    สํ. ส. ๑๕/๕๑.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>โลกถูกตัณหาก่อขึ้น ถูกชราล้อมไว้ ถูกมฤตยูปิดไว้ จึงตั้งอยู่ในทุกข์.</TD><TD></TD><TD>ตณฺหาย อุฑฺฑิโต โลโก ชราย ปริวาริโต
    มจฺจุนา ปิหิโต โลโก ทุกฺเข โลโก ปติฏฺฐิโต.

    สํ. ส. ๑๕/๕๕.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนที่นึกถึงพระนิพพาน พึงครอบงำความหลับ ความเกียจคร้าน ความท้อแท้, ไม่พึงอยู่ด้วยความประมาท ไม่พึงตั้งอยู่ในความทะนงตัว. </TD><TD></TD><TD>นิทฺทํ ตนฺทึ สเห ถีนํ ปมาเทน น สํวเส
    อติมาเน น ติฏฺเฐยฺย นิพฺพานมนโส นโร.

    ขุ. สุ. ๒๕/๕๑๘.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ไม่คำนึงถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมไม่เศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงไปแล้ว, ผู้เห็นความสงัดในผัสสะทั้งหลาย ย่อมไม่ถูกชักนำไปในทิฏฐิทั้งหลาย.</TD><TD></TD><TD>นิราสตฺตี อนาคเต อตีตํ นานุโสจติ
    วิเวกทสฺสี ผสฺเสสุ ทิฏฺฐีสุ จ น นิยฺยติ.

    ขุ.สุ. ๒๕/๕๐๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ไม่พึงเพลิดเพลินของเก่า ไม่พึงทำความพอใจในของใหม่
    เมื่อสิ่งนั้นเสื่อมไป ก็ไม่พึงเศร้าโศก ไม่พึงอาศัยตัณหา.
    </TD><TD></TD><TD>ปุราณํ นาภินนฺเทยฺย นเว ขนฺติมกุพฺพเย
    หิยฺยมาเน น โสเจยฺย อากาสํ น สิโต สิยา.

    ขุ. สุ. ๒๕/๕๑๘.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้หลงย่อมไม่รู้อรรถ ผู้หลงย่อมไม่เห็นธรรม
    ความหลงครอบงำคนใดเมื่อใด ความมืดมิดย่อมมีเมื่อนั้น.
    </TD><TD></TD><TD>มูฬฺโห อตฺถํ น ชานาติ มูฬฺโห ธมฺมํ น ปสฺสติ
    อนฺธตมํ ตทา โหติ ยํ โมโห สหเต นรํ.

    ขุ. อิติ. ๒๕/๒๙๖ ขุ. มหา. ๒๙/๑๘.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดไม่มีกังวลว่า นี้ของเรา นี้ของผู้อื่น ผู้นั้นเมื่อไม่ถือว่าเป็นของเรา จึงไม่เศร้าโศกว่าของเราไม่มี ดังนี้. </TD><TD></TD><TD>ยสฺส นตฺถิ อิทํ เมติ ปเรสํ วาปิ กิญฺจนํ
    มมตฺตํ โส อสํวินฺทํ นตฺถิ เมติ น โสจติ.

    ขุ. สุ. ๒๕/๕๑๙. ขุ. มหา. ๒๙/๕๓๔.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้โลภย่อมไม่รู้อรรถ ผู้โลภย่อมไม่เห็นธรรม
    ความโลภเข้าครอบงำคนเมื่อใด ความมืดมิดย่อมมีเมื่อนั้น
    </TD><TD></TD><TD>ลุทฺโธ อตฺถํ น ชานาติ ลุทโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ
    อนฺธตมํ ตทา โหติ ยํ โลโภ สหเต นรํ

