จำเป็นไหมครับ
ที่ต้อง เข้าฌาน(ชาน) ก่อน แล้วค่อย มาพิจารณา ขันธ์ห้า (วิปัสสนา)
หรือ เข้าสมาธิ สงบ แล้วพิจารณาได้เลย
แล้วถ้า บริกรรมคาถา ที่ไม่ใช่พุทธโธ
เพื่อให้ได้สมาธิ หรือ ฌาน(ชาน)ก่อน
ผมใช้ "นิม มา รา ติ" (ผมรู้สึกว่าเข้าได้เร็วกว่า ง่ายกว่า)
แล้วกลับมา พุทธโธ เพื่อวิปัสนาได้ไหมครับ
ด้วยความเคารพอย่างสูง
จำเป็นไหมที่ต้องเข้าฌานก่อนแล้วค่อยพิจารณาขันธ์ห้า
ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย คุณตุ๊ก, 29 ตุลาคม 2012.
หน้า 1 ของ 3
-
สอนกันมาผิดๆ ก็เข้าใจกันไปผิดๆ
"ฌาน"(ชาน) ไม่ต้องเข้าขอรับ
แต่ ถ้าคุณปฏิบัติสมาธิ คุณจะเกิด ฌาน(ชาน) อ่านแล้วคิดพิจารณาให้ลึกซึ้งนะขอรับ -
ไปเจอกระทู้นี้มาครับ http://palungjit.org/threads/%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%A4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C-%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1-%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B9%84%E0%B8%AA%E0%B8%A2.261684/
เลยลองทำดู รู้สึกว่าตัวเองเป็นสมาธิได้ง่ายขึ้น ละเอียดขึ้น
ก็เลยอยากทราพว่า ถ้าทำแล้วสงบ แล้วจะหันมาดูขันธห้า ได้หรือไม่
ถ้าไม่ได้ ก็จะพุทธโธเหมือนเดิมครับ เพราะตอนนี้ก็พยามอยู่พุทธโธ ตลอดเวลา ที่นึกได้
แต่ไป "นิม มา รา ติ" เฉพาะตอนนั้งถ้าไม่ได้ ก็จะเปลี่ยน ขอบพระคุณอย่างสูงครับ -
คำภาวนา เป็นแค่เครื่องล่อจิต
หลักชัยขั้นต้น อยู่ที่จิตสงบ ใช้เครื่องล่อจิตตัวไหน ก็ทำให้จิตสงบได้เช่นเดียวกัน -
ก็หมายความว่า ผมสามารถใช้ "นิม มา รา ติ" ให้เข้าสมาธิ(สงบ)
แล้วมา พิจรณารางกาย (กลับมาพุทธโธ+ลมหายใจ) ได้ใช่ไหมครับ -
ไม่จำเป็นต้องเข้าฌานก่อนครับ อาศัยสมาธิชั่วขณะก็เกิดปัญญาได้ครับ จะใช้สมาธินี้นำก่อนเรียก ปัญญานำสมาธิ
สมาธิที่เป็นสัมมาสมาธิกับฌานคนละตัวกันนะครับ สภาวะเป็นจิตตั้งมั่นเห็นขันธ์กระจายตัวออก กับ ฌานที่เป็นอารมณ์สงบของจิตที่จดจ่อในอารมณ์อันเดียว
สมาธิสองแบบนี้เรียกว่า1.ลักขณูปณิชฌาน กับ 2.อารัมณูปณิชฌาน สังเกตุชื่อเรียกก็จะเห็นคำว่า 1.ลักษณะ กับ2. อารมณ์
1.คือรู้ลักษณะของขันธ์เป็นไตรลักษณ์ 2. คือรู้อารมณ์ที่จิตไปจดจ่ออยู่ -
ไม่จำเป็นต้องเข้าฌานก่อนครับ อาศัยสมาธิชั่วขณะก็เกิดปัญญาได้ครับ จะใช้สมาธินี้นำก่อนเรียก ปัญญานำสมาธิ
สมาธิที่เป็นสัมมาสมาธิกับฌานคนละตัวกันนะครับ สภาวะเป็นจิตตั้งมั่นเห็นขันธ์กระจายตัวออก กับ ฌานที่เป็นอารมณ์สงบของจิตที่จดจ่อในอารมณ์อันเดียว
สมาธิสองแบบนี้เรียกว่า1.ลักขณูปณิชฌาน กับ 2.อารัมณูปณิชฌาน สังเกตุชื่อเรียกก็จะเห็นคำว่า 1.ลักษณะ กับ2. อารมณ์
1.คือรู้ลักษณะของขันธ์เป็นไตรลักษณ์ 2. คือรู้อารมณ์ที่จิตไปจดจ่ออยู่ -
กระจ่างมากครับ
ขออนุโมทนา กับทุกท่านที่ให้คำตอบครับ -
จริงๆแล้วควรทำจิตให้ละเอียดสุดเท่าที่สามารถทำได้ครับ แล้วค่อยมาพิจารณา ในกรณีของคุณถ้าสามารถทำได้ถึงขั้นฌานก็ทำเลยครับ พอจะพิจารณาค่อยถอยลงมาถึงอุปจารสมาธิ สมมุติว่ากิเลสคือต้นไม้ สมาธิคืออุปกรณ์ตัดต้นไม้ ถ้าคุณ ได้ฌาน 1 คุณอาจจะมีมีด ฌาน2อาจจะเป็นดาบ ฌาน 3อาจจะเป็นขวาน ฌาน4คุณอาจจะเป็นเลื่อยไฟฟ้า แต่ถ้าคุณไม่เข้าสมถะมาก่อนที่จะพิจารณา คุณอาจจะเป็นแค่กรรไกรตัดกิ่ง ที่ต้องค่อยๆตัดกิเลสทีละนิดๆ
-
ครูบาอาจารย์ พระป่าสายหลวงปู่มั่น
เทศน์สอน อบรมเอาไว้เลย ว่า เป็นสิ่งสำคัญที่สุด
จิต ต้องเป็น สมาธิ เป็นเบื้องต้น
เป็นฐาน เป็น กรรมฐาน ของการ วิปัสสนา ครับ
ภาวนามยปัญญา จะเกิดได้ ต่อเมื่อ
จิต เป็น สมาธิ แล้วออก พิจารณาวิปัสนา สติปัฏฐาน 4 กาย เวทนา จิต ธรรม
ครับ
หลวงปู่ฝากไว้
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล
<TABLE style="LINE-HEIGHT: 1.7; MARGIN-TOP: -3mm; MARGIN-BOTTOM: 0px" border=2 cellSpacing=0 borderColorLight=#785a1d borderColorDark=#dea635 width=78 bgColor=white align=center><TBODY><TR><TD height=84 vAlign=top width=68 align=left>
</TD></TR></TBODY></TABLE>
ปรารภธรรมะเรื่องอริยสัจสี่
<TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse; FONT-FAMILY: 'MS Sans Serif'; FONT-SIZE: 14pt" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=520 align=center><TBODY><TR><TD width=278>จิตที่ส่งออกนอก
</TD><TD width=242>เป็นสมุทัย
</TD></TR><TR><TD width=278>ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอก
</TD><TD width=242>เป็น
</TD></TR><TR><TD width=278>จิตเห็นจิต
</TD><TD width=242>เป็นมรรค
</TD></TR><TR><TD width=278>ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต
</TD><TD width=242>เป็นนิโรธ
</TD></TR></TBODY></TABLE>
[Webmaster-ข้อธรรมแสดงหลักธรรมอริยสัจ ๔ รวมทั้งหลักปฏิบัติต่อจิต ทั้งเวทนานุปัสสนาและจิตตานุปัสสนาในสติปัฏฐาน ๔ อย่างแจ่มแจ้ง]
http://www.nkgen.com/pudule.htm
<TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse; FONT-FAMILY: 'MS Sans Serif'; FONT-SIZE: 14pt" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=520 align=center><TBODY><TR><TD width=278>จิตเห็นจิต
</TD><TD width=242>เป็นมรรค</TD></TR></TBODY></TABLE>
<TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse; FONT-FAMILY: 'MS Sans Serif'; FONT-SIZE: 14pt" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=520 align=center><TBODY><TR><TD width=278>จิตเห็นจิต
</TD><TD width=242>เป็นมรรค</TD></TR></TBODY></TABLE>
<TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse; FONT-FAMILY: 'MS Sans Serif'; FONT-SIZE: 14pt" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=520 align=center><TBODY><TR><TD width=278>จิตเห็นจิต
</TD><TD width=242>เป็นมรรค</TD></TR></TBODY></TABLE>
ท่องให้ขึ้นใจได้เลยครับ โดยเฉพาะ คนที่ฝึกมาทางสายดูจิต ตามใดที่ จิต ยังไม่เป็นสมาธิ จิต ยังไม่เห็น จิต นั้น
ตราบใด ที่ จิต ยังไม่เป็น สมาธิ
ตามใดที่ จิต ยังไม่เห็น จิต
ไม่มีทางที่จะ วิปัสนา ได้หรอกครับ สอบถามพระป่า สายปฏิบัติ สายหลวงปู่มั่นลงมาได้ทุกรูป ครับ
*************************************************************************************************************************
<CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓
ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค</CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD></TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" hspace="0" vspace="0"> </TD></TR></TBODY></TABLE>
<CENTER></CENTER><CENTER>ยุคนัทธวรรค ยุคนัทธกถา</CENTER>[๕๓๔] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ สมัยหนึ่ง ท่านพระอานนท์อยู่ ณ โฆสิตาราม ใกล้พระนครโกสัมพีณ ที่นั้นแล ท่านพระอานนท์เรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลายภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระอานนท์แล้ว ท่านพระอานนท์ได้กล่าวว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ก็ภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดรูปหนึ่ง พยากรณ์อรหัตในสำนักเรา ด้วยมรรค ๔ ทั้งหมดหรือด้วยมรรคเหล่านั้นมรรคใดมรรคหนึ่ง มรรค ๔ เป็นไฉน ฯ ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมเจริญวิปัสสนาอันมีสมถะเป็นเบื้องต้น เมื่อภิกษุนั้นเจริญวิปัสสนาอันมีสมถะเป็นเบื้องต้นอยู่ มรรคย่อมเกิด ภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อภิกษุนั้นเสพ เจริญทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น เมื่อภิกษุนั้นเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้นอยู่ มรรคย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนั้นเสพ เจริญทำให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป เมื่อภิกษุนั้นเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป มรรคย่อมเกิด ภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อภิกษุนั้นเสพ เจริญทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจนึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้สมัยนั้น จิตย่อมตั้งมั่นสงบอยู่ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู่มรรคย่อมเกิดแก่ภิกษุนั้น ภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ก็ภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดรูปหนึ่ง พยากรณ์อรหัตในสำนักเรา ด้วยมรรค ๔ นี้ทั้งหมด หรือด้วยมรรคเหล่านั้นมรรคใดมรรคหนึ่ง ฯ [๕๓๕] ภิกษุเจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้นอย่างไร ฯ ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่านด้วยสามารถแห่งเนกขัมมะเป็นสมาธิวิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นธรรมที่เกิดในสมาธินั้น โดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ด้วยประการดังนี้สมถะจึงมีก่อน วิปัสสนามีภายหลัง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า เจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น ฯ ภาวนา ในคำว่า ภาเวติ มี ๔ คือ ภาวนาด้วยอรรถว่าธรรมทั้งหลายที่เกิดในภาวนานั้นไม่ล่วงเกินกัน ๑ ด้วยอรรถว่าอินทรีย์ทั้งหลายมีกิจเป็นอันเดียวกัน ๑ ด้วยอรรถว่านำไปซึ่งความเพียรอันสมควรแก่ธรรมที่ไม่ล่วงเกินกัน ๑ ด้วยอรรถว่าเป็นที่เสพ ๑ ฯ คำว่า มรรคย่อมเกิด ความว่า มรรคเกิดอย่างไร ฯ สัมมาทิฐิด้วยอรรถว่าเห็น เป็นมรรคย่อมเกิด สัมมาสังกัปปะด้วยอรรถว่าดำริ เป็นมรรคย่อมเกิด สัมมาวาจาด้วยอรรถว่ากำหนด เป็นมรรคย่อมเกิด สัมมากัมมันตะด้วยอรรถว่าเป็นสมุฏฐาน เป็นมรรคย่อมเกิดสัมมาอาชีวะด้วยอรรถว่าผ่องแผ้ว เป็นมรรคย่อมเกิด สัมมาวายามะด้วยอรรถว่าประคองไว้ เป็นมรรคย่อมเกิด สัมมาสติด้วยอรรถว่าตั้งมั่น เป็นมรรคย่อมเกิด สัมมาสมาธิด้วยอรรถว่าไม่ฟุ้งซ่าน เป็นมรรคย่อมเกิด มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯ คำว่า ย่อมเสพ ในคำว่า ภิกษุนั้นย่อมเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้น ดังนี้ ความว่า ย่อมเสพอย่างไร ฯ ภิกษุนั้น นึกถึงอยู่ชื่อว่าเสพ รู้อยู่ชื่อว่าเสพ เห็นอยู่ชื่อว่าเสพพิจารณาอยู่ชื่อว่าเสพ อธิษฐานจิตอยู่ชื่อว่าเสพ น้อมจิตไปด้วยศรัทธาชื่อว่าเสพ ประคองความเพียรไว้ชื่อว่าเสพ ตั้งสติไว้มั่นชื่อว่าเสพ ตั้งจิตไว้อยู่ชื่อว่าเสพ ทราบชัดด้วยปัญญาชื่อว่าเสพ รู้ยิ่งซึ่งธรรมที่ควรรู้ยิ่งอยู่ชื่อว่าเสพกำหนดรู้ซึ่งธรรมที่ควรกำหนดรู้ชื่อว่าเสพ ละธรรมที่ควรละชื่อว่าเสพ เจริญธรรมที่ควรเจริญชื่อว่าเสพ ทำให้แจ้งซึ่งธรรมที่ควรทำให้แจ้งชื่อว่าเสพ ย่อมเสพอย่างนี้ ฯ คำว่า เจริญ ความว่า เจริญอย่างไร ฯ ภิกษุนั้นนึกถึงอยู่ชื่อว่าเจริญ ... ทำให้แจ้งซึ่งธรรมที่ควรทำให้แจ้งชื่อว่าเจริญ ย่อมเจริญอย่างนี้ ฯ คำว่า ทำให้มาก ความว่า ทำให้มากอย่างไร ฯ ภิกษุนั้นนึกถึงอยู่ชื่อว่าทำให้มาก ... ทำให้แจ้งซึ่งธรรมที่ควรทำให้แจ้งชื่อว่าทำให้มาก ทำให้มากอย่างนี้ ฯ คำว่า เมื่อภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป ความว่า ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป อย่างไร ฯ ย่อมละสังโยชน์ ๓ นี้ คือ สักกายทิฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพต-*ปรามาส อนุสัย ๒ นี้ คือ ทิฐิอนุสัย วิจิกิจฉาอนุสัย ย่อมสิ้นไปด้วยโสดาปัตติมรรค ฯ ย่อมละสังโยชน์ ๒ นี้ คือ กามราคสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์ ส่วนหยาบๆ อนุสัย ๒ นี้ คือ กามราคานุสัย ปฏิฆานุสัย ส่วนหยาบๆย่อมสิ้นไปด้วยสกทาคามิมรรค ฯ ย่อมละสังโยชน์ ๒ นี้ คือ กามราคสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์ส่วนละเอียดๆ อนุสัย ๒ นี้ คือ กามราคานุสัย ปฏิฆานุสัย ส่วนละเอียดๆ ย่อมสิ้นไปด้วยอนาคามิมรรค ฯ ย่อมละสังโยชน์ ๕ นี้ คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะอวิชชา อนุสัย ๓ นี้ คือ มานานุสัย ภวราคานุสัย อวิชชานุสัย ย่อมสิ้นไปด้วยอรหัตมรรค ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป อย่างนี้ ฯ [๕๓๖] ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถความไม่พยาบาท เป็นสมาธิ ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถแห่งอาโลกสัญญา เป็นสมาธิ ฯลฯ ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถความเป็นผู้พิจารณาเห็นความสละคืนหายใจออก ด้วยสามารถความเป็นผู้พิจารณาเห็นความสละคืนหายใจเข้า เป็นสมาธิ วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นธรรมที่เกิดในสมาธินั้นโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ด้วยประการดังนี้ สมถะจึงมีก่อน วิปัสสนามีภายหลัง เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น ฯ ภาวนา ในคำว่า ภาเวติ นี้มี ๔ คือ ภาวนาด้วยอรรถว่า ธรรมทั้งหลายที่เกิดในภาวนานั้นไม่ล่วงเกินกัน ... ภาวนาด้วยอรรถว่าเป็นที่เสพ ฯ คำว่า มรรคย่อมเกิด ความว่า มรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯ สัมมาทิฐิด้วยอรรถว่าเห็น เป็นมรรคย่อมเกิด ... มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯ คำว่า ย่อมเสพ ในคำว่า ภิกษุนั้นย่อมเสพ ฯลฯ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้น ความว่า ย่อมเสพอย่างไร ฯ ภิกษุนึกถึงอยู่ชื่อว่าเสพ รู้อยู่ชื่อว่าเสพ ฯลฯ ทำให้แจ้งซึ่งธรรมที่ควรทำให้แจ้งชื่อว่าเสพ ย่อมเสพอย่างนี้ ฯ คำว่า ย่อมเจริญ ความว่า ย่อมเจริญอย่างไร ฯ ภิกษุนึกถึงอยู่ชื่อว่าเจริญ รู้อยู่ชื่อว่าเจริญ ฯลฯ ทำให้แจ้งซึ่งธรรมที่ควรทำให้แจ้งชื่อว่าเจริญ ย่อมเจริญอย่างนี้ ฯ คำว่า ทำให้มาก ความว่า ย่อมทำให้มากอย่างไร ฯ ภิกษุนึกถึงอยู่ชื่อว่าทำให้มาก รู้อยู่ชื่อว่าทำให้มาก ฯลฯ ทำให้แจ้งซึ่งธรรมที่ควรทำให้แจ้งชื่อว่าทำให้มาก ย่อมทำให้มากอย่างนี้ ฯ คำว่า เมื่อภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป ความว่า ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป อย่างไร ... ฯ [๕๓๗] ภิกษุนั้นย่อมเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้นอย่างไร ฯ วิปัสสนา ด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ความที่จิตมีการปล่อยธรรมทั้งหลายที่เกิดในวิปัสสนานั้นเป็นอารมณ์ เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิด้วยประการดังนี้ วิปัสสนาจึงมีก่อน สมถะมีภายหลัง เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่าเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น ฯ ภาวนา ในคำว่า ภาเวติ นี้มี ๔ ฯลฯ ภาวนาด้วยอรรถว่าเป็นที่เสพฯลฯ คำว่า มรรคย่อมเกิด ความว่า มรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯลฯ มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไปอย่างนี้ วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นรูปโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ความที่จิตมีการปล่อยธรรมทั้งหลายที่เกิดในภาวนานั้นเป็นอารมณ์และความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิ ด้วยประการดังนี้ วิปัสสนามีก่อน สมถะมีภายหลัง เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น ฯ ภาวนา ในคำว่า ภาเวติ นี้มี ๔ ฯลฯ ภาวนาด้วยอรรถว่าเป็นที่เสพ ฯ คำว่า มรรคย่อมเกิด ฯลฯ มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไปอย่างนี้ วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นเวทนาสัญญา สังขาร วิญญาณ จักษุ ฯลฯ ชรา และมรณะ โดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง ฯลฯ โดยความเป็นทุกข์ ฯลฯ โดยความเป็นอนัตตา ความที่จิตมีการปล่อยธรรมทั้งหลายที่เกิดในภาวนานั้นเป็นอารมณ์ และความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิ ด้วยประการดังนี้ วิปัสสนาจึงมีก่อน สมถะมีภายหลังเพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น ฯ ภาวนา ในคำว่า ภาเวติ นี้มี ๔ ฯลฯ คำว่า ย่อมเกิด ความว่ามรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯลฯ มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้อนุสัยย่อมสิ้นไปอย่างนี้ ภิกษุย่อมเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้นอย่างนี้ ฯ [๕๓๘] ภิกษุย่อมเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปอย่างไร ฯ ภิกษุย่อมเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป ด้วยอาการ ๑๖ คือ ด้วยความเป็นอารมณ์ ๑ ด้วยความเป็นโคจร ๑ ด้วยความละ ๑ ด้วยความสละ ๑ด้วยความออก ๑ ด้วยความหลีกไป ๑ ด้วยความเป็นธรรมละเอียด ๑ ด้วยความเป็นธรรมประณีต ๑ ด้วยความหลุดพ้น ๑ ด้วยความไม่มีอาสวะ ๑ ด้วยความเป็นเครื่องข้าม ๑ ด้วยความไม่มีนิมิต ๑ ด้วยความไม่มีที่ตั้ง ๑ ด้วยความว่างเปล่า ๑ ด้วยความเป็นธรรมมีกิจเป็นอันเดียวกัน ๑ ด้วยความไม่ล่วงเกินกันและกัน ๑ ด้วยความเป็นคู่กัน ๑ ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยอารมณ์อย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน มีนิโรธเป็นอารมณ์ ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกันเป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความเป็นอารมณ์ เพราะเหตุดังนี้นั้นท่านจึงกล่าวว่าเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยความเป็นอารมณ์ ฯ ภาวนา ในคำว่า ภาเวติ นี้มี ๔ ฯลฯ ภาวนาด้วยอรรถว่าเป็นที่เสพฯลฯ คำว่า มรรคย่อมเกิด ความว่า มรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯลฯ มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไปอย่างนี้ ภิกษุย่อมเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยความเป็นอารมณ์ อย่างนี้ ฯ ภิกษุย่อมเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยความเป็นโคจรอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่านมีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุละอวิชชา วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กันไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความเป็นโคจร เพราะเหตุดังนี้นั้นท่านจึงกล่าวว่าเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยความเป็นโคจร ฯ [๕๓๙] ภิกษุย่อมเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยความละอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละกิเลสอันประกอบด้วยอุทธัจจะ และขันธ์ สมาธิ คือความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุละกิเลสอันประกอบด้วยอวิชชา และขันธ์ วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความละ เพราะเหตุดังนี้นั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กันด้วยความละ ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กันด้วยความสละอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุสละกิเลสอันประกอบด้วยอุทธัจจะ และขันธ์ สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุสละกิเลสอันประกอบด้วยอวิชชา และขันธ์ วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความสละ เพราะเหตุดังนี้นั้นท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กันด้วยความสละ ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กันด้วยความออกอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุออกจากกิเลสอันประกอบด้วยอุทธัจจะ และจากขันธ์ สมาธิคือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุออกจากกิเลสอันประกอบด้วยอวิชชา และจากขันธ์ วิปัสสนา ด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกันเป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความออก เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความออก ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความหลีกไปอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุหลีกไปจากกิเลสอันประกอบด้วยอุทธัจจะ และจากขันธ์ สมาธิคือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่าน มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุหลีกไปจากกิเลสอันประกอบด้วยอวิชชา และจากขันธ์ วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นมีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกันเป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความหลีกไป เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความหลีกไป ฯ [๕๔๐] ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความเป็นธรรมละเอียดอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่านเป็นธรรมละเอียด มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุละอวิชชา วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น เป็นธรรมละเอียด มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความเป็นธรรมละเอียด เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความเป็นธรรมละเอียด ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความเป็นธรรมประณีตอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่านเป็นธรรมประณีต มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุละอวิชชา วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น เป็นธรรมประณีต มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความเป็นธรรมประณีต เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความเป็นธรรมประณีต ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความหลุดพ้นอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่านเป็นธรรมหลุดพ้น มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุละอวิชชา วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น เป็นหลุดพ้น มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ ชื่อว่าเจโตวิมุติเพราะสำรอกราคะ ชื่อว่าปัญญาวิมุติเพราะสำรอกอวิชชา ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความหลุดพ้น เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กันด้วยความหลุดพ้น ฯ [๕๔๑] ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความไม่มีอาสวะอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่านเป็นธรรมไม่มีอาสวะด้วยกามาสวะ มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุละอวิชชาวิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น เป็นธรรมไม่มีอาสวะด้วยอวิชชาสวะ มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กันไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความไม่มีอาสวะ เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่าเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความไม่มีอาสวะ ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความเป็นเครื่องข้ามอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุข้ามจากกิเลสอันประกอบด้วยอุทธัจจะ และจากขันธ์ สมาธิ คือความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่าน มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุข้ามจากกิเลสอันประกอบด้วยอวิชชา และจากขันธ์ วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กันไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความเป็นเครื่องข้าม เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความเป็นเครื่องข้าม ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนา ด้วยความไม่มีนิมิตร อย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่านเป็นธรรมไม่มีนิมิตรด้วยนิมิตรทั้งปวง มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุละอวิชชาวิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น เป็นธรรมไม่มีนิมิตรด้วยนิมิตรทั้งปวง มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กันไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความไม่มีนิมิตร เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่าเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความไม่มีนิมิตร ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความไม่มีที่ตั้ง อย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่านเป็นธรรมไม่มีที่ตั้งด้วยที่ตั้งทั้งปวง มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุละอวิชชา วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น เป็นธรรมไม่มีที่ตั้งด้วยที่ตั้งทั้งปวง มีนิโรธเป็นโคจรด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความไม่มีที่ตั้ง เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่า เจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความไม่มีที่ตั้ง ฯ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความว่างเปล่า อย่างไร ฯ เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่านเป็นธรรมว่างเปล่าจากความยึดมั่นทั้งปวง มีนิโรธเป็นโคจร เมื่อภิกษุละอวิชชาวิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็น เป็นธรรมว่างเปล่าจากความยึดมั่นทั้งปวง มีนิโรธเป็นโคจร ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน เป็นคู่กันไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความว่างเปล่า เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่าเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยความว่างเปล่า ฯ ภาวนา ในคำว่า ภาเวติ นี้มี ๔ คือ ภาวนาด้วยอรรถว่า ธรรมทั้งหลายที่เกิดในภาวนานั้นไม่ล่วงเกินกัน ๑ ด้วยอรรถว่าอินทรีย์ทั้งหลายมีกิจเป็นอันเดียวกัน ๑ ด้วยอรรถว่านำไปซึ่งความเพียรอันสมควรแก่ธรรมที่ไม่ล่วงเกินกันและอินทรีย์มีกิจเป็นอันเดียวกัน ๑ ด้วยอรรถว่าเป็นที่เสพ ๑ ฯลฯ คำว่า มรรคย่อมเกิด ความว่า มรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯลฯ มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไปอย่างนี้ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กันด้วยความว่างเปล่าอย่างนี้ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กัน ด้วยอาการ ๑๖เหล่านี้ ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาเป็นคู่กันอย่างนี้ ฯ [๕๔๒] ใจที่นึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ ย่อมมีอย่างไร ฯ เมื่อภิกษุมนสิการโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โอภาสย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงโอภาสว่า โอภาสเป็นธรรม เพราะนึกถึงโอภาสนั้น จึงมีความฟุ้งซ่านเป็นอุทธัจจะภิกษุมีใจอันอุทธัจจะนั้นกั้นไว้ ย่อมไม่ทราบชัดตามความเป็นจริง ซึ่งความปรากฏโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า มีใจที่นึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ สมัยนั้น จิตที่ตั้งมั่นสงบอยู่ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้นตั้งมั่นอยู่ มรรคย่อมเกิดแก่ภิกษุนั้นมรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯลฯ มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้อนุสัยย่อมสิ้นไปอย่างนี้ เมื่อภิกษุมนสิการโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง ญาณปีติ ปัสสัทธิ สุข อธิโมกข์ (ความน้อมใจเชื่อ) ปัคคาหะ (ความเพียร)อุปัฏฐานะ (ความตั้งมั่น) อุเบกขา นิกันติ (ความพอใจ) ย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงความพอใจว่า ความพอใจเป็นธรรม เพราะนึกถึงความพอใจนั้น จึงมีความฟุ้งซ่านเป็นอุทธัจจะ ภิกษุมีใจอันอุทธัจจะนั้นกั้นไว้ ย่อมไม่ทราบชัดตามความเป็นจริงซึ่งความปรากฏโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า มีใจที่นึกถึงความพอใจอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ สมัยนั้น จิตที่ตั้งมั่นสงบอยู่ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู่ มรรคย่อมเกิดแก่ภิกษุนั้น มรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯลฯ มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไปอย่างนี้ ฯลฯ เมื่อภิกษุมนสิการโดยความเป็นทุกข์ ฯลฯ เมื่อภิกษุมนสิการโดยความเป็นอนัตตา โอภาสญาณ ปีติ ปัสสัทธิ สุข อธิโมกข์ ปัคคาหะ อุปัฏฐานะ อุเบกขา นิกันติย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงความพอใจว่า ความพอใจเป็นธรรม เพราะนึกถึงความพอใจนั้น จึงมีความฟุ้งซ่านเป็นอุทธัจจะ ภิกษุมีใจอันอุทธัจจะนั้นกั้นไว้ ย่อมไม่ทราบชัดตามความเป็นจริง ซึ่งความปรากฏโดยความเป็นอนัตตา โดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เพราะเหตุนั้น ท่านกล่าวว่า มีใจที่นึกถึงความพอใจอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป อย่างนี้ ฯ [๕๔๓] เมื่อภิกษุมนสิการรูปโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง ฯลฯ เมื่อภิกษุมนสิการรูปโดยความเป็นทุกข์ เมื่อภิกษุมนสิการรูปโดยความเป็นอนัตตาเมื่อภิกษุมนสิการเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จักษุ ฯลฯ ชราและมรณะโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา โอภาสญาณ ปีติ ปัสสัทธิ สุข อธิโมกข์ ปัคคาหะ อุปัฏฐานะ อุเบกขา นิกันติย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงความพอใจว่า ความพอใจเป็นธรรม เพราะนึกถึงความพอใจนั้น จึงมีความฟุ้งซ่านเป็นอุทธัจจะ ภิกษุมีใจอันอุทธัจจะนั้นกั้นไว้ ย่อมไม่ทราบชัดตามความเป็นจริง ซึ่งชราและมรณะอันปรากฏโดยความเป็นอนัตตาโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่ามีใจที่นึกถึงความพอใจอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ สมัยนั้น จิตที่ตั้งมั่นสงบอยู่ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู่ มรรคย่อมเกิดแก่ภิกษุนั้น มรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯลฯ มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ อนุสัยย่อมสิ้นไป อย่างนี้ ใจที่นึกถึงความพอใจอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้อย่างนี้ ฯ จิตย่อมกวัดแกว่งหวั่นไหวเพราะโอภาส ญาณ ปีติ ปัสสัทธิ สุข อธิโมกข์ ปัคคาหะ อุปัฏฐานะ ความวางเฉยจาก ความนึกถึงอุเบกขา และนิกันติ ภิกษุนั้นกำหนดฐานะ ๑๐ ประการนี้ ด้วยปัญญาแล้ว ย่อมเป็นผู้ฉลาดในความ นึกถึงโอภาสเป็นต้นอันเป็นธรรมฟุ้งซ่าน และย่อมไม่ถึง ความหลงใหล จิตกวัดแกว่ง เศร้าหมอง และเคลื่อนจาก จิตภาวนา จิตกวัดแกว่ง เศร้าหมอง ภาวนาย่อมเสื่อมไป จิตบริสุทธิ์ ไม่เศร้าหมอง ภาวนาย่อมไม่เสื่อม จิตไม่ ฟุ้งซ่าน ไม่เศร้าหมอง และไม่เคลื่อนจากจิตภาวนาด้วย ฐานะ ๔ ประการนี้ ภิกษุย่อมทราบชัดซึ่งความที่จิตกวัด แกว่งฟุ้งซ่าน ถูกโอภาสเป็นต้นกั้นไว้ ด้วยฐานะ ๑๐ ประการ ฉะนี้แล ฯ
<CENTER>จบยุคนัทธกถา</CENTER><CENTER></CENTER>*******************************************************************************************************************************************
ท่านพระอานนท์เรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย
ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระอานนท์แล้ว ท่านพระอานนท์ได้กล่าวว่า ดูกรอาวุโส
ทั้งหลาย ก็ภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดรูปหนึ่ง พยากรณ์อรหัตในสำนักเรา ด้วย
