หน้านี้ไม่สมบูรณ์เสียแล้ว อ่านยากหน่อยนะคะ
ขอเชิญท่านที่มีความจงรักภักดีและเทิดทูนในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย จงรักภักดี, 28 เมษายน 2009.
หน้า 56 ของ 234
-
-
<TABLE class=tborder id=post1271691 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 11-06-2008, 12:23 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #38 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1271691", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1271691 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->อาศัยหลักฐานของ อ.ชัยยง ที่ชี้ให้เห็นว่าพื้นที่สวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเจ้า สม ควรจะเป็น "เมืองแหน" หรือ"เมืองแหง"ซึ่งก็คือ อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ในปัจจุบัน และเรามองจากภาพการยาตราทัพ ออกจากที่รวมพลบริเวณชานเมืองเชียงใหม่ โดยสมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จยกทัพหน้าขึ้นไปทางเหนือไปรวมพลที่ฝาง ส่วนทัพหลวงองค์สมเด็จพระนเรศวรทรงควบคุมบัญชาการด้วยพระองค์เองโดยทรงนำทัพมุ่งตรงไปที่เมืองแหง ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเชียงใหม่ จะเห็นได้ว่า เป็นการเข้าตีสองทิศทาง ต่อที่หมายคือเมืองนาย พระองค์คงจะทรงกำหนดยุทธวิธีให้กำลังทัพของสมเด็จพระเอกาทศรถเข้าตีมาจากทางด้านเหนือ ในในขณะเดียวกันกำลังทัพของพระองค์ก็คงจะเป็นกำลังหลักที่เข้าตีตรงหน้าหรือจากทางด้านทิศใต้ ซึ่งไม่น่าจะประสบกับการต่อสู้ต้านทานมากนัก เพราะเมืองนายเป็นเมืองไทใหญ่ที่เคยเป็นของไทยเพิ่งจะถูกพระเจ้าอังวะยกทัพมาโจมตีและแย่งยึดไป และภายหลังที่ยึดเมืองนายได้กลับคืนแล้วกองทัพไทยก็จะได้รับกำลังเพิ่ม
เติมจากทัพไทใหญ่ของเมืองนาย เข้าตีกรุงอังวะต่อไป ข้อที่น่าสนใจศึกษาเป็นอย่างยิ่งก็คือว่าถ้าสมเด็จพระนเรศวรทรงยึดกรุงอังวะได้แล้ว พระองค์จะทรงมีพระราชประสงค์ที่จะขยายผลบุกลงมาทางด้านใต้เพื่อยึดแปร ตองอู และหงสาวดีหรือไม่ คงต้องจินตนาการเดาพระทัยพระองค์ท่านกันต่อไปนะครับ<!-- google_ad_section_end -->
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>
</TD></TR></TBODY></TABLE> -
<TABLE class=tborder id=post1270981 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 11-06-2008, 08:23 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #35 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ธัมมนัตา<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1270981", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Aug 2006
ข้อความ: 581
Groans: 24
Groaned at 2 Times in 2 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 1,099
ได้รับอนุโมทนา 6,931 ครั้ง ใน 638 โพส
พลังการให้คะแนน: 449
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1270981 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->P มหาราชดำอำลา . <O:p</O:p
ขึ้น 8 ค่ำ เดือนหก ตกวันจันทร์ <O:p</O:p
อันเป็นวัน สวรรคต หมดหน้าที่ <O:p</O:p
ทรงอุบัติ ในโลกหล้า ห้าสิบปี <O:p</O:p
ณ.วันนี้ ทรงดับปราณ กาลอำลา<O:p</O:p
<O:p</O:p
เมื่อครั้งนั้น อังวะกล้า มารุกล้ำ <O:p</O:p
พระทรงนำ กองทัพไทย ได้ฟันฝ่า<O:p</O:p
ร่วมเดินทัพ กันกับพระ อนุชา<O:p</O:p
สู่ล้านนา เมืองเชียงใหม่ ได้เตรียมการ<O:p</O:p
<O:p</O:p
จัดกองทัพ เป็นสองทาง ฝางชายเขต <O:p</O:p
สู่ประเทศ แดนพม่า มารุกราน<O:p</O:p
ถึงห้างหลวง ณ ทุ่งแก้ว แนวปราการ<O:p</O:p
โรคฝีพาล ขึ้นพระพักตร์ ฟักบ่มตัว<O:p</O:p
<O:p</O:p
ทรงเจ็บปวด รวดร้าว ราวฟ้าผ่า<O:p</O:p
พิษฝีกล้า กลัดหนองใน ใจระรัง<O:p</O:p
เสวยไม่ได้ ไข้อ่อนล้า มืดตามัว<O:p</O:p
แจ้งถ้วนทั่ว หยุดกองพล กลางหนทาง<O:p</O:p
<O:p</O:p
รับสั่งหา อนุชา เอกาน้อง<O:p</O:p
เจ้าพี่ต้อง พิษฝีหนัก จักอัปปาง<O:p</O:p
รู้ชีวิต จิตสุดท้าย ปลายเส้นทาง<O:p</O:p
ต้องไกลห่าง สิ้นภพชาติ จะขาดแล้ว<O:p</O:p
<O:p</O:p
ในชาตินี้ พี่ภูมิใจ ในตัวน้อง<O:p</O:p
อยู่เคียงครอง อยุธยา อนุชาแก้ว<O:p</O:p
ช่วยปราบศึก ฝึกทหาร การแน่แนว<O:p</O:p
สมใจแล้ว อนุชา ร่วมบารมี<O:p</O:p
<O:p</O:p
เมื่อถึงกาล วันอำลา ต้องลาจาก<O:p</O:p
จำไกลพราก ต้องจากกัน ในวันนี้<O:p</O:p
จงปกครอง ประชาชาติ ราชธานี<O:p</O:p
ให้อยู่ดี มีความสุข ทุกคืนวัน <O:p</O:p
<O:p</O:p
น้องจงเร่ง ยาตรา กรีฑาทัพ <O:p</O:p
อย่าถอยกลับ รุกหน้าไป ได้รบรัน<O:p</O:p
ขับพม่า จอมราวี ขยี้มัน<O:p</O:p
ให้รู้กัน เราคนไทย ใจอาจหาญ<O:p</O:p
<O:p</O:p
พระสั่งลา อาทิตย์ลับ กับขอบฟ้า<O:p</O:p
