เมื่อเข้าใจว่าควรจะเพ่งกายเพ่งใจแล้ว ขอแนะนำให้กระทำตามพระสูตรดังนี้ ซึ่งถือว่าเป็นการเพ่งที่นำมาใช้ในการเจริญวิปัสสนา หรือที่เรียกว่า มีปัญญาพิจารณาแนวทางหนึ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสนับสนุน แล้วจะเห็นว่าการสอนให้ไม่ต้องวิจาร วิจัยธรรมใดๆ ให้รู้เฉยๆ เท่านั้น อย่างนี้ คลาดเคลื่อนจากพุทธพจน์ต่อไปนี้หรือไม่อย่างไร ดังนี้
******************
๕. สัตตัฏฐานสูตร
ว่าด้วยการรู้ขันธ์ ๕ โดยฐานะ
[๑๑๘] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้:-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิก-
*เศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี. ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคได้ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกร
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ ผู้เพ่งพินิจโดยวิธี ๓ ประการ เราเรียกว่า
ยอดบุรุษ ผู้เสร็จกิจ อยู่จบพรหมจรรย์ ในธรรมวินัยนี้. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุผู้ฉลาดใน
ในฐานะ ๗ ประการ เป็นอย่างไร? ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ รู้ชัดซึ่งรูป เหตุเกิด
แห่งรูป ความดับแห่งรูป ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งรูป คุณแห่งรูป โทษแห่งรูป และ
อุบายเครื่องสลัดออกแห่งรูป. รู้ชัดเวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณ เหตุเกิด
แห่งวิญญาณ ความดับแห่งวิญญาณ ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งวิญญาณ คุณแห่งวิญญาณ
โทษแห่งวิญญาณ และอุบายเครื่องสลัดออกแห่งวิญญาณ.
. . . . . . . . . .
[๑๒๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุเป็นผู้เพ่งพินิจโดยวิธี ๓ ประการ เป็นอย่างไร?
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเพ่งพินิจโดยความเป็นธาตุประการหนึ่ง โดยความเป็นอายตนะประการ
หนึ่ง โดยความเป็นปฏิจจสมุปบาทประการหนึ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุย่อมเป็นผู้
เพ่งพินิจโดยวิธี ๓ ประการ. ภิกษุฉลาดในฐานะ ๗ ประการ ผู้เพ่งพินิจโดยวิธี ๓ ประการ เรา
เรียกว่า ยอดบุรุษ ผู้เสร็จกิจ อยู่จบพรหมจรรย์ในธรรมวินัยนี้.
จบ สูตรที่ ๕.
ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ : <!-- m -->http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... &A=1379&w=<!-- m -->๕._สัตตัฏฐานสูตร
*******************
ความปล่อยวาง ความสักแต่ว่า เป็นสิ่งที่พึงประสงค์ของผู้ปฏิบัติ แต่ไม่ใช่ว่าความสักแต่ว่าจะเกิดขึ้นจากการสักแต่ว่าอย่างทื่อๆ เฉยๆ รู้เฉยๆ ไม่ต้องไปทำอะไร ไม่ต้องไปละกิเลสอะไร ไม่ต้องไปป้องกันกิเลสอะไร ไม่ต้องไปวิจาร วิจัยธรรมอะไร ตรงกันข้ามให้เราทำการเข้าไปเพ่งกายเพ่งใจ ให้หมั่นเพ่งพินิจ หมั่นละกิเลส ป้องกันกิเลส วิจาร วิจัยธรรม เรียกว่าทำทุกสิ่งอย่าง ให้หมดทุกอย่างเพื่อให้รู้กระจ่าง เข้าใจในสิ่งที่เป็นขันธ์ห้า ในสิ่งที่ทำให้เรายึดมั่นถือมั่นนั้น เมื่อเราหมั่นทำอย่างนี้แล้ว ความปล่อยวาง ความสักแต่ว่า จะบังเกิดขึ้นมาเอง
อุปมาเหมือนกับ คนที่อยากเห็นของที่คว่ำอยู่ แล้วได้เปิดของที่คว่ำอยู่ให้รู้ว่าคืออะไร แล้วก็ได้รู้ว่าแท้จริงหาได้มีสาระอะไรเลย ที่นี้ก็ไม่อยากเห็นอีกจริงๆ เพราะรู้แล้ว แต่หากตราบใดไม่เห็นย่อมยังมีความอยากอยู่ลึกๆ หรือยังอยากกลับมาได้อีก
ลองพิจารณาดูเถิด ปฏิบัติตามที่บอกไปแล้วจะรู้ว่าจริงเท็จอย่างไร ขอให้พิสูจน์
ขอให้เจริญในธรรมทุกท่านทุกคน
การเพ่งของยอดบุรุษ
ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย siratsapon, 23 เมษายน 2009.