มรรค ๔ ทั้งหมดหรือด้วยมรรคเหล่านั้นมรรคใดมรรคหนึ่ง มรรค ๔ เป็นไฉน ฯ
อรหัตในสำนักเรา ด้วยมรรค ๔ นี้ทั้งหมด
1.ภิกษุเจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น
2.ภิกษุเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น
3.ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป
4.ภิกษุมีใจนึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้
ของจริงตามที่พระอานนท์ กล่าวไว้ดังนี้
1.ภิกษุเจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น
จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่านด้วยสามารถแห่งเนกขัมมะเป็นสมาธิ แล้ว วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นธรรมที่เกิดในสมาธินั้น
2.ภิกษุเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น
วิปัสสนานั้นเป็นอารมณ์ เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน จนเป็น เป็นสมาธิ
3.ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป
เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ และมี สมาธิ คือความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน มีนิโรธเป็นอารมณ์ ด้วยประการดังนี้ เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านกล่าวว่าเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยความเป็นอารมณ์ ฯ
4.ภิกษุมีใจนึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้
ภิกษุมีใจอันอุทธัจจะนั้นกั้นไว้ ย่อมไม่ทราบชัดตามความเป็นจริง ดังนั้น ท่านกล่าวว่า มีใจที่นึก
ถึงความพอใจอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป อย่างนี้ ฯ
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓
<CENTER>ยุคนัทธวรรค ยุคนัทธกถา
</CENTER>
[๕๓๔] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้
สมัยหนึ่ง ท่านพระอานนท์อยู่ ณ โฆสิตาราม ใกล้พระนครโกสัมพี
ณ ที่นั้นแล ท่านพระอานนท์เรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย
ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระอานนท์แล้ว ท่านพระอานนท์ได้กล่าวว่า ดูกรอาวุโส
ทั้งหลาย ก็ภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดรูปหนึ่ง พยากรณ์อรหัตในสำนักเรา ด้วย
มรรค ๔ ทั้งหมดหรือด้วยมรรคเหล่านั้นมรรคใดมรรคหนึ่ง มรรค ๔ เป็นไฉน ฯ
ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมเจริญวิปัสสนาอันมีสมถะ
เป็นเบื้องต้น เมื่อภิกษุนั้นเจริญวิปัสสนาอันมีสมถะเป็นเบื้องต้นอยู่ มรรคย่อม
เกิด ภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อภิกษุนั้นเสพ เจริญ
ทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น เมื่อภิกษุ
นั้นเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้นอยู่ มรรคย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนั้นเสพ เจริญ
ทำให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่
ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป เมื่อภิกษุนั้น
เจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป มรรคย่อมเกิด ภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำ
ให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อภิกษุนั้นเสพ เจริญทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่ ย่อม
ละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีใจนึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้
สมัยนั้น จิตย่อมตั้งมั่นสงบอยู่ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู่
มรรคย่อมเกิดแก่ภิกษุนั้น ภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อ
ภิกษุนั้นเสพ เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้นอยู่ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัย
ย่อมสิ้นไป ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ก็ภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดรูปหนึ่ง พยากรณ์
อรหัตในสำนักเรา ด้วยมรรค ๔ นี้ทั้งหมด หรือด้วยมรรคเหล่านั้นมรรคใดมรรค
หนึ่ง ฯ
อรหัตในสำนักเรา ด้วยมรรค ๔ นี้ทั้งหมด
1.ภิกษุเจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น
2.ภิกษุเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น
3.ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป
4.ภิกษุมีใจนึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้
1.ภิกษุเจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น
[๕๓๕] ภิกษุเจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้นอย่างไร ฯ
ความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่านด้วยสามารถแห่งเนกขัมมะเป็นสมาธิ
วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นธรรมที่เกิดในสมาธินั้น โดยความเป็นสภาพ
ไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ด้วยประการดังนี้
สมถะจึงมีก่อน วิปัสสนามีภายหลัง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า เจริญ
วิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น ฯ
2.ภิกษุเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น
[๕๓๗] ภิกษุนั้นย่อมเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้นอย่างไร ฯ
วิปัสสนา ด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความ
เป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ความที่จิตมีการปล่อยธรรมทั้งหลายที่เกิดใน
วิปัสสนานั้นเป็นอารมณ์ เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน เป็นสมาธิ
ด้วยประการดังนี้ วิปัสสนาจึงมีก่อน สมถะมีภายหลัง เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า
เจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น ฯ
3.ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป
ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยอารมณ์อย่างไร ฯ
เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ สมาธิ คือความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน มี
นิโรธเป็นอารมณ์ ด้วยประการดังนี้ สมถะและวิปัสสนาจึงมีกิจเป็นอันเดียวกัน
เป็นคู่กัน ไม่ล่วงเกินกันและกัน ด้วยความเป็นอารมณ์ เพราะเหตุดังนี้นั้นท่าน