ทอดกายา บรรทมหลับ ให้กับงาน<O:p</O:p
ได้กอบกู้ สู้ศึกกล้า มาช้านาน<O:p</O:p
เมื่อถึงกาล สวรรคต หมดห่วงใย
<O:p</O:p
พระนเรศวร ครรไลไป ในวันสิ้น<O:p</O:p
เทพบดินทร์ ถิ่นไตรตรึง ซึ่งเป็นใหญ่<O:p</O:p
พร้อมบริวาร หมื่นแสน ในแดนไตร<O:p</O:p
อัญเชิญไป สถิตมั่น ชั้นเทพทอง ฯ
*มหาฤทธิชัย กัลยาโณ ประพันธ์ถวาย<O:p</O:p<!-- google_ad_section_end -->
__________________
<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->สัพพปาปัสสอกรณัง กุสสลัสสูปสัมปทา สจิตตปริโยทปนัง<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right></TD></TR></TBODY></TABLE>
-
ทางสายธาตุไม่เคยคิดมาก่อนว่าสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเจ้าจะทรงมีทั้งพระมเหสี และพระราชธิดาและพระราชโอรสมาก่อน
เมื่อได้อนุมานตามหลักฐานที่หาได้แล้วนี้จึงเชื่อ และรู้สึกดีใจที่พระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ทรงอุทิศพระองค์ตลอดพระชนม์ชีพเพื่อประเทศชาติ ได้ทรงมีพระรัชทายาทที่ยังคงสืบสายพระโลหิตของพระองค์ต่อเนื่องมิได้ขาดสายตราบจนกระทั่งปัจจุบัน พระองค์มิได้ทรงเป็นมหาราชโสด มิได้ทรงอยู่อย่างเดียวดาย ขณะที่ยังทรงดำรงพระชนม์อยู่นั้น ทรงมีบ้านและครอบครัวที่ทรงรักและเป็นห่วง มีพระราชโอรสพระราชธิดาให้ทรงเสด็จไปหาหลังจากกลับจากการศึก ข้าพระพุทธเจ้ารู้สึกยินดีมากที่ได้ทราบข้อมูลนี้ ดีใจที่พระองค์ท่านทรงมีครอบครัวของพระองค์เองที่สมบูรณ์ครอบครัวหนึ่ง
ด้วยเกล้า ด้วยกระหม่อมขอเดชะ
(โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่าน) -
<TABLE class=tborder id=post1275627 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 13-06-2008, 08:09 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #42 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1275627", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1275627 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->เดิมทีได้ตั้งใจว่าจะมาช่วยกันคาดเดาว่าการศึกครั้งนี้สมเด็จพระนเรศวรและพระเอกาทศรถ น่าจะใช้พื้นที่บริเวณใดเป็นพื้นที่รวมพลสำหรับกำลังกองทัพจำนวน 200,000 คนขึ้นไป ยังไม่นับไพร่พลลูกหาบในขบวนลำเลียง และช้างม้า วัวควาย อีกจำนวนมาก ที่แน่ๆน่าจะไม่เข้าในเมืองเชียงใหม่แน่ คงใช้เป็นแค่ฐานทัพ ตามที่เราได้คาดเดากันไว้ในตอนต้น ซึ่งจำเป็นจะต้องใช้แผนที่ขนาดมาตราส่วน 1:250,000 ได้ขอยืมทางทหารเขาไว้ จะได้ในวันนี้ ที่ค่อนข้างจะกล้ายืนยันว่าทั้งสองพระองค์น่าจะตัดสินพระทัยปลงทัพอยู่นอกเมืองเชียงใหม่ก็เพราะกำลังมากขนาดนี้ หากจะเข้าไปในเมืองก็จะเกิดความคับคั่งแออัด แล้วก็จะเกิดปัญหาทางธุรการต่างๆตามมา ข้อสำคัญการมาเชียงใหม่ในคราวนี้เป็นการมาสงคราม ไม่ใช่การมาท่องเที่ยว และทั้งสองพระองค์ก็คงจะใช้เวลาส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมดอยู่กับบรรดาทหารหาญ และอีกประการหนึ่งพระองค์ก็คงมีพระทัยที่ไม่ตั้งอยู่ในความประมาท เพราะพระเจ้าเชียงใหม่ในเวลานั้นคือมังมหานรธาช่อ เป็นพม่า เป็นโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง ต่างมารดา กับพระเจ้านันทบุเรง ถึงแม้ว่าพระเจ้าเชียงใหม่จะอยู่ในฐานะพระสัสสุระ(พ่อตา) ของสมเด็จพระนเรศวร ก็ตาม พระองค์ก็น่าทรงกริ่งพระทัยไม่ไว้วางใจ<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1275627")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1275775 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 13-06-2008, 09:29 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #43 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1275775", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1275775 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->หากพิจารณาในแง่ยุทธศาสตร์ของกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ถ้าพระองค์ไม่ทรงสิ้นพระชนม์เสียก่อนที่เวียงแหงแล้ว การบุกเข้ายึดเมืองนายน่าจะสำเร็จได้ง่าย เพราะไทใหญ่เองก็มีใจอยู่ด้วยกับศรีอยุธยาอยู่แล้ว ทางด้านยุทธวิธีสมเด็จพระนเรศวรทรงใช้รูปแบบการเข้าตีสองทิศทาง อาจจะคล้ายกับเป็นรูป
คีมหนีบ หรือเป็นลักษณะค้อนกับทั่งก็ได้ โดยกำลังทัพของสมเด็จพระนเรศวรยกเข้าตีตรงหน้า วางกำลังเป็นเสมือนทั่ง ในขณะเดียวกันกำลังทัพของสมเด็จพระเอกาทศรถเปรียบเสมือนค้อนก็จะรุกเข้ามาทางด้านบน และเมื่อทัพศรีอยุธยายึดได้เมืองนายแล้วก็คงจะสนธิกำลังกันเพื่อรุกต่อไปยังกรุงอังวะ ด้วยสภาพของกรุงอังวะในขณะนั้นที่เพิ่งเริ่มจะตั้งตนเป็นใหญ่ไหนเลยจะสามารถต้านทานทัพศรีอยุธยาที่กำลังแข็งแกร่งและฮึกเหิมได้ ในที่สุดก็คงจะพ่ายแพ้หรือยอมสวามิภักดิ์ต่อกรุงศรีอยุธยาเหมือนดังมังมหานรธาช่อ พระเจ้าเชียงใหม่ก็ได้ หลังจากนี้เราลองหันมาพิจ