    ขุ.มหา. ๒๙/๒๒/๑๗
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    บาป

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD>บาปธรรมเป็นมลทินแท้ ทั้งโลกนี้และโลกหน้า</TD><TD></TD><TD>มลา เว ปาปกา ธมฺมา อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ
    องฺ.อฏฺฐก. ๒๓/๑๐๔/๑๙๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">ผู้ทำบาป ย่อมเศร้าโศกในโลกนี้ ละไปแล้วก็เศร้าโศก ชื่อว่าเศร้าโศกในโลกทั้งสอง
    เขาเห็นกรรมอันเศร้าหมองของตน จึงเศร้าโศกและเดือดร้อน</TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">อิธ โสจติ เปจฺจ โสจติ ปาปการี อุภยตฺถ โสจติ
    โส โสจติ โส วิหญฺญติ ทิสฺวา กมฺมกิลิฏฺฐมตฺตโน
    ขุ.ธ. ๒๕/๑๗
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD><TR vAlign=top><TD>แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยหยาดน้ำฉันใด
    คนเขลาสั่งสมบาปแม้ทีละน้อย ๆ ก็เต็มด้วยบาปฉันนั้น</TD><TD></TD><TD>อุทพินทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ
    อาปูรติ พาโล ปาปสฺส โถกํ โถกํปิ อาจินํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๑
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ถ้าฝ่ามือไม่มีแผล ก็พึงนำยาพิษไปด้วยฝ่ามือได้
    ยาพิษซึมเข้าฝ่ามือไม่มีแผลไม่ได้ฉันใด บาปย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ทำฉันนั้น</TD><TD></TD><TD>ปาณิมฺหิ เจ วโณ นาสฺส หเรยฺย ปาณินา วิสํ
    นาพฺพณํ วิสมนฺเวติ นตฺถิ ปาปํ อกุพฺพโต
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๑
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ควรงดเว้นบาปเสีย เหมือนพ่อค้ามีพวกน้อยมีทรัพย์มาก
    เว้นหนทางที่มีภัย และเหมือนผู้รักชีวิตเว้นยาพิษเสียฉะนั้น
    </TD><TD></TD><TD>วาณิโชว ภยํ มคฺคํ อปฺปสตฺโถ มหทฺธโน
    วิสํ ชีวิตุกาโมว ปาปานิ ปริวชฺชเย
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๑
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ทุกข์

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD>ทุกข์เสมอด้วยขันธ์ ไม่มี</TD><TD></TD><TD>นตฺถิ ขนฺธสมา ทุกฺขา
    ขุ.ธ. ๒๕/๔๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">สังขาร เป็นทุกข์อย่างยิ่ง</TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา
    ขุ.ธ. ๒๕/๔๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เหย้าเรือนที่ปกครองไม่ดี นำทุกข์มาให้</TD><TD></TD><TD>ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา
    ขุ.ธ. ๒๕/๕๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความจน เป็นทุกข์ในโลก </TD><TD></TD><TD>ทฬิทฺทิยํ ทุกฺขํ โลเก
    องฺ.ฉกฺก. ๒๒/๓๙๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>การเป็นหนี้ เป็นทุกข์ในโลก </TD><TD></TD><TD>อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก
    นัย- องฺ.ฉกฺก. ๒๒/๓๙๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนไม่มีที่พึ่ง อยู่เป็นทุกข์ </TD><TD></TD><TD>ทุกฺขํ อนาโถ วิหรติ
    องฺ.ทสก. ๒๔/๒๗, ๓๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้แพ้ ย่อมอยู่เป็นทุกข์ </TD><TD></TD><TD>ทุกฺขํ เสติ ปราชิโต
    สํ.ส. ๑๕/๑๒๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ทุกข์ ย่อมไม่ตกถึงผู้หมดกังวล </TD><TD></TD><TD>อกิญฺจนํ นานุปตนฺติ ทุกฺขา
    สํ.ส. ๑๕/๑๒๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก เป็นทุกข์ </TD><TD></TD><TD>ปิยานํ อทสฺสนํ ทุกฺขํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๒๖/๔๓
    </TD><TR vAlign=top><TD>การพบเห็นสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก เป็นทุกข์ </TD><TD></TD><TD>อปฺปิยานญฺจ ทสฺสนํ ทุกฺขํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๒๖/๔๓
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    โกรธ