-
-
ขอพึงพิจารณาก่อน..
[FONT="]ความรู้สึกความนึกความคิดคือ จิต[/FONT][FONT="]
[/FONT][FONT="]เจตสิก ก็คืออาการของจิต
[/FONT]<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJ3998%7E1.SUT%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT="]จิต ปภสฺสรมิทํ จิตฺตํ ตญฺจ โข อาคนฺตุ เกหิ อุปกฺกิเลเสหิ อุปกฺกิลิฏฐํ[/FONT]
<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJ3998%7E1.SUT%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT="]จิตไม่คิดไม่นึกไม่ปรุงไม่แต่ง จึงจะเห็นจิต เรียกว่าใจ[/FONT]
<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJ3998%7E1.SUT%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT="] ความคิดความนึกความปรุงความแต่ง มัน ออกไปจากใจ เรียกว่าจิต[/FONT]
สุขเป็นเหตุใกล้สมาธิ สมาธิเป็นเหตุใกล้ของปัญญา
สติคือการระลึกรู้ สัมปชัญญะ คือชัดแจ้ง
เราเอาจิตไปเพ่งกายและจิตในอารมณ์หนึ่งเพื่อให้จิตรวมเข้ามาเป็นใจ...
ใจ
<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJ3998%7E1.SUT%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT="]จิตคือผู้คิดนึก ปรุงแต่ง จิตเป็นคนสั่ง[/FONT][FONT="]
[/FONT][FONT="]ส่วนใจสงบคงที่[/FONT]
เราทำสมาธิเพื่อให้<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJ3998%7E1.SUT%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT="]การภาวนาคุมจิตให้ถึงใจรวมเป็นหนึ่ง
[/FONT]<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJ3998%7E1.SUT%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT="]จิตมันต้องเป็นหนึ่ง ถ้าไม่ใช่หนึ่งแล้วก็ไม่ใช่จิต[/FONT]
<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJ3998%7E1.SUT%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->อุเปกฺขาสติปาริสุทธิ จตุตฺถํ ณานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
จตุตถณานนั้นปราศจากสุข ทุกข์ปรากฏ มีแต่ อุเบกขากับสติและความบริสุทธิ์ของจิต(ใจ)
เราเอาใจตรงนี้ละพิจารณาขันธ์ ขัดเกลากิเลสตรงนี้ตามความจริงของพระไตรลักษณ์ที่แสดงตัวตนขึ้นมา
<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJ3998%7E1.SUT%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT="] สติที่สมบูรณ์เต็มที่แล้ว พระไตรลักษณญาณจะเกิดขึ้นเอง รวมเรียกว่าขันธ์[/FONT][FONT="]5
[/FONT][FONT="]ลงสู่พระไตรลักษณ์โดยอัตโนมัติ[/FONT] -
เอ๋ ชักงงแล้วแฮะ คำว่า "เพ่ง"ความหมายคือ? กับคำว่า "พินิจ"ความหมายคือ? รวมกันเราอยู่ หากแยกกันอยู่แล้ว มันจะเป็น "เพ่งพินิจ" ได้อย่างไรครับ จขกท . ขอคำชี้แนะซักหน่อยครับ
-
ในพระไตรปิฏกยกมาก็มีแต่ คำว่า "เพ่งพินิจ" นิครับ ไม่เห็นตรงกับหัวข้อกระทู้เลยท่าน
"ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ ผู้เพ่งพินิจโดยวิธี ๓ ประการ เราเรียกว่า
ยอดบุรุษ ผู้เสร็จกิจ อยู่จบพรหมจรรย์ ในธรรมวินัยนี้."