ณาในกรอบยุทธศาสตร์ของกรุงศรีอยุธยาที่ได้ออกมาแล้วว่าต้องยึดครองพม่า เพราะฉนั้นเราก็น่าจะได้คำเฉลยแล้วว่าภายหลังที่ทัพศรีอยุธยายึดได้อังวะ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเจ้าก็น่าจะนำทัพรุกลงมาทางทิศใต้ยึดหงสาวดีเพื่อลบรอยแค้นในพระทัย(หงสาวดีในขณะนั้นก็เหมือนหมดสภาพแล้ว) ตองอูก็อ่อนแอ (ได้เข้ามาสวามิภักดิ์ต่ออยุธยาในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ) แปรก็คงจะยอมสวามิภักดิ์ด้วยเช่นกัน จะเห็นว่าโอกาสที่มอญจะรวมกันเป็นประเทศก็จะมีมาก เพราะองค์สมเด็จพระนเรศวรเจ้าก็ดูจะทรงโปรดพวกมอญอยู่มากทีเดียว คงเหลือแต่ยะไข่ ที่อยู่ถัดจากอังวะ ลึกเข้าไปในพม่า ที่พระองค์อาจจะทรงเก็บไว้ก่อนหรือมอบให้สมเด็จพระเอกาทศรถยกทัพไปจัดการเสียให้หมดเสี้ยนหนามก็เป็นไปได้ เสียดายนะครับทุกอย่างเป็นแค่ความฝัน ไม่อาจกลายเป็นความจริงขึ้นมาได้ เป็นการสูญเสียโอกาส
ครั้งสำคัญที่สุดและมีครั้งเดียวเท่านั้น ไม่เฉพาะแต่เพียงไทยเราประเทศเดียว ไทใหญ่และมอญก็สูญเสียโอกาสทองที่จะรวมประเทศให้เป็นไทใหญ่ และมอญ ไปด้วยอย่างน่าเสียดาย ต้องใช้คำว่าสุดแสนเสียดาย โอกาสทองอย่างนี้ไม่มีอีกแล้ว<!-- google_ad_section_end -->
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย ภาวิโต : 09-07-2008 เมื่อ 01:26 PM
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1275775")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1278653 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 14-06-2008, 12:46 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #46 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1278653", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1278653 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->ต้องขออนุญาตเรียนต่อเพื่อนสมาชิกและท่านผู้รู้ไว้ก่อนว่า สิ่งที่ผมได้เขียนไปแล้วและที่กำลังจะเขียนต่อไปนั้นมิได้มีเจตนาที่จะคัดง้าง เปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์ หรือต่อต้านทฤษฎีหรือแนวความคิดของท่านผู้รู้ท่านใดแม้แต่น้อย ในทางตรงข้ามผมล้วนได้อาศัยข้อมูล ทฤษฎีและแนวความคิดทั้งหลายมาใช้เป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ทั้งสิ้น ผมมีความเชื่อมั่นว่าท่านผู้รู้ทุกๆท่านรวมทั้งเพื่อนสมาชิกและตัวผมเองต่างก็มีหัวใจและความรู้สึกที่สามารถนำมาร้อยเรียงร่วมกันเป็นหนึ่งเดียวคือความจงรักภักดีและความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณขององค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเจ้า จนสุดที่จะประมาณ กล่าวได้ว่าแม้นพระองค์จะทรงเสด็จสู่สวรรคาลัยนานถึงสี่ร้อยปีเศษแล้ว แต่พวกเรายังคงรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์อยู่เสมอมิเสื่อมคลาย ยังมีความรู้สึกประหนึ่งว่าพระวิญญาณของพระองค์ยังทรงห่วงใยคุ้มครองปกป้องผองภัยอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ผมพยายามที่จะเสนอมุมมองเล็กๆน้อยๆเกี่ยวกับยุทธวิธีในการรบของพระองค์ท่านโดยนำยุทธวิธีและหลักการรบสมัยใหม่มาใช้เทียบเคียงซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ยุทธวิธีและหลักการสงครามในปัจจุบันส่วนใหญ่ต่างอาศัยพื้นฐานและหลักการสงครามสมัยโบราณเกือบทั้งสิ้น มีหลายท่านที่ได้เขียนถึงการรบแบบกองโจร ที่สมเด็จพระนเรศวรทรงเป็นกษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่นำยุทธวิธีนี้มาใช้อย่างได้ผลดียิ่ง ซึ่งจะไม่ขอกล่าวถึงในรายละเอียด เพียงแต่ว่าเราจะต้องนำปัจจัยนี้มาใช้ในการพิจารณาและวิเคราะห์การวางแผนการรบของพระองค์ท่านร่วมด้วยเสมอ นี่คือสิ่งที่ผมอยากจะเสนอบางมุมมองทางด้านการรบ ที่พอจะมีความรู้พื้นฐานอยู่บ้าง โดยที่ยังไม่พบว่ามีผู้รู้ท่านใดได้เคยรจนาไว้ก่อน<!-- google_ad_section_end -->
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย ภาวิโต : 09-07-2008 เมื่อ 01:36 PM
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1278653")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1284965 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 17-06-2008, 09:46 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #49 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1284965", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1284965 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->ฤาจะเป็นพระราชปณิธานที่หาญมุ่งขององค์มหาราชพระองค์ดำ<!-- google_ad_section_end -->
</CENTER>
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->เพื่อให้ดูสอดคล้องกับชื่อกระทู้ที่เปลี่ยนใหม่ จึงใคร่ขอนำเรื่องการถวายเครื่องสักการะบูชา ต่อดวงพระวิญญาณของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จากหนังสือ "อภินิหารสมเด็จพระนเรศวรมหาราชฯ "โดยพันโท กิตติพงษ์ ศรีนันทลักษณ์
เครื่องสังเวยที่ควรถวาย
๑. ดอกกุหลาบสีแดง
๒. ดอกจำปี และดอกมะลิ หรือ พวงมาลัย
๓. น้ำผึ้งหลวง (น้ำผึ้งแท้)
๔. พระกระยาหารไทยแบบง่ายๆ และอาหารแบบเดินทัพต่างๆ เช่นเครื่องของแห้งและของเค็ม เป็ด ไก่ ปลาต้ม ไข่ต้ม ข้าวต้มผัด อันเป็นอาหารสำหรับเดินทัพ
๕. ของหวาน ผลไม้แบบไทย น้ำเปล่า น้ำชา
๖. น้ำจัณฑ์
๗. ไก่ชน พระแสงดาบ
๘. ช้าง ม้า พระแสงปืน เรือรบ
๙. พระมาลา ฉลองพระองค์ ฉลองพระบาท
๑๐. เครื่องถวายแก้บนทรงโปรดดาบไทยครั้งละสองเล่ม และปืนใหญ่จำลอง ประทัด
เมื่อจะขอพระบารมี ต้องจุดธูป ๑๖ ดอก กลางแจ้ง แล้วกราบถวายบังคมขอพระราชทานพระบารมีเพื่อให้ทรงช่วยเหลือตามที่ต้องการ<!-- google_ad_section_end -->
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย ภาวิโต : 17-06-2008 เมื่อ 02:59 PM
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1284965")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1286644 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 17-06-2008, 08:00 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #50 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1286644", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1286644 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->ฤาจะเป็นพระราชปณิธานที่หาญมุ่งขององค์มหาราชพระองค์ดำ<!-- google_ad_section_end -->
</CENTER>
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->ที่ได้เคยเรียนไว้ว่าได้ขอยืมแผนที่ขนาดมาตราส่วน 1:250,000จากทางทหารไว้หนึ่งระวางนั้นได้มาแล้วครับแต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ที่เราจะต้องพิจารณาทั้งหมด ขาดอีก 3 ระวางหรือ 3 แผ่น แต่ในหนึ่งระวางที่ได้มาแล้วนี้ ก็สามารถเห็นเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตามข้อพิจารณาและการค้นคว้าของอาจารย์ ชัยยง ไชยศรี ที่ชี้ให้เห็นว่าสถานที่ที่สมเด็จพระนเรศวรสิ้นพระชนม์นั้นควรจะเป็นที่เวียงแหงไม่ใช่เมืองหาง และแนวเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวรนั้นน่าจะเป็นแนวเส้นทางตามแนวลำน้ำแม่แตงส่วนทัพของพระเอกาทศรถนั้นมุ่งตรงขึ้นไปทางด้านเหนือสู่เมืองฝาง ทีนี้ถ้าท่านใดมีแผนที่ทางเหนือที่ครอบคลุมเชียงใหม่ จะเป็นแผนที่เส้นทางหลวงที่มีขายโดยทั่วไปก็ได้ ลองลากเส้นตรงเชื่อมระหว่าง อ.เวียงแหง กับ อ.ฝาง หลังจากนั้น ณ ที่จุด อ.เวียงแหง และที่จุด อ.ฝาง ให้ลากเส้นตรงตั้งฉากออกไปที่เส้นเขตแดนไทย-พม่า จะสามารถคาดคะเนได้ด้วยสายตาว่าความยาวของเส้นตั้งฉากนั้นมีระยะใกล้เคียงกันโดยประมาณนะครับ ตรงนี้แหละครับที่น่าจะเป็นสิ่งบอกเหตุที่สำคัญอะไรบางอย่าง และอาจจะเป็นมุมมองอีกมุมมองหนึ่งที่อาจจะนำไปสู่การพิจารณาค้นคว้าว่าสถานที่ที่สมเด็จพระนเรศวรเสด็จสวรรคตนั้น น่าจะเป็นที่ใดกันแน่<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1286644")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1287753 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 18-06-2008, 10:20 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #53 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sutatip_b<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1287753", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Aug 2007
ข้อความ: 3,114
Groans: 3
Groaned at 14 Times in 13 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 20,096
ได้รับอนุโมทนา 56,687 ครั้ง ใน 3,060 โพส
พลังการให้คะแนน: 2817
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1287753 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->มีเรื่องแจ้งให้ทราบค่ะ
ถนนจากเชียงใหม่ไปอ. ชัยปราการ จากสี่แยกไป พร้าว-เวียงป่าเป้าลงมา อ. พร้าว มีผู้รู้บอกผ่าน (มีพลังงานมาแจ้ง) ว่าเป็นเส้นเดินทัพพระนเรศ
ผุ้รู้ท่านนี้กรุณาบอกด้วยว่า บริเวณใกล้วัดดอยแม่ปั๋ง (เดียวกัน) ฝั่งตรงข้ามถนนติดลำธารเป็นที่พักทัพ มีการรักษาพยาบาลทหารเจ็บ มีทหารล้มตาย พระนเรศเจ้าเองได้ประหารชีวิตทหารหนีทัพหลายคนที่นั่น (กม. 70 เศษ)
ต่อมาผู้ผ่านไปแถวนั้นท่านหนึ่งเห็นค่ายทหารปลุกสร้างริมลำธารดังกล่าว มีศีรษะทหารหนีทัพปักยอดไม้เรียงรายริมลำธาร