    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ความโกรธไม่ดีเลย</TD><TD></TD><TD>น หิ สาธุ โกโธ
    ขุ.ชา.ฉกฺก. ๒๗/๑๘๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">ความโกรธเป็นดังสนิมในโลก </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">โกโธ สตฺถมลํ โลเก
    สํ.ส. ๑๕/๖๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความโกรธก่อความพินาศ </TD><TD></TD><TD>อนตฺถชนโน โกโธ
    องฺ.สตฺตก. ๒๓/๙๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความโกรธทำจิตให้กำเริบ </TD><TD></TD><TD>โกโธ จิตฺตปฺปโกปโน
    องฺ.สตฺตก. ๒๓/๙๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความโกรธครอบงำนรชนเมื่อใด
    ความมืดมนย่อมมีขึ้นเมื่อนั้น
    </TD><TD></TD><TD>อนฺธตมํ ตทา โหติ ยํ โกโธ สหเต นรํ
    องฺ.สตฺตก. ๒๓/๙๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ฆ่าความโกรธได้ อยู่เป็นสุข </TD><TD></TD><TD>โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ
    สํ.ส. ๑๕/๕๗,๖๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมละกุศลเสีย</TD><TD></TD><TD>โกธาภิภูโต กุสลํ ชหาติ
    นัย- ขุ.ชา.ทสก. ๒๗/๒๘๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนมักโกรธ ย่อมอยู่เป็นทุกข์ </TD><TD></TD><TD>ทุกฺขํ สยติ โกธโน
    องฺ.สตฺตก. ๒๓/๙๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ญาติมิตรและสหาย ย่อมหลีกเลี่ยงคนมักโกรธ </TD><TD></TD><TD>ญาติมิตฺตา สุหชฺชา จ ปริวชฺเชนฺติ โกธนํ
    องฺ.สตฺตก. ๒๓/๙๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้โกรธ ย่อมไม่เห็นธรรม </TD><TD></TD><TD>กุทฺโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ
    องฺ.สตฺตก. ๒๓/๙๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ภายหลังเมื่อความโกรธหายแล้ว
    เขาย่อมเดือดร้อนเหมือนถูกไฟไหม้
    </TD><TD></TD><TD>ปจฺฉา โส วิคเต โกเธ อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ
    องฺ.สตฺตก. ๒๓/๙๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงตัดความโกรธด้วยความข่มใจ </TD><TD></TD><TD>โกธํ ทเมน อุจฺฉินฺเท
    นัย- องฺ.สตฺตก. ๒๓/๑๐๐
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    วาจา

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD>วาจาเช่นเดียวกับใจ </TD><TD></TD><TD>หทยสฺส สทิสี วาจา
    ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๑๓๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เปล่งวาจางามยังประโยชน์ให้สำเร็จ </TD><TD></TD><TD>โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ
    ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๒๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนเปล่งวาจาชั่วย่อมเดือดร้อน </TD><TD></TD><TD>มุตฺวา ตปฺปติ ปาปิกํ
    ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๒๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนโกรธมีวาจาหยาบ </TD><TD></TD><TD>ทุฏฺฐสฺส ผรุสา วาจา
    ขุ.ชา.ทสก. ๒๗/๒๗๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คำสัตย์แลเป็นวาจาไม่ตาย</TD><TD></TD><TD>สจฺจํ เว อมตา วาจา
    สํ.ส. ๑๕/๗๔๐/๒๗๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความสะอาดพึงรู้ได้ด้วยถ้อยคำ </TD><TD></TD><TD>สํโวหาเรน โสเจยฺยํ เวทิตพฺพํ
    นัย- ขุ.อุ. ๒๕/๑๗๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ควรกล่าวแต่วาจาที่ไม่ยังตนให้เดือดร้อน </TD><TD></TD><TD>ตเมว วาจํ ภาเสยฺย ยายตฺตานํ น ตาปเย
    สํ.ส. ๑๕/๒๗๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลพึงเปล่งวาจางามเท่านั้น ไม่พึงเปล่งวาจาชั่วเลย การเปล่งวาจางาม ยังประโยชน์ให้สำเร็จ ผู้เปล่งวาจาชั่วย่อมเดือดร้อน.</TD><TD></TD><TD>กลฺยาณิเมว มุญฺเจยฺย น หิ มุญฺเจยฺย ปาปิกํ
    โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ มุตฺวา ตปฺปติ ปาปิกํ

    ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๒๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลพึงกล่าวแต่วาจาที่ไม่เป็นเหตุยังตนให้เดือดร้อน และ
    ไม่เป็นเหตุเบียดเบียนผู้อื่น วาจานั้นแลเป็นสุภาษิต
    </TD><TD></TD><TD>ตเมว วาจํ ภาเสยฺย ยายตฺตานํ น ตาปเย
    ปเร จ น วิหึเสยฺย สา เว วาจา สุภาสิตา

    (วงฺคีสเถร) ขุ.สุ. ๒๕/๔๑๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ไม่ควรูดจนเกินกาล ไม่ควรนิ่งเสมอไป เมื่อถึงเวลาก็ควรพูดพอประมาณ ไม่ฟั่นเฝือ </TD><TD></TD><TD>นาติเวลํ ปภาเสยฺย นตุณหี สพฺพทา สิยา
    อวิกิณฺ มิตํ วาจํ ปตฺเตกาเล อุทีริเย

    ขุ.ชา.มหา. ๒๘/๓๓๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดสรรเสริญคนควรติ หรือติคนที่ควรสรรเสริญ
    ผู้นั้นย่อมเก็บโทษด้วยปาก เขาไม่ได้สุขเพราะโทษนั้น
    </TD><TD></TD><TD>โย นินฺทิยํ ปสํสติ ตํ วา นินฺทติ โย ปสํสิโย
    วิจินาติ มุเขน โส กลี กลินา เตน สุขํ น วินทติ

    องฺ.จตุกฺก. ๒๑/๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">ผู้ใด พึงกล่าวถ้อยคำอันไม่เป็นเหตุให้ใครๆ ขัดใจ ไม่หยาบคาย เป็นเครื่องให้รู้ความได้และเป็นคำจริง, เราเรียกผู้นั้นว่าเป็นพราหมณ์.</TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">อกกฺกสํ วิญฺญาปนึ คิรํ สจฺจํ อุทีรเย
    ยาย นาภิสเช กญฺจิ ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๗๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีภูมิปัญญา ย่อมไม่พูดพล่อยๆ เพราะเหตุแห่งคนอื่น หรือตนเอง ผู้นั้นย่อมมีผู้บูชาในท่ามกลางชุมชน (สภา) แม้ภายหลังเขาย่อมไปสู่สุคติ.</TD><TD></TD><TD>ปรสฺส วา อตฺตโน วาปิ เหตุ
    น ภาสติ อลิกํ ภูริปญฺโญ
    โส ปูชิโต โหติ สภาย มชฺเฌ
    ปจฺฉาปิ โส สุคติคามิ โหติ.

    (มโหสธโพธิสตฺต) ขุ. ชา. วีสติ. ๒๗/๔๒๗.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พระพุทธเจ้าตรัสพระวาจาใด เป็นคำปลอดภัย เพื่อบรรลุพระนิพพาน และเพื่อทำที่สุดทุกข์, พระวาจานั้นแล เป็นสูงสุดแห่งวาจาทั้งหลาย.</TD><TD></TD><TD>ยํ พุทฺโธ ภาสตี วาจํ เขมํ นิพฺพานปตฺติยา
    ทุกฺขสฺสนฺตกิริยาย สา เว วาจานมุตฺตมา.

    (วงฺคีสเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๔๐๑/๔๓๔
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    มิตร