[๑๒๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุเป็นผู้เพ่งพินิจโดยวิธี ๓ ประการ เป็นอย่างไร?
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเพ่งพินิจโดยความเป็นธาตุประการหนึ่ง โดยความเป็นอายตนะประการ
หนึ่ง โดยความเป็นปฏิจจสมุปบาทประการหนึ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุย่อมเป็นผู้
เพ่งพินิจโดยวิธี ๓ ประการ. ภิกษุฉลาดในฐานะ ๗ ประการ ผู้เพ่งพินิจโดยวิธี ๓ ประการ เรา
เรียกว่า ยอดบุรุษ ผู้เสร็จกิจ อยู่จบพรหมจรรย์ในธรรมวินัยนี้.
จบ สูตรที่ ๕. -
ควรพิจารณาก่อน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุผู้ฉลาดใน
ในฐานะ ๗ ประการ เป็นอย่างไร?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ รู้ชัดซึ่งรูป เหตุเกิด
แห่งรูป ความดับแห่งรูป
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็รูปเป็นไฉน?
มหาภูตรูป ๔ และรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔
นี้เรียกว่ารูป.
ความเกิดขึ้นแห่งรูป ย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งอาหาร
ความดับแห่งรูป ย่อม
มีเพราะความดับแห่งอาหาร
อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ คือ สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ.
นี้แลเป็นปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ความหมายของเพ่งพินิจ...
ภิกษุเพ่งพินิจธรรม๓ประการโดยเป็นธาตุ
โดยเป็นอายตนะ โดยเป็นปฎิจจสมุปบาท เป็นผู้ฉลาดในฐานะ๗ประการ
๑. การยั้งคิด ตรวจตราควบคุมจิต
ปรับปรุงธรรมให้สมดุลย์
เมื่อได้อบรมสติปัฎฐาน๔พิจารณาในกาย เวทนา จิต ธรรม เพียงพอ
ย่อมได้ชื่อว่า มีสติสัมโพชณงค์
๒. พินิจคิดค้นในเหตุนั้นๆ โดยชัดแก่ใจเมื่อได้ปฎิบัติตามปทานสังขารชื่อว่า
วิมังสาในคุณแห่งการอุปถัมภ์ ชื่อว่า มีธัมวิจยสัมโพช์ณงค์
๓. วิริยะ เพียรชอบอันเป็นมรรค
๔. ปีติในองค์ณานย่อมปรากฏ ปีติสัมโพชณงค์
๕. ความราบเรียบสงบของใจ ปัสสัทธิ
ระงับกายสังขาร จนจิตรวมเข้ามาเป็นใจปรากฏ ใจที่เที่ยงธรรม
ย่อมมีปัสสัทธิสัมโพชณงค์
๖ . เมื่อจิตเห็นจิตปรากฏเที่ยงธรรม จิตเป็นหนึ่ง(ใจ) โดยองค์ณาน๔บริบูรณ์
ย่อมได้ชื่อว่า มีสมาธิสัมโพชณงค์
๗. ความรู้จริงเห็นจริงด้วยอุเบกขาณานย่อมได้ชื่อว่ามีอุเบกขาสัมโพชณงค์