ได้พบและสนทนากับผู้รู้ทั้งสองท่านด้วยตนเอง จึงเรียนมาเพื่อทราบเผื่อประกอบบทความของคุณภาวิโตค่ะ ถึงมิได้ทราบด้วยตนเองแต่เชื่อว่าถูกต้อง เพราะมีการขุดพบภาชนะบรรจุยาในบริเวณดังกล่าวขณะบุกเบิกที่ดินค่ะ เจ้าของที่ดิน (เสียชีวิตแล้ว) เล่าให้ฟังค่ะ
ลำธารตรงนั้นมีแร่กำมะถัน เป็นน้ำซับร้อน คิดว่าเหมาะแก่การพักรักษาตัวค่ะ<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1287753")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1288409 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 18-06-2008, 02:47 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #54 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1288409", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1288409 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->ขอบพระคุณครับ นับว่าเป็นข้อมูลประกอบที่สำคัญข้อมูลหนึ่ง แม้นจะเป็นข้อมูลทางด้านจิตวิญญาณก็ยังดีกว่าไม่มีนะครับ น่าจะสามารถใช้เป็นสิ่งบอกเหตุที่จะนำไปสู่การพิจารณาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ เนื่องจากเราไม่อาจสามารถหาหลักฐานทางกายภาพอื่นใดมาช่วยประกอบการพิจารณาได้ ด้วยระยะเวลาผ่านไปนานมาก การวิเคราะห์หาความเป็นไปได้จึงต้องอาศัยจากข้อพิจารณาในเรื่องของหลักการสงครามเป็นหลัก แล้วนำมาพิจารณาประกอบกับภูมิประเทศจริง (จากแผนที่)ว่าจะมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด รวมทั้งจะต้องพิจารณาควบคู่ไปกับเหตุผลที่เป็นข้อเท็จจริงอีกด้วย เช่นข้อเท็จจริงในเรื่องการเคลื่อนย้ายทางเรือของทัพศรีอยุธยานั้น น่าจะเป็นเพียงบางส่วน ส่วนที่เหลือก็ยังคงต้องเดินทางด้วยเท้ารอนแรมกันมาในภูมิประเทศพร้อมด้วย ช้างม้า วัวควาย เพราะการจะเคลื่อนย้ายกองทัพที่มีกำลังจำนวนแสน หรือครึ่งแสนพร้อมกันนั้นคงจะต้องใช้เรือจำนวนมาก คงจะทำได้ไม่ง่ายนัก ดังนั้นกำลังพลส่วนที่มาโดยทางเรือและส่วนที่เดินทางด้วยเท้า ภายหลังจากที่มาสมทบกันที่จุดใดจุดหนึ่งแล้ว ก็จะต้องเดินลัดตัดตรงมุ่งสู่เชียงใหม่ เนื่องจากกำลังส่วนนี้จะต้องมุ่งตรงขึ้นไปฝาง ดังนั้นเมื่อทัพกรุงศรีอยุธยาผ่านลำปาง ลำพูน ก็น่าจะเลยไปปลงทัพที่บริเวณพื้นที่ราบระหว่างอ.พร้าวและ อ.แม่แตง ซึ่งมีพื้นที่กว้างใหญ่พอที่จะรับทัพกรุงศรีอยุธยา 100,000 คน และทัพเชียงใหม่อีก 100,000 คนอีกทั้งมีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์ อยู่กลาง(ปัจจุบันเป็นเขื่อนแม่งัด)และแน่นอนทัพศรีอยุธยาน่าจะเลือกชัยภูมิอยู่ที่ อ.พร้าว ด้วยเหตุผลในทางยุทธวิธี เป็นสำคัญ ประการหนึ่ง เหตุผลรองลงมา เพราะบริเวณแถวพร้าวมีลำธารที่เป็นน้ำพุร้อน เหมาะสำหรับการบำบัดรักษาโรคผิวหนัง เนื่องด้วยการเดินทัพที่ต้องรอนแรมมาไกลไพร่พลไม่ได้มีโอกาสอาบน้ำชำระเหงื่อไคลกันได้บ่อยนัก ด้วยปัจจัยเกื้อหนุนในข้อนี้พื้นที่บริเวณ อ.พร้าวจึงน่าจะเหมาะสมสำหรับการปลงทัพ สำหรับทั้งสองพระองค์ก็น่าที่จะประทับที่กองบัญชาการกองทัพศรีอยุธยา ซึ่งอยู่ ณ จุดใดจุดหนึ่งในบริเวณเดียวกันนั้น ในชั้นต้น<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1288409")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE> -
<TABLE class=tborder id=post1288439 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 18-06-2008, 03:09 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #55 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1288439", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1288439 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->จะมีความเป็นไปได้ไหม ที่ทัพศรีอยุธยาจะเดินทัพเข้าไปที่ตัวเมืองเชียงใหม่หรือใกล้เข้าไปเชียงใหม่มากกว่านี้ ไม่น่าจะเป็นไปได้หรือมีความเป็นไปได้น้อยมาก ประการแรก เพราะกำลังของกรุงศรีอยุธยา มีเพียงหนึ่งแสนหรืออาจน้อยกว่าถ้าต้องรอกำลังจากหัวเมืองรายทางมาสมทบ แล้วก็เป็นกำลังที่เหน็ดเหนื่อยจากการเดินทางรอนแรมมาไกล หากเข้ามาอยู่ในเชียงใหม่หรือใกล้เชียงใหม่มากเกินไป ถ้ามังนรธาช่อเจ้าเมืองเชียงใหม่ (เป็นพม่า)เกิดทรยศหักหลังขึ้นมา ทัพศรีอยุธยาก็จะลำบาก ด้วยวิสัยของนักรบ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชย่อมจะทรงระมัดระวัง จึงน่าจะทรงหยุดยั้งทัพอยู่ที่พร้าวจะปลอดภัยมากกว่า สำหรับในทางยุทธวิธี การเดินทัพจากพร้าวมุ่งต่อไปยังฝางก็จะมีระยะทางใกล้มากกว่าที่จะเดินทัพออกจากเชียงใหม่ด้วย<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1288439")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1289091 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 18-06-2008, 08:01 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #56 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Fort_GORDON<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1289091", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Apr 2008