จึงกล่าวว่าเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยความเป็นอารมณ์ ฯ
4.ภิกษุมีใจนึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้
[๕๔๒] ใจที่นึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ ย่อมมี
อย่างไร ฯ
เมื่อภิกษุมนสิการโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โอภาสย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนึก
ถึงโอภาสว่า โอภาสเป็นธรรม เพราะนึกถึงโอภาสนั้น จึงมีความฟุ้งซ่านเป็นอุทธัจจะ
ภิกษุมีใจอันอุทธัจจะนั้นกั้นไว้ ย่อมไม่ทราบชัดตามความเป็นจริง ซึ่งความปรากฏโดย
ความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา เพราะเหตุนั้น
ท่านจึงกล่าวว่า มีใจที่นึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ สมัยนั้น จิต
ที่ตั้งมั่นสงบอยู่ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้นตั้งมั่นอยู่ มรรคย่อมเกิดแก่ภิกษุนั้น
มรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯลฯ มรรคย่อมเกิดอย่างนี้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้
อนุสัยย่อมสิ้นไปอย่างนี้ เมื่อภิกษุมนสิการโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง ญาณ
ปีติ ปัสสัทธิ สุข อธิโมกข์ (ความน้อมใจเชื่อ) ปัคคาหะ (ความเพียร)
อุปัฏฐานะ (ความตั้งมั่น) อุเบกขา นิกันติ (ความพอใจ) ย่อมเกิดขึ้น ภิกษุ
นึกถึงความพอใจว่า ความพอใจเป็นธรรม เพราะนึกถึงความพอใจนั้น จึงมีความ
ฟุ้งซ่านเป็นอุทธัจจะ ภิกษุมีใจอันอุทธัจจะนั้นกั้นไว้ ย่อมไม่ทราบชัดตามความ
เป็นจริงซึ่งความปรากฏโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความ
เป็นอนัตตา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า มีใจที่นึกถึงความพอใจอันเป็นธรรม
ถูกอุทธัจจะกั้นไว้ สมัยนั้น จิตที่ตั้งมั่นสงบอยู่ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้ง
มั่นอยู่ มรรคย่อมเกิดแก่ภิกษุนั้น มรรคย่อมเกิดอย่างไร ฯลฯ มรรคย่อมเกิด
อย่างนี้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไปอย่างนี้ ฯลฯ เมื่อภิกษุ
มนสิการโดยความเป็นทุกข์ ฯลฯ เมื่อภิกษุมนสิการโดยความเป็นอนัตตา โอภาส
ญาณ ปีติ ปัสสัทธิ สุข อธิโมกข์ ปัคคาหะ อุปัฏฐานะ อุเบกขา นิกันติ
ย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงความพอใจว่า ความพอใจเป็นธรรม เพราะนึกถึงความ
พอใจนั้น จึงมีความฟุ้งซ่านเป็นอุทธัจจะ ภิกษุมีใจอันอุทธัจจะนั้นกั้นไว้ ย่อม
ไม่ทราบชัดตามความเป็นจริง ซึ่งความปรากฏโดยความเป็นอนัตตา โดยความ
เป็นสภาพไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เพราะเหตุนั้น ท่านกล่าวว่า มีใจที่นึก
ถึงความพอใจอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัย
ย่อมสิ้นไป อย่างนี้ ฯ
ของจริงตามที่พระอานนท์ กล่าวไว้ดังนี้
1.ภิกษุเจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องต้น
จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่านด้วยสามารถแห่งเนกขัมมะเป็นสมาธิ แล้ว วิปัสสนาด้วยอรรถว่าพิจารณาเห็นธรรมที่เกิดในสมาธินั้น
2.ภิกษุเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น
วิปัสสนานั้นเป็นอารมณ์ เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน จนเป็น เป็นสมาธิ
3.ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป
เมื่อภิกษุละอุทธัจจะ และมี สมาธิ คือความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน มีนิโรธเป็นอารมณ์ ด้วยประการดังนี้ เพราะเหตุดังนี้นั้น ท่านกล่าวว่าเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วยความเป็นอารมณ์ ฯ
4.ภิกษุมีใจนึกถึงโอภาสอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้
ภิกษุมีใจอันอุทธัจจะนั้นกั้นไว้ ย่อมไม่ทราบชัดตามความเป็นจริง ดังนั้น ท่านกล่าวว่า มีใจที่นึก
ถึงความพอใจอันเป็นธรรมถูกอุทธัจจะกั้นไว้ ฯลฯ ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยย่อมสิ้นไป อย่างนี้ ฯ
******************************************************************************************************************************
1.คือการที่ จิต เป็นอารมณ์เดียว จนเป็น สมาธิ แล้ว วิปัสสนา พิจารณาธรรมที่เกิดในสมาธิ
2.คือการใช้ เอา วิปัสสนา เป็นอารมณ์ จน จิต เป็นสมาธิ
3.คือทางปฏิบัติ ละอุทธัจจะ และมี สมาธิ เป็นอารมณ์ อยู่ สมถะ และ วิปัสสนาจึงไปคู่กัน
4.คือการที่ ใจ นึกถึง โอภาส ธรรม ที่ถูก ธัจจะกั้นไว้ จนละสังโยชน์ได้
แม้กระทั้งใน พระไตรปิฏก ก็ยังบอกไว้ ไม่ว่าจะ ปฏิบัติ สายไหน ก็ต้อง มี สมาธิ เป็นฐาน
ก็ต้องมาลง ที่ จิต เป็น สมาธิ ในการออก วิปัสสนา
โดยเฉพาะ พวก สำนัก หรือ กลุ่มคนที่ ที่สอนผิดๆ
สมาธิ ไม่ต้อง ทำ วิปัสนา ไปเลย
เจอพวกนี้ หนีให้ไกลๆ ครับ
เจอพวกนี้ หนีให้ไกลๆ ครับ สมาธิ ไม่ต้อง ทำ วิปัสนา ไปเลย
.
พระอานนท์ กล่าวไว้
2.ภิกษุเจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น
พระอานนท์ กล่าวไว้ วิปัสสนานั้นเป็นอารมณ์ เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่าน จนเป็น เป็นสมาธิ
.
เจอ สำนัก หรือ กลุ่มคนที่ ที่สอนผิดๆ สมาธิ ไม่ต้อง ทำ วิปัสนา ไปเลย เจอพวกนี้ หนีให้ไกลๆ ครับ
. -
พอคนที่ถูกพญากล ว่าเป็นนั่นเป็นนี่
เลยอหังการ มมังการ มีอุปทานเข้าไปยึด ทีนี้เลยสั่งสมมานานุสัย
พอมารู้ตัวในตอนหลัง ก็เลยไม่เอาล่ะกับการยึดบุคคลา จะเห็นได้ว่าคนๆนั้น เลิกกล่าวถึงไปเลย
สังเกตได้ว่า แต่จะกล่าวไปโดยส่อเสียดแบบคลื่นกระทบฝั่ง แบบไม่ชัดถ้อยชัดคำ
ก็เมื่อใครผ่านไปผ่านมา ก็พออนุมาน ในการแปลเจตนา หาความบริสุทธิ์นั้นไม่ได้
หากเจอในกรณีนี้ ก็ไม่แน่ว่าใบบัวบก ยังเอาไม่อยู่ ก็เลยต้องปรักปรำคนนั้นคนนี้
อาจจะดูว่าเป็นความดี แต่มันจะใช่หรือ เพราะแฝงไว้ด้วยความลามกเจือปน
จะเป็นสิ่งดีงามที่บริสุทธิ์ไปได้อย่างไร
กรรมแท้ๆ อันโคจรอยู่ร่ำไป เหมือนเงาตามตัวที่ยังไม่สิ้นในทุกข์สถาน
สิ่งนั้นก็ดีอยู่แล้วแต่กลับทำให้เสียเอง ตะกอนจะนอนก้นได้
ก็ต่อเมื่อ มือของผู้นั้นแกว่งสารส้ม ด้วยจิตที่ไม่กลับกลอกเอาไปกวัดแกว่ง
ซึ่งไม่เกี่ยวกับบุคคลา -
ถ้าสังเกต คงไม่มีใครทิ้งใคร
ถ้าจะเจริญวิปัสสนาก็มีสมถะเป็นเบื้องหน้า
ถ้าจะเจริญสมถะก็มีวิปัสสนาเป็นเบื้องหน้า
หรือเจริญควบคู่กันไป..
