ผลของความสำคัญผิดในสมาธิ(พระอาจารย์ทูล ขิปฺปปญฺโญ)

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย บดินทร์จ้า, 1 เมษายน 2009.

  1. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]ที่มา หนังสือ [/FONT]“[FONT=&quot]ตัดกระแส[/FONT]”[FONT=&quot] ของ (พระอาจารย์ทูล ขิปฺปปญฺโญ)[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]
    ลักษณะอาการของจิต
    [/FONT]<o></o>

    [FONT=&quot] ก่อนที่จะได้รู้อุบายของวิปัสสนานั้น ผู้เขียนขอทำความความเข้าใจกับท่านในเรื่องการทำสมาธิ [/FONT][FONT=&quot]และผลที่จะเกิดขึ้นจากการทำสมาธิ เพราะการทำสมาธิ เป็นอุบายให้จิตได้มีการพักผ่อนอยู่ในความสงบ ตามปกติแล้วจิต ไม่ชอบอยู่เป็นที่ชอบคิดโน้นชอบคิดนี่ เป็นเรื่องเล็กบ้าง เป็นเรื่องใหญ่บ้าง เป็นเรื่องชอบใจและไม่ชอบใจ เป็นเรื่องความสุขใจและความทุกข์ใจ และคิดไปในเรื่องที่ไม่มีสาระเลื่อนลอย ไม่มีจุดหมายปลายทาง ทั้งตัวเองก็ไม่รู้ว่าจิตคิดไปในเรื่องไหนบ้าง และชอบคิดไปในเรื่องนอกตัว เหมือนกับลูกตาที่ดูอยู่แต่ภายนอก จิตถ้าไม่มีอุบายแล้วก็จะไม่อยู่กับที่ ฉะนั้นจึงหาคำบริกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งมาเป็นอุบายให้จิตได้อยู่ และมีสติสัมปชัญญะ เป็นพี่เลี้ยงกำกับอยู่เสมอ ถ้าสติเผลอ จิตก็เล็ดลอดออกหนีไปเสีย กว่าสติจะรู้ทัน จิตได้ออกไปเล่นอยู่กับสิ่งภายนอกเสียแล้ว จิตเหมือนกันกับเด็กที่กำลังชอบเล่นชอบเที่ยว พ่อแม่ก็ต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิต ดูแลในการพักผ่อนหลับนอนนั้น ดูแลในการศึกษา ดูแลทั้งอาหารการกินว่าสิ่งไหนไม่ควร ฉะนั้น สติสัมปชัญญะจึงหาอุบายเพื่อจะให้จิตได้อยู่เป็นที่มีสติควบคุมจิตให้อยู่ในคำบริกรรมนั้นไม่ให้เผลอ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]
    การตั้งสติ คือความตั้งใจ