ข้อความ: 209
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 2,989
ได้รับอนุโมทนา 1,146 ครั้ง ใน 235 โพส
พลังการให้คะแนน: 53
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1289091 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->พอจะมองเห็นภาพของที่รวมพลของกองกำลังทหารไทย(กองทัพศรีอยุธยา+กองทัพเชียงใหม่)ที่บริเวณพื้นที่ราบระหว่างอ.แม่แตง กับ อ.พร้าว เป็นพื้นที่ที่มีน้ำอุดมสมบูรณ์เพียงพอสำหรับทหาร และช้าง ม้า วัว ควาย อีกจำนวนมาก เมื่อทัพศรีอยุธยาตั้งกองบัญชาการที่ พร้าว ทัพเชียงใหม่ก็เหมาะที่จะใช้พื้นที่บริเวณ แม่แตง เป็นที่ตั้งกองบัญชาการนะครับ ขอร่วมเดาด้วยคนครับ<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1289091")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1289929 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 19-06-2008, 08:12 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #57 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1289929", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1289929 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->แน่นอนครับทัพเชียงใหม่ต้องเลือกแถวบริเวณแม่แตงเป็นที่รวมพลแน่นอน เพราะเดินทัพใกล้ จากเชียงใหม่ออกมาก็ประมาณ 50 กม. กองทัพก็คงจะเดินทางกันประมาณค่อนวันหรือวันหนึ่ง ข้อสำคัญเส้นทางรุก(ทางเดินทัพของกองกำลังส่วนนี้)จะต้องรุกจากแม่แตงไปตามแนวลำน้ำแม่แตงสู่เวียงแหง ก็จะสะดวกด้วยประการทั้งปวงอยู่แล้ว ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องไปใช้เส้นทางอื่นเป็นแน่ครับ<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1289929")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1290142 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 19-06-2008, 09:53 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #60 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sutatip_b<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1290142", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Aug 2007
ข้อความ: 3,114
Groans: 3
Groaned at 14 Times in 13 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 20,096
ได้รับอนุโมทนา 56,687 ครั้ง ใน 3,060 โพส
พลังการให้คะแนน: 2817
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1290142 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->ถนนจากเชียงใหม่ (เส้น ๑๐๐๑) ไปพร้าวออกจากถนน ring road ไปเลยไม่เข้าใกล้กำแพงเมืองเชียงใหม่ ผ่านแม่โจ้เข้าพร้าว
อาจตัดบนเส้นทางคมนาคมเดิม จึงอาจเป็นเส้นเดินทัพเดิมก็ได้
ตำแหน่งที่มีคนขุดเครื่องยาได้ อยู่บนเนินเขาใกล้ลำธาร ห่างจากถนนใหญ่สัก ๓๐๐-๕๐๐ เมตร
มีผู้รู้บอกว่าฮวงจุ้ยสถานที่ดี และดีในแง่การทหาร บอกว่าเป็นกองบัญชาการจะเหมาะมาก ด้านหลังเป็นเขาใครโอบตีไม่ได้ ป่าอุดมมีหน่อไม้ สมุนไพร และผักหญ้า มีน้ำไหล ทุกอย่างบริบูรณ์
ที่ทราบข้อมูลเรื่องที่เยอะเพราะเป็นบ้านของสมาชิกในครอบครัวค่ะ
เรื่องฌานทรรศนะก็เล่าตามที่ทราบมาจากผู้พูดนะคะ ไม่ใช่ฟังเขามาหลายๆต่อ<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1290142")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1292381 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 20-06-2008, 08:04 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #62 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1292381", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1292381 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->ฤๅจะเป็นพระราชปณิธานที่หาญมุ่งขององค์มหาราชพระองค์ดำ<!-- google_ad_section_end -->
</CENTER>
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->-เป็นแผนที่ทางยุทธวิธีแสดงให้เห็นการเคลื่อนย้ายหรือยาตราทัพของกองทัพของสมเด็จพระนเรศวรที่อยู่ทางด้านซ้ายมือเข้ายึดที่หมายตามลำดับขั้นคือเวียงแหง ส่วนทัพทางด้านขวามือเป็นกองทัพของสมเด็จพระเอกาทศรถที่มุ่งขึ้นไปทางเหนือเพื่อยึดที่หมายตามลำดับขั้น คือเมืองฝางครับ
-ทั้งนี้มีสมมติฐานว่าทั้งสองกองทัพเคลื่อนย้ายกำลังออกจากที่รวมพลบริเวณแม่แตง-พร้าวนะครับ
