Album: ขอเชิญร่วมทำบุญจัดซื้อรถชมวิว

ขอเชิญร่วมทำบุญจัดซื้อรถชมวิว<br /> <br /> วัดศรีนวรัฐ ตำบลบ้านกลาง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดทำโครงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยมีวัด ชุมชน หมู่บ้าน ๑๗ หมู่บ้านใกล้เคียง มีศิลปวัฒนธรรมต่างๆ มากมายในชุนชน ตลอดถึงโบราณสถานเวียงท่ากาน โบราณสถานเก่าแก่อายุกว่า ๑,๓๐๐ ปี ขนบธรรมเนียมประเพณีของชมชุน เพื่อให้ประชาชน นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนผู้สนใจได้ใช้เป็นสถานที่ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิตของชาวล้านนาและภูมิปัญญาท้องถิ่น และเกิดความรู้สึกรักหวงแหน และร่วมกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมล้านนาให้คงอยู่สืบไปชั่วลูกชั่วหลาน เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม ให้เหมาะสมกับท้องถิ่น และสังคมไทย รวมทั้งจัด กิจกรรมทางวัฒนธรรม เพื่ออนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมให้อยู่คู่กับชุมชนในท้องถิ่น สังคมไทยและประเทศชาติ จึงได้จัดโครงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชนขึ้น นอกจากจะมีประโยชน์ในด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของแต่ละพื้นที่แล้ว รวบรวมประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น รวมทั้งมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาดั้งเดิมของท้องถิ่น เพื่อถ่ายทอดให้แก่ชนรุ่นหลัง เป็นประโยชน์ในด้านการศึกษา การพัฒนาชุมชน เพื่อให้คนในท้องถิ่นได้รับรู้ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ รู้ความเป็นมาของตนเอง และบ้านเมือง วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ความเป็นอยู่ อันจะสร้างความภาคภูมิใจ และจิตสำนึกที่จะสงวนรักษาอนุรักษ์ สืบทอดมรดกวัฒนธรรมไว้ให้คนรุ่นหลัง และยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น <br /> วัดศรีนวรัฐ จึงได้มีการจัดหาทุนซื้อรถชมวิว เพื่อบริการนักท่องเที่ยว นักเรียน นักศึกษา ตลอดถึงผู้สนใจในศิลปวัฒนธรรม โบราณสถาน และเพื่อบริการรับส่งเด็กนักเรียนเยาวชนในท้องถิ่น ที่มาศึกษาพระพุทธศาสนา และศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดศรีนวรัฐ <br /> <br /> วัตถุประสงค์<br /> ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น<br /> ๒. เพื่อสร้างโอกาสให้คนจากท้องถิ่นอื่นหรือนักท่องเที่ยวได้มีโอกาสเรียนรู้ประวัติศาสตร์ และ <br /> ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น<br /> ๓. เพื่อให้คนในท้องถิ่นได้เรียนรู้ความสำคัญ รู้จักวิถีชีวิต รู้ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น <br /> ความเป็นมาและวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น อันจะสร้างความภูมิใจและจิตสำนึกในการ<br /> รักษาวัฒนธรรมประเพณีของท

ขอเชิญร่วมทำบุญจัดซื้อรถชมวิว

อัปเดต 17 กรกฎาคม 2011
There is no photo in this album yet.
พระครูถาวร
ขอเชิญร่วมทำบุญจัดซื้อรถชมวิว

วัดศรีนวรัฐ ตำบลบ้านกลาง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดทำโครงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยมีวัด ชุมชน หมู่บ้าน ๑๗ หมู่บ้านใกล้เคียง มีศิลปวัฒนธรรมต่างๆ มากมายในชุนชน ตลอดถึงโบราณสถานเวียงท่ากาน โบราณสถานเก่าแก่อายุกว่า ๑,๓๐๐ ปี ขนบธรรมเนียมประเพณีของชมชุน เพื่อให้ประชาชน นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนผู้สนใจได้ใช้เป็นสถานที่ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิตของชาวล้านนาและภูมิปัญญาท้องถิ่น และเกิดความรู้สึกรักหวงแหน และร่วมกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมล้านนาให้คงอยู่สืบไปชั่วลูกชั่วหลาน เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม ให้เหมาะสมกับท้องถิ่น และสังคมไทย รวมทั้งจัด กิจกรรมทางวัฒนธรรม เพื่ออนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมให้อยู่คู่กับชุมชนในท้องถิ่น สังคมไทยและประเทศชาติ จึงได้จัดโครงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชนขึ้น นอกจากจะมีประโยชน์ในด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของแต่ละพื้นที่แล้ว รวบรวมประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น รวมทั้งมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาดั้งเดิมของท้องถิ่น เพื่อถ่ายทอดให้แก่ชนรุ่นหลัง เป็นประโยชน์ในด้านการศึกษา การพัฒนาชุมชน เพื่อให้คนในท้องถิ่นได้รับรู้ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ รู้ความเป็นมาของตนเอง และบ้านเมือง วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ความเป็นอยู่ อันจะสร้างความภาคภูมิใจ และจิตสำนึกที่จะสงวนรักษาอนุรักษ์ สืบทอดมรดกวัฒนธรรมไว้ให้คนรุ่นหลัง และยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น
วัดศรีนวรัฐ จึงได้มีการจัดหาทุนซื้อรถชมวิว เพื่อบริการนักท่องเที่ยว นักเรียน นักศึกษา ตลอดถึงผู้สนใจในศิลปวัฒนธรรม โบราณสถาน และเพื่อบริการรับส่งเด็กนักเรียนเยาวชนในท้องถิ่น ที่มาศึกษาพระพุทธศาสนา และศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดศรีนวรัฐ

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น
๒. เพื่อสร้างโอกาสให้คนจากท้องถิ่นอื่นหรือนักท่องเที่ยวได้มีโอกาสเรียนรู้ประวัติศาสตร์ และ
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น
๓. เพื่อให้คนในท้องถิ่นได้เรียนรู้ความสำคัญ รู้จักวิถีชีวิต รู้ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
ความเป็นมาและวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น อันจะสร้างความภูมิใจและจิตสำนึกในการ
รักษาวัฒนธรรมประเพณีของท

จัดการ

แชร์หน้านี้

Loading...