ความสงัดเงียบ
ปราศจากกามคุณ๕
ดับธรรมอันเป็นข้าศึก
น้อมจิตเพื่อสละออก สลัดคืนจากอารมณ์โดยเด็ดขาด
คุณธรรมทั้ง๗คือการเพ่งพินิจพิจารณาไตร่ตรองในขณะที่ใจแท้ปรากฏเกิดขึ้น
ส่วนการเพ่งกาย เพ่งจิต
เป็นการทำให้จิตอยู่ในอารมณ์หนึ่ง เป็นการหลอกล่อจิต
เพื่อให้จิตรวมมากลายเป็นใจแท้จริง
พระพุทธองค์ตรัสว่า"มรรคมีองค์๘ มีสัมมาสมาธิเป็นองค์ประธาน เป็นประมุข
นอกนั้นเป็นองค์ประกอบ" เปรียบเสมือนเข็มทิศที่มุ่งไปหาอีกฝั่ง
เมื่อใจเที่ยงธรรม มั่นคง
มุ่งไปทางถูก ความรู้ คิดอ่าน
การพูด การทำ การเลี้ยงชีพ ความเพียร และการรอบครอบ ย่อมพบฝั่งในไม่ช้า
อนึ่งข้าพเจ้าสรุปมาโดยย่อ ตามความเข้าใจเป็นส่วนตัว
หากผิดพลาดหรือล่วงเกินในพระธรรมวินัย
ขอให้พระธรรมงดไว้ซึ้งกรรมอันน่าติเตียนเช่นนี้เพื่อความสำรวมระวังต่อไป
ข้าพเจ้าชี้แจงธรรมต่อเพื่อนเป็นการแลกเปลี่ยนธรรมด้วยการเอื้อเฟื้อ เพื่อเกื้อกูล
ในธรรมกันและกัน หาได้มีเจตนาติเตียน หรือนำพระธรรมอันบริสุทธิ์
มาถกเถียงเพื่อความเก่งแก่ตนก็หาไม่
ผิดพลาดประการใดขอให้อภัยแก่เจตนาที่หวังดีแก่กันและกันด้วยเทอญ
</pre> -
...ขอถาม..
...เพ่งกับเพ่งพินิจ..ความหมายเหมือนกันไหม..
...เหตุใดท่านตั้งกระทู้ว่า..การเพ่งของยอดบุุรุษ..
...แล้วเหตุใดถึงไม่ใช้..การเพ่งพินิจของยอดบุรุษ..
...หรือสองคำนี้ใช้แทนกันได้..
...ด้วยความเคารพ.. -
ถ้าเข้าใจว่า ทางสายกลาง คือไม่ทรมานตนเอง( ทางกาย และทางใจ ) และไม่ตามใจกิเลส
ก็จะเข้าใจความหมายของคำศัพท์ คำว่าเพ่ง หรือเพ่งพินิจ ว่าในทางปฏิบัติว่าควรมีอาการเช่นไร
เป็นของรู้ได้ด้วยตนเอง ไม่ต้องมาสงสัย หรือมาทะเลาะกับใครกับเรื่องคำศัพท์ต่างๆนาๆ
เพราะของเหล่านี้เป็น "สมมุติ"
ทางสายกลาง ชื่อก็บอกแล้วว่า "กลาง" -
" ภิกษุผู้ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ ผู้เพ่งพินิจโดยวิธี ๓ ประการ"
ตั้งใจอ่าน พอควรละ แต่สรุบไม่ได้ว่าต่างกันอย่างไร ตรงใหน -
ขอบคุณสำหรับทุกๆ ความเห็นครับ
รบกวนท่านใดที่สนใจจะสนทนาต่อในประเด็นนี้ หรือมีข้อเสนอแนะประการใด เข้าไปในกระทู้นี้นะครับ เพราะเป็นกระทู้ต้นเรื่อง
http://palungjit.org/threads/มาเพ่งกันเถอะ-การปฏิบัติที่ดีควรจะเพ่ง.183726/page-2