-ต้องขอเรียนย้ำอีกครั้ง ว่าเป็นการคาดเดาและการจินตนาการโดยอาศัยหลักการสงครามและยุทธวิธีในการรบสมัยปัจจุบันมาผสมผสานเพื่อให้สามารถมองภาพการยุทธและการเคลื่อนย้ายกำลังในครั้งนั้นว่าสมควรจะเป็นอย่างไรแน่<!-- google_ad_section_end -->
<FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>
</FIELDSET>
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย ภาวิโต : 20-06-2008 เมื่อ 08:50 AM
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1292381")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1293144 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 20-06-2008, 01:38 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #63 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1293144", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1293144 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->-ที่รวมพลเป็นสถานที่ที่ทหารเข้ามาปรับกำลังรบ ฝึกซ้อม ฝึกปรือรี้พล เพื่อให้เกิดความชำนาญและแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น ให้มีความพร้อมที่จะทำการสู้รบ -ทัพอยุธยาที่เดินทัพขึ้นมาเชียงใหม่ ตามภูมิประเทศก็จะถึง พร้าว ก่อน เมื่อพบชัยภูมิและทำเลที่ดีก็คงจะเลือกที่พร้าว เป็นที่ตั้ง จะเห็นว่าระยะจากพร้าวไปฝางจะใกล้กว่าระยะจากแม่แตงหรือเชียงใหม่ไปฝาง เหตุผลอีกประการหนึ่งที่น่าเชื่อว่าควรจะเป็นที่พร้าว เพราะมีข่ายเส้นทางจากพร้าวไปฝาง แม้นจะเป็นแผนที่ในสมัยปัจจุบัน ก็น่าจะอาศัยเส้นทางเดิมเป็นแนวหลักในการก่อสร้างถนน-
-ส่วนทัพเชียงใหม่ ก็น่าจะเลือกบริเวณแม่แตงเป็นที่ตั้งของหน่วย ด้วยมีเส้นทางเดินทัพจากเชียงใหม่มาแม่แตงไกลเพียงประมาณ 50 กม.ซึ่งใช้เวลาเดินทัพไม่เกินหนึ่งวัน
-ภายหลังจากทัพอยุธยาและทัพเชียงใหม่เข้าที่รวมพลเรียบร้อยแล้ว ก็น่าจะต้องมีการปรับกำลัง ฝึกปรือรี้พลให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์และพร้อมรบ ข้อสำคัญน่าจะต้องมีการปรับผสมกำลังกันระหว่างทัพอยุธยากับทัพเชียงใหม่ เพราะทัพเชียงใหม่ย่อมจะมีความคุ้นเคยและTTชำนาญในพื้นที่ เส้นทาง มากกว่าทหารอยุธยา ส่วนทหารอยุธยาก็จะได้เปรียบในด้านการรบและความเจนศึก (และเพื่อเป็นการสลายกำลังความเป็นปึกแผ่นของทัพเชียงใหม่ด้วยก็เป็นได้)
-ต่อไปจึงน่าจะเรียกชื่อเสียใหม่เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายๆว่า ทัพไทย 1 และทัพไทย 2 นะครับ โดยทัพไทย 2 มีสมเด็จพระเอกาทศรถเป็นจอมทัพ และทัพไทย 1 มีสมเด็จพระนเรศวรเป็นจอมทัพครับ
-สำหรับเส้นทางเดินทัพ จะขอยกไว้ตอนถัดไป<!-- google_ad_section_end -->
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย ภาวิโต : 20-06-2008 เมื่อ 02:15 PM
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1293144")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE> -
<TABLE class=tborder id=post1294871 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 21-06-2008, 08:15 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #64 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1294871", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1294871 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->จากหนังสือ ตามรอย นเรศวรมหาราช นอกกรอบประวัติศาสตร์ชาตินิยม โดย สุเจน กรรพฤทธิ์ ผู้นำเสนอทฤษฎีใหม่ของ อ.ชัยยง ไชยศรี มีข้อความตอนหนึ่งว่า " จากเชียงใหม่ไป
อังวะ มีเส้นทางที่เป็นที่ราบระหว่างหุบเขาสองเส้นทางที่ใช้
เดินทัพได้ เส้นทางที่ 1 ไปตามสายน้ำแม่ปิง ผ่านอ.เชียงดาว
ไปช่องกิ่วผาวอก เข้าสู่แดนไทใหญ่ มุ่งหน้าไปเมืองหาง
เมืองต่วน ไปข้ามน้ำสาละวินที่ท่าศาลา แล้วตรงไปอังวะ เส้น
ทางที่ 2 คือถนนสายเก่าที่เรากำลังใช้อยู่นี้ ซึ่งอาศัยที่ราบริม
สายน้ำแม่แตงเดินทัพไปท่ามกลางภูเขาสูง ผ่านเมืองกื๊ด ผ่านที่
ราบลุ่มเล็กๆ สองแห่ง คือห้วยทุ่งยัวะ ห้วยแม่กอก จากนั้นไป
เมืองก๋าย เมืองคอง ก่อนจะไปถึงเมืองแหง เป้าหมายของ
สมเด็จพระนเรศวร เมื่อเดินทัพออกจากเมืองแหง คือ ผ่านช่อง
หลักแต่งไป สู่เมืองทา ซึ่งอยู่ในที่ราบลุ่มริมน้ำทา(ปัจจุบันเป็น
เมืองร้าง) ต่อไปยังบริเวณสบจ๊อด ไปข้ามฝั่งที่ท่าผาแดง ซึ่ง
เป็นจุดที่แม่น้ำสาละวินแคบที่สุดของแถบนั้น แล้วไปเมืองปั่น
เมืองลางเคอ เมืองนาย จากนั้นก็เป็นทางตรงสู่กรุงอังวะ
ระยะทางประมาณ 255 กม. ซึ่งผมเชื่อว่าทรงใช้ เส้นทางนี้
มากกว่าเส้นทางแรก "
น่าจะเป็นหนังสือเล่มเดียวที่ได้มีการวิเคราะห์เกี่ยวกับ "เมือง
หางหรือเมืองเวียงแหง" และ "เส้นทางเดินทัพจากเชียงใหม่ สู่
เมืองเวียงแหง " ที่เป็นหลักเป็นฐานมากที่สุด