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="53%">มารดาเป็นมิตรในเรือนของตน </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">มาตา มิตฺตํ สเก ฆเร
    สํ.ส. ๑๕/๕๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สหายเป็นมิตรของผู้มีความต้องการเกิดขึ้นเนือง ๆ </TD><TD></TD><TD>สหาโย อตฺถชาตสฺส โหติ มิตฺตํ ปุนปฺปุนํ
    สํ.ส. ๑๕/๕๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ไม่ประทุษร้ายมิตร ย่อมมีผู้บูชาในที่ทั้งปวง</TD><TD></TD><TD>สพพตฺถ ปูชิโต โหติ โย มิตฺตานํ น ทุพฺภติ
    ขุ.ชา.นวก. ๒๗/๕๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนเลวแท้ </TD><TD></TD><TD>มิตฺตทุพโภ หิ ปาปโก
    ขุ.ชา.ทสก. ๒๗/๒๙๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ภรรยาเป็นเพื่อนสนิท </TD><TD></TD><TD>ภริยา ปรมา สขา
    สํ.ส. ๑๕/๕๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความเป็นสหายไม่มีในคนพาล </TD><TD></TD><TD>นตฺถิ พาเล สหายตา
    วิ.มหา. ๕/๓๓๖ ขุ.ธ. ๒๕/๒๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ถ้าได้สหายผู้รอบคอบ พึงพอใจมีสติเที่ยวไปกับเขา
    ถ้าไม่ได้สหายผู้รอบคอบ พึงเที่ยวไปคนเดียว และไม่พึงทำความชั่ว
    </TD><TD></TD><TD>สเจ ลเภถ นิปกํ สหายํ
    จเรยฺย เตนตฺตมโน สติมา
    โน เจ ลเภถ นิปกํ สหายํ
    เอโก จเร น จ ปาปานิ กยิรา

    วิ.มหา. ๕/๓๓๖ ม.อุป. ๑๔/๒๙๗

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

     
  20. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    คบหา

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD>เพราะความไว้ใจภัยจึงตามมา </TD><TD></TD><TD>วิสฺสาสา ภยมนฺเวติ
    ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๓๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เพราะอยู่ด้วยกันนานเกินไป คนที่รักกันก็มักหน่าย </TD><TD></TD><TD>อติจิรํ นิวาเสน ปิโย ภวติ อปฺปิโย
    ขุ.ชา.เตรส. ๒๗/๓๔๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คบคนใดก็เป็นเช่นคนนั้นแล</TD><TD></TD><TD>ยํ เว เสวติ ตาทิโส
    ว.ว.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>อยู่ร่วมกับคนพาลนำทุกข์มาให้เสมอไป
    เหมือนอยู่ร่วมกับศัตรู
    </TD><TD></TD><TD>ทุกฺโข พาเลหิ สํวาโส อมิเตเนว สพฺพทา
    ขุ.ธ. ๒๕/๔๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>อยู่ร่วมกับปราชญ์นำสุขมาให้ เหมือนสมาคมกับญาติ </TD><TD></TD><TD>ธีโร จ สุขสํวาโส ญาตีนํว สมาคโม
    ขุ.ธ. ๒๕/๔๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สมาคมกับสัตบุรุษ นำสุขมาให้</TD><TD></TD><TD>สุโข หเว สปฺปุริเสน สงฺคโม
    ขุ.ชา.ทุก. ๒๗/๕๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้คบคนเลวย่อมเลวลง </TD><TD></TD><TD>หียติ ปุริโส นิหีนเสวี
    องฺ.ติก. ๒๐/๑๕๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>สมาคมกับคนพาลนำทุกข์มาให้ </TD><TD></TD><TD>ทุกฺโข พาเลหิ สงฺคโม
    ขุ.ชา.นวก. ๒๗/๒๖๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ไม่คบคนชั่ว ย่อมได้รับสุขส่วนเดียว </TD><TD></TD><TD>น ปาปชนสํเสวี อจฺจนฺตสุขเมธติ
    ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๔๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ควรระแวงในศัตรู แม้ในมิตรก็ไม่ควรไว้ใจ </TD><TD></TD><TD>สงฺเกเถว อมิตฺตสฺมึ มิตฺตสฺมิมฺปิ น วิสฺสเส
    ขุ.ชา.ทุก. ๒๗/๕๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ไม่ควรไว้ใจคนทำบาป </TD><TD></TD><TD>นาสฺมเส กตปาปมฺหิ
    ขุ.ชา.ทสก. ๒๗/๒๙๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ไม่ควรไว้ใจคนทำบาป </TD><TD></TD><TD>นาสฺมเส อลิกวาทิเน
    ขุ.ชา.ทสก. ๒๗/๒๙๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ไม่ควรไว้ใจคนเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว </TD><TD></TD><TD>นาสฺมเส อตฺตตฺถปญญมฺหิ
    ขุ.ชา.ทสก. ๒๗/๒๙๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ภิกษุมีใจฟุ้งซ่าน คลอนแคลน คบหาแต่มิตรชั่ว ถูกคลื่นซัด ย่อมจมลงในห้วงน้ำใหญ่คือสังสารวัฏ
    </TD><TD></TD><TD>อุทฺธโต จปโล ภิกฺขุ มิตฺเต อาคมฺม ปาปเก
    สํสีทติ มโหฆสฺมึ อุมฺมิยา ปฏิกุชฺชิโต