    [/FONT]
    [FONT=&quot]ความตั้งใจนี้ เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง ถ้ามีความตั้งใจทำในสิ่งใด สิ่งนั้นต้องสำเร็จ แม้งานทางโลก จะมีความสำเร็จลุล่วงไปได้ ก็ต้องอาศัยความตั้งใจทั้งนั้น นี้งานทางธรรม เป็นงานที่ใหญ่ เป็นงานที่ละเอียดอ่อน เป็นงานที่จะถอนรากถอนโคนของวัฎจักร ให้หมดสิ้นไปจากจิตก็ต้องมีความตั้งใจที่เด็ดเดี่ยวกล้าหาญ และแน่วแน่จริงจัง ฉะนั้น ความตั้งใจจึงเป็นแนวทางที่เยี่ยมยอดในการปฏิบัติธรรม ความตั้งใจอยู่ที่ไหน สติก็อยู่ที่นั่น ถ้ามีความตั้งใจน้อยสติก็ค่อยเลือนรางไป ถ้าไม่มีความตั้งใจเสียเลยการภาวนาก็จะเผลอสติตลอดไปฉะนั้น ความตั้งใจจึงเป็นจุดเด่นในทางการปฏิบัติภาวนา ถ้าขาดความตั้งใจแล้วการปฏิบัติก็จะไม่มีผลดีอะไรเลย ความตั้งใจนี้เอง จะเป็นแนวทางให้จิตเป็นสมาธิ ก็คือความตั้งใจมั่นนั้นเอง ความตั้งใจอยู่ที่ไหน ความตั้งมั่นของจิตก็อยู่ที่นั่น
    [/FONT]
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]
    การทำจิตให้สงบเป็นหลักสากล [/FONT]
    <o></o>
    [FONT=&quot] เพราะการทำให้จิตสงบนั้น มีมาประจำโลก และมีมาก่อนที่พระพุทธเจ้าของเราทั้งหลายอุบัติขึ้นในโลก เมื่อครั้งพระองค์ออกผนวชยังไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้า ในสมัยนั้นยังมีอุททกดาบส อาฬารดาบส เคยทำให้จิตสงบมาแล้ว และก็มีความสงบเต็มที่ เป็นอัปปนาสมาธิ เป็นรูปฌาน อรูปฌาน อย่างคล่องแคล่วพระองค์รู้ข่าว ก็เข้าไปศึกษาและปฏิบัติฝึกหัดให้จิตมีความสงบ เป็นอัปปนาสมาธิ เป็นรูปฌาน อรูปฌาน ได้อย่างเร็ว พระองค์จึงมาพิจารณาดความสงบนี้ว่าไม่ใช่ที่จะเป็นแนวทางให้ตรัสรู้ได้ เมื่อจิตรวมอยู่ในสมาธิ ก็เพียงมีความสุขใจ เท่านั้น เมื่อออกสมาธิมาแล้ว จิตก็ไหวไปตามอารมณ์ของกามคุณเหมือนเดิม นี้เหละท่าน การทำความสงบของดาบสทั้งสองพร้อมทั้งพระองค์ ก็มีความสงบในสมาธิเต็มที่แล้ว แต่ทำไมวิปัสสนาญาณ จึงไม่เกิดขึ้นเล่า[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]มิใช่เพียงเท่านี้ เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าเจ้าและพระอริยเจ้าทั้งหลายสร้างบารมี ก็เคยได้บวชเป็นฤาษีชีไพร เคยทำจิตให้มีความสงบเต็มที่มาแล้ว แต่ก็ไม่มีวิปัสสนาญาณเกิดขึ้นเช่นกัน หรือในยุคปัจจุบันนี้ ก็มีผู้ทำให้จิตสงบได้เหมือนกัน แม้บุคคลที่ไม่นับถือศาสนาอะไรเลย เขาก็ทำให้จิตสงบได้ ฉะนั้นการทำให้จิตสงบจึงเป็นหลักสากลไม่เลือกชาติ ชั้น วรรณะ ไม่ว่าพุทธศาสนาหรือในศาสนาอื่น ถึงจะมีอุบายต่างกันก็ตามแต่ก็มารวมลงในจุดเดียวกัน นั่นคือจิตมีความสงบนั่นเอง[/FONT]<o></o>

    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 เมษายน 2009
  2. บัวใต้น้ำ

    บัวใต้น้ำ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2004
    โพสต์:
    891
    ค่าพลัง:
    +1,936
    โมทนาด้วยครับ

    ผมมีบุญได้ไปกราบท่าน 3-4 ครั้ง เวลาที่ท่านมากรุงเทพฯ ช่วง 1-2 ปีสุดท้ายก่อนท่านจากไป
     
  3. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]ผลของการทำสมาธิแต่อย่างเดียว[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] การทำสมาธิอย่างเดียว ก็มีผลเกิดขึ้นตามแนวทางของสมาธิ หลักการทำสมาธิ คือ ระวังรักษาไม่ให้จิตออกไปสู่ภายนอก ไม่ให้จิตคิดในเรื่องอะไรเลย จะเป็นเรื่องอดีตเรื่องอนาคต ก็ไม่คิด แม้ในปัจจุบันก็ไม่คิดอะไรทั้งสิ้นเพราะการคิดในสิ่งต่างๆจิตจะไม่นวมเป็นเอกัคตารมณ์และเป็นเอกัคตาจิต จึงคอยระวังรักษาให้จิตอยู่ในอารมณ์อย่างเดียว ให้มีสติระลึกรู้อยู่เฉพาะจิต เมื่อมีสติสัมปชัญญะคอยระวังรักษาจิตอยู่อย่างนี้ จิตก็จะมีความสงบรวมลงเป็นสมาธิ จะเป็นสมาธิในขั้นไหนนั้น จึงขึ้นอยู่กับความพอตัวของสมาธิในขั้นนั้นๆ จากนั้นก็ถอนออกมา ผลที่เกิดขึ้น ก็มีความสุขกาย มีความสุขใจ อยากให้มีความสุขนี้มีตลอดไป ถ้าสมาธิเสื่อม ก็กำเนิดไปตามวิธีเดิม ผลที่ได้รับก็คือความสุขอีก บางท่านก็สงบได้น้อย บางท่านก็สงบได้มาก บางทีก็สงบเพียงเฉียดๆ [/FONT][FONT=&quot]บางครั้งก็สงบลงอย่างเต็มที่ จากนั้นจิตก็ถอน จิตก็มีความสุข ก็เกิดความยินดีในความสุข พอใจอยากอยู่ในความสุขอย่างนี้ตลอดไป นี้แลคือภาวนาหาความสุขในทางสมาธิ ก็ติดอยู่ในความสงบสุขของสมาธิ ไม่มีทางที่จะออกได้[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ผลของความสำคัญผิดในสมาธิ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ผลของการทำสมาธินี้ นักภาวนาชอบจะหลงนั่นคือ อภิญญา อภิญญานี้เมื่อเกิดกับผู้ที่ไม่มีปัญญาแล้วชอบหลง เพราะอภิญญานี้ก็เป็นสิ่งที่ทำให้นักภาวนาลืมตัวได้ง่าย และเข้าใจผิดในตัวเองได้ง่าย และทำให้เกิดมานะ ทิฏฐิสูงโดยไม่รู้ตัว อภิญญา นี้ไม่ใช่จะเกิดไปหมดทุกท่าน แต่ละท่านก็เด่นไปในข้อใดข้อหนึ่ง บางท่านก็มีทิพยจักษุ มีตาทิพย์ สามารถกำเนิดจิตดู ได้ในพวกกายทิพย์ เช่น เทวดา หรือสัตว์นรก เปรต อสุรกาย บางท่านก็มีทิพยโสต สามารถกำเนิดจิตฟังสียงเทวดาและสัตว์นรกได้ บางท่านก็มี เจโตปริยญาณ สามารถกำเนิดจิตรู้จิตของคนอื่น ว่าคนนั้นเขาคิดในเรื่องอะไรก็รู้ได้ ทั้งสามข้อนี้ ถ้าทำให้เกิดได้ในข้อใดข้อหนึ่ง หรือเกิดขึ้นได้สองข้อก็ตาม ในยุคนี้สมัยนี้จะถือว่าเด่นในการภาวนา ผู้ไม่เข้าใจในเรื่องนี้ ก็พยากรณ์ให้เป็นพระอริยเจ้าอย่างง่ายๆ ถ้ามีใบประกาศนียบัตรก็จะเซ็นอนุมัติรับรองทันที นี้ก็เป็นผลที่เกิดขึ้นจากสมาธิทั้งนั้น[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ปัญญาไม่มีจึงถูกสังขารหลอก[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]สังขารนี้ ถ้าจะเทียบกับบุคคลแล้ว ก็เป็นคนที่มีวาทศิลป์ที่ยอดเยี่ยม เป็นนักพูดตลบตะแลง หัวประจบสอพลอ ประจบประแจง จะว่าเสริมสวย ก็เสริมให้คนหลง จะว่าต้มตุ๋นก็ระดับโลก เพราะสังขารอยู่ที่จิต จึงเรียกว่าสังขารจิต เมื่อจิตมีความต้องการในสิ่งใด สังขารก็จะเป็นผู้คล้อยตาม ส่งเสริมเห็นดีเห็นชอบ ปรุงแต่งในเรื่องนั้นๆ ให้เป็นที่พอใจในความต้องการ นักภาวนา อยากเห็นพระพุทธเจ้า อยากเห็นพระพุทธรูป อยากเห็นความสว่าง สังขารก็จะแสดงให้ดูได้ นักภาวนาผู้ไม่มีปัญญาแล้วก็จะเข้าใจว่าเป็นของดี [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ถือว่ามีอภิญญาขั้นสูง มีญาณขั้นละเอียด ทั้งๆที่เป็นอุบายของสังขารวางแผนหลอกจิต แต่ก็ยังไม่รู้ตัว ยังมีความเข้าใจว่า เป็นคุณธรรมขั้นสูงอีกด้วย ที่ได้อธิบายมานี้ก็เป็นผลมาจากสมาธิทั้งนั้น คิดว่านักปฏิบัติภาวนาพอจะเข้าใจ ในแนวทางการทำสมาธิ เพราะการทำสมาธิอย่างเดียว ก็ให้ผลดังได้อธิบายมานี้ ความคิดว่าเมื่อจิตรวมลงเป็นสมาธิเต็มที่แล้วก็จะมีวิปัสสนาญาณเกิดขึ้นนั้น จะไม่มีทางเกิดวิปัสสนาญาณได้เลย เพราะวิปัสสนาญาณเป็นสายต่อเนื่องมาจากผู้ที่มีปัญญา ผู้ที่มีความฉลาดเฉียบแหลมเท่านั้น[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]วันนี้พอแค่นี้ก่อนครับ โอกาสหน้า จะพิมพ์ให้อ่าน เพิ่มเติม เรื่อง [/FONT][FONT=&quot] พื้นฐานของวิปัสสนาญาณ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
     