-ในบทหน้าเราจะได้มาวิเคราะห์กันในมุมมองทางด้านยุทธวิธีในการรบนะครับ<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1294871")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1295816 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 21-06-2008, 06:34 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #65 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Fort_GORDON<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1295816", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Apr 2008
ข้อความ: 209
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 2,989
ได้รับอนุโมทนา 1,146 ครั้ง ใน 235 โพส
พลังการให้คะแนน: 53
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1295816 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->อาจารย์ชัยยง ท่านทุ่มเทค้นคว้ามากทีเดียว เพิ่งได้มีโอกาสอ่านผลงานของท่าน จากหนังสือ "จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอยนเรศวรมหาราช นอกกรอบประวัติศาสตร์ชาตินิยม "เขียนโดย สุเจน กรรพฤทธิ์ ทำให้พวกเราได้ทราบชัดเจนขึ้นว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่พวกเราชาวไทยเคารพบูชา เสด็จสวรรคตที่อ.เวียงแหง นี่เอง หาใช่ เมืองหาง ที่พวกเราท่านได้เคยทราบกันไม่ ขอคารวะครับ<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1295816")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
-
<TABLE class=tborder id=post1296988 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 22-06-2008, 08:37 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #67 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1296988", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,016 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 201
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1296988 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->ก่อนจะไปถึงเวียงแหง ก็ระลึกถึงได้ว่าเรายังมีบุคคล
สำคัญอีกท่านหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ลึกซึ้งกับองค์สมเด็จพระ
นเรศวรมหาราช ที่เราน่าจะหยิบยกมากล่าวถึงบ้างอย่างน้อยก็
เป็นการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศบ้าง ท่านนั้นก็คือองค์สมเด็จ
พระสุพรรณกัลยา พระพี่นาง ....จากหนังสือของ สุเจน กรร
พฤทธิ์ ที่ได้อ้างถึงแล้ว -ในวงสัมมนา"การศึกษาข้อมูลเกี่ยว
กับพระสุพรรณกัลยาและความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมไทย-
พม่า" เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2542 ณ หอสมุดแห่งชาติ
กรุงเทพฯ มิคกี้ ฮาร์ท นักวิชาการพม่า ได้เสนอข้อมูลพร้อม
ให้ความเห็นต่อเรื่องนี้ว่า หลักฐานทั้งไทยและพม่าระบุตรง
กันว่า พระสุพรรณกัลยา ทรงมีตัวตนจริง และประทับที่
พระราชวังหงสาวดีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2112 ขณะพระชันษา 17 ปี
ดังนั้นในปี พ.ศ. 2135 ที่เกิดยุทธหัตถี พระองค์จึงน่าจะมีพระ
ชันษา 40 ปี และหากทรงมีพระโอรสหรือพระธิดา กับพระ
เจ้าบุเรงนองจริง พระโอรสหรือพระธิดานั้นก็ควรเจริญพระ
ชันษาราว 8 ปีหรือมากกว่านั้น...และ ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์
ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์พม่าเล่าถึงหลักฐานล่าสุดเกี่ยวกับ
เรื่องนี้ว่า "เมื่อสิ้นรัชกาลพระเจ้าบุเรงนอง มีการทำบัญชีราย
ชื่อพระมเหสีเอก พระสนม ซึ่งจะบันทึกเฉพาะองค์ที่มีพระ
โอรสหรือพระธิดา ในพงศาวดารมหายาสะเวงเต๊ะ ของพม่า
ปรากฎว่ามีพระนามพระสนม (มี้พระยาเอ หรือโกโละดอ )
องค์หนึ่งจากทั้งหมด 42 องค์ ถอดเป็นภาษาไทยได้ว่า *ํอะเมี้ยว
โยง พระพี่นางในพระนริศ กษัตริย์อโยธยา ประสูตรพระ
ราชธิดานามเมงอทเวหนึ่ง* ข้อมูลนี้ผมคิดว่ารับฟังได้ เพราะ
หลักฐานไม่ได้จงใจกล่าวถึงพระสุพรรณกัลยา หากตั้งใจ
กล่าวถึงมเหสีของบุเรงนองทั้งหมด จึงน่าจะเป็นการบันทึก
ตามจริง ทั้งยังมีหลักฐานการอพยพมเหสีของพระเจ้าบุเรง
นองและพระเจ้านันทบุเรงไปไว้ที่เมืองตองอู และยะไข่หลัง
หงสาวดีถูกเผา ดังนั้นพระสุพรรณกัลยาจึงน่าจะสิ้นพระชนม์
ด้วยโรคชราที่ตองอูหรือยะไข่มากกว่า"<!-- google_ad_section_end -->
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย ภาวิโต : 23-06-2008 เมื่อ 10:45 AM
</TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> <SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1296988")</SCRIPT> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
หน้า 56 ของ 234