    (อญฺญาโกณฺฑญฺญเถร) ขุ.เถร. ๒๖/๓๘๓/๓๖๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">เห็นบัณฑิตใด ผู้มีปกติชี้ความผิดให้ ดุจผู้บอกขุมทรัพย์ให้ ซึ่งมีปกติกล่าวกำราบ มีปัญญา, พึงคบบัณฑิตเช่นนั้น, เมื่อคบท่านเช่นนั้น ย่อมประเสริฐ ไม่เลวเลย. </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">นิธีนํว ปวตฺตารํ ยํ ปสฺเส วชฺชทสฺสินํ
    นิคฺคยฺหาวาทึ เมธาวึ ตาทิสํ ปณฺฑิตํ ภเช
    ตาทิสํ ภชมานสฺส เสยฺโย โหติ น ปาปิโย.

    ขุ. ธ. ๒๕/๒๕.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ในกาลไหนๆ ผู้คบคนเลว ย่อมเลว คบคนเสมอกัน ไม่พึงเสื่อม คบหาคนประเสริฐ ย่อมพลันเด่นขึ้น เหตุนั้นควรคบคนที่สูงกว่าตน.</TD><TD></TD><TD>นิหียติ ปุริโส นิหีนเสวี
    น จ หาเยถ กทาจิ ตุลฺยเสวี
    เสฏฺฐมุปนมํ อุเทติ ขิปฺปํ
    ตสฺมา อตฺตโน อุตฺตรึ ภเชถ.

    องฺ. ติก. ๒๐/๑๕๘.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลควรคบผู้เลื่อมใสเท่านั้น ควรเว้นผู้ไม่เลื่อมใส ควรเข้าไปนั่งใกล้ผู้เลื่อมใส เหมือนผู้ต้องการน้ำเข้าไปหาห้วงน้ำฉะนั้น </TD><TD></TD><TD>ปสนฺนเมว เสเวยฺย อปฺปสนฺนํ วิวชฺชเย
    ปสนฺนํ ปยิรุปาเสยฺย รหทํวุทกตฺถิโก

    (โพธิสตฺต) ขุ.ชา.ปญฺญาส. ๒๘/๒๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนห่อกฤษณาด้วยใบไม้ แม้ใบไม้ก็หอมไปด้วยฉันใด การคบกับนักปราชญ์ก็ฉันนั้น </TD><TD></TD><TD>ตครํ ว ปลาเสน โย นโร อุปนยฺหติ
    ปตฺตาปิ สุรภี วายนฺติ เอวํ ธีรูปเสวนา

    (โพธิสตฺต) ขุ.ชา.วีส. ๒๗/๔๓๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนห่อปลาเน่าด้วยใบหญ้าคา แม้หญ้าคาก็พลอยเหม็นเน่าไปด้วยฉันใด การคบคนพาลก็ฉันนั้น </TD><TD></TD><TD>ปูติมจฺฉํ กุสคฺเคน โย นโร อุปนยฺหติ
    กุสาปิ ปูติ วายนฺติ เอวํ พาลูปเสวนา

    (ราชธีตา) ขุ.ชา.มหา. ๒๘/๓๐๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บัณฑิตพึงทำความเป็นเพื่อนกับคนมีศรัทธา มีศีลเป็นที่รัก
    มีปัญญาและเป็นพหุสูต เพราะการสมาคมกับคนดี เป็นความเจริญ
    </TD><TD></TD><TD>สทฺเธน จ เปสเลน จ
    ปญฺญวตา พหุสฺสุเตน จ
    สขิตํ หิ กเรยฺย ปณฺฑิโต
    ภทฺโท สปฺปุริเสหิ สงฺคโม

    (อานนฺทเถร) ขุ.เถร. ๒๖/๔๐๕
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...