  4. วิญญาณนิพพาน

    วิญญาณนิพพาน ทีมงานอาสาฯ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2008
    โพสต์:
    22,331
    กระทู้เรื่องเด่น:
    51
    ค่าพลัง:
    +21,005
    ครับ สงบเเล้วปัญญาเกิดตามมาเเน่นอน ข้อนี้คือหลักสัจธรรม อนุโมทนาครับ
     
  5. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]การทำจิตให้สงบเป็นหลักสากล [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] เพราะการทำให้จิตสงบนั้น มีมาประจำโลก และมีมาก่อนที่พระพุทธเจ้าของเราทั้งหลายอุบัติขึ้นในโลก เมื่อครั้งพระองค์ออกผนวชยังไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้า ในสมัยนั้นยังมีอุททกดาบส อาฬารดาบส เคยทำให้จิตสงบมาแล้ว และก็มีความสงบเต็มที่ เป็นอัปปนาสมาธิ เป็นรูปฌาน อรูปฌาน อย่างคล่องแคล่วพระองค์รู้ข่าว ก็เข้าไปศึกษาและปฏิบัติฝึกหัดให้จิตมีความสงบ เป็นอัปปนาสมาธิ เป็นรูปฌาน อรูปฌาน ได้อย่างเร็ว พระองค์จึงมาพิจารณาดความสงบนี้ว่าไม่ใช่ที่จะเป็นแนวทางให้ตรัสรู้ได้ เมื่อจิตรวมอยู่ในสมาธิ ก็เพียงมีความสุขใจ เท่านั้น เมื่อออกสมาธิมาแล้ว จิตก็ไหวไปตามอารมณ์ของกามคุณเหมือนเดิม นี้เหละท่าน การทำความสงบของดาบสทั้งสองพร้อมทั้งพระองค์ ก็มีความสงบในสมาธิเต็มที่แล้ว แต่ทำไมวิปัสสนาญาณ จึงไม่เกิดขึ้นเล่า[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]มิ ใช่เพียงเท่านี้ เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าเจ้าและพระอริยเจ้าทั้งหลายสร้างบารมี ก็เคยได้บวชเป็นฤาษีชีไพร เคยทำจิตให้มีความสงบเต็มที่มาแล้ว แต่ก็ไม่มีวิปัสสนาญาณเกิดขึ้นเช่นกัน หรือในยุคปัจจุบันนี้ ก็มีผู้ทำให้จิตสงบได้เหมือนกัน แม้บุคคลที่ไม่นับถือศาสนาอะไรเลย เขาก็ทำให้จิตสงบได้ ฉะนั้นการทำให้จิตสงบจึงเป็นหลักสากลไม่เลือกชาติ ชั้น วรรณะ ไม่ว่าพุทธศาสนาหรือในศาสนาอื่น ถึงจะมีอุบายต่างกันก็ตามแต่ก็มารวมลงในจุดเดียวกัน นั่นคือจิตมีความสงบนั่นเอง[/FONT]<o></o>


    ขอท่านอ่านหนังสือตัวสีแดงๆ อย่างช้าๆนะครับ จะเห็นว่า เมื่อจิตสงบแล้ว แต่วิปัสสนาญาณ จะยังไม่เกิดนะครับ ดังนั้น จึงควรโน้มจิต เพื่อไปทางวิปัสสนา สอนจิตให้รู้จักคิดเอง แรกๆเราก็สอนเองก่อน พอจิตมันรู้แล้ว มันจะสอนตัวเอง(จิต สอน จิต) ไปเรื่อยๆ เรามีแต่ประคองดูจิตไว้ไม่ให้ตกอยู่ในฝ่ายอกุศลธรรมครับ
     
  6. โบราณคดี

    โบราณคดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    420
    ค่าพลัง:
    +174
    ผมบังเอิญได้รับชานหมากของท่านตอนไปไหว้พระบรมสารีริกธาตุครับ เเละได้ชายผ้าท่านมาด้วยครับ ตอนนี้นํามาใส่กรอบห้อยคอเเล้ว เเคล้วคลาดครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...