ยกเว้นพวกที่ตั้งใจฝึกสมถะอย่างจริงจังเพื่อจุดมุ่งหมายของเขาเองกระมัง
-
มีพระผู้ใหญ่ท่านหนึ่งเคยถามพระสมเด็จรูปหนึ่งว่า ภาวนาว่า ขี้หมา ได้มั้ยด้วยซ้ำ
ส่วนการพิจารณาขันธ์๕ ผมทำตรงกันข้ามด้วยซ้ำ
คือพิจารณาขันธ์ ๕ ก่อนเข้าสมาธิ แล้วก็ถอยจากสมาธิมาพิจารณาขันธ์๕
ทำสลับกันไปสลับกันมา พอเพลินๆ -
ไม่มีสมาธิ มันก็วิปัสสนึกสิโยม ตั้งได้ไม่นานหล่นตูม อะไรที่จะทำให้ตั้งอยู่ในอารมณ์พิจารณาได้นานๆ ก็อารมณ์นั้นล่ะ ที่ควบเข้าไป สมถะภาวนา ไม่มีก็ไม่มีการตั้งอารมณ์ให้คิดพิจารณาตัดขันธ์ 5 ได้ วิปัสสนาก็ไร้ผล เดี๋ยวก็ออกนอกลู่นอกทาง เห็นไอ้นั่นสวยไอ้นี่ดี ตายหมด
-
ลองอ่านคำแนะนำหลวงปู่พุธ ฐานิโย
เผื่อจะได้ทำความเข้าใจในวิธีการฝึกมากขึ้นครับ
(ช่วงที่ ๖)
อีกปัญหาหนึ่ง มีท่านกล่าวไว้ ว่า
ให้ฝึกหัดทำสมาธิให้มันได้ซะก่อนแล้วจึงค่อยเจริญวิปัสนากรรมฐาน
เอ ..อันนี้ถ้าสมมุติว่า ใครไม่สามารถ ทำสมาธิขั้นสมถะได้เนี๊ยะ
จะไปรอจนกระทั่ง จิตมันสงบเป็นสมาธิขั้นสมถะเป็นอัปนาสมาธิ
เผื่อมันทำไม่ได้ล่ะมันจะไม่ตายก่อนหรือ
เพราะฉะนั้นจึงขอทำความเข้าใจกับท่านนักปฏิบัติทั้งหลายไว้ว่า
คำว่า สมถะกรรมฐานก็ดี
วิปัสนากรรมฐานก็ดี
ขอให้ท่านทั้งหลายพึงทำความเข้าใจว่า
เป็นชื่อของวิธีการ
การบริกรรมภาวนา พุทโธ พุทโธ พุทโธ
หรือการบริกรรมภาวนาอย่างอื่น
หรือการปฏิบัติด้วยการเพ่งกสิณ อันนั่น ปฏิบัติตามของ สมถะ
แต่ถ้าเราปฏิบัติด้วยการใช้ความคิด
หรือกำหนดจิตรู้ตามความคิด ของตัวเอง
หรือจะหาเรื่องราวอันใดเช่น เรื่องของธาตุขันธ์อายตนะ
มาพิจารณา
เช่น พิจารณา ว่า รูป เวทนา สัญญา สังขารวิญญาณ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา อะไรทำนองนี่
อันนี้ การพิจารณาน้อมจิต น้อมใจ น้อมภูมิความรู้ เข้าไปสู่กฎแห่งพระไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ท่านเรียกว่า
ปฏิบัติ ตามวิธีการแห่ง วิปัสนา
แต่ทั้งสองอย่างนี้เราจะปฏิบัติ ด้วยวิธีใด วิธีหนึ่งก็ได้
ถ้าท่านผู้ ที่บริกรรมภาวนา จิตมันไม่เคยสงบ เป็นสมาธิ ซักที
จะไปรอให้มันสงบ มันไม่เคยสงบซักทีก็มาพิจารณาซิ
ยกเรื่องอะไรยกขึ้นมาพิจารณาก็ได้ซึ่งมันเกี่ยวกับเรื่องธรรมะ
พิจารณาไป จนกระทั่ง จิตมันเกิดความคล่องตัว
พิจารณาอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
อันนั้นก็ไม่เที่ยงอันนี้ก็เป็นทุกข์ อันนั้นก็เป็นอนัตตา
คิดเอา ตามสติปัญญา ที่เราจะคิดได้
คิดย้อนกลับไปกลับมา กลับไปกลับมา กลับไปกลับมาอยู่อย่างนั้น<O</O
คิดจนกระทั่งมันคล่องตัว
จนกระทั่ง
เราไม่ได้ตั้งใจคิด จิตมันคิดของมันเอง
ซึ่งมันอาจจะเอาเรื่องอื่นมาคิดอยู่ไม่หยุดก็ได้
เมื่อเป็นเช่นนั้นมันก็เข้าลักษณะเหมือนกันกับบริกรรมภาวนา
ถ้าจิตมันคิดของมันเองสติรู้พร้อมอยู่เอง
มันก็ได้ วิตก วิจาร
ในเมื่อจิต มี วิตกวิจารเพราะความคิดอ่านอันนี้
มันก็เกิด มีปีติ มีความสุข มีเอกคัคตา
มันจะสงบลงไปเป็น อุปจาระสมาธิ อัปนาสมาธิ
หรือบางทีมันอาจจะไม่สงบถึงอัปนาสมาธิ<O</O
พอถึงอุปจาระสมาธิ มี วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคัตตา
มันก็จะทำหน้าที่พิจารณาวิปัสนาของมันอยู่ตลอดวันย่างค่ำตลอดคืนย่างรุ่ง
เพราะฉนั้น อย่าไปติดวิธีการ<O</O
ถ้าใครไม่เหมาะกับการ บริกรรมภาวนา
ก็อย่าก็ไม่ต้องไปบริกรรมภาวนา
ถ้าจิตของท่านผู้ใดไปเหมาะสมกับการกำหนดรู้จิตเฉยอยู่
โดยไม่ต้องนึกคิดอะไร เป็นแต่เพียงตั้งหน้าตั้งตา
คอยจ้องดูความคิดว่าอะไรมันจะเกิดขึ้นแค่นั้น
อะไรเกิดขึ้นรู้ อะไรเกิดขึ้นรู้ รู้ รู้ รู้ เอาตัวรู้อย่างเดียว
หรือ
บางทีบางท่าน อาจจะใช้ความคิดอยู่ไม่หยุด
หรือบางท่าน อาจจะฝึกหัดสมาธิ
โดยวิธีการ
ทำสติตามรู้ การ ยืนเดิน นั่ง นอน รัปทาน ดื่ม ทำ พูด คิด
ทุกลมหายใจก็สามารถที่จะทำจิตเป็น สมาธิได้เหมือนกัน
เพราะฉะนั้น
ถ้าเราจะเป็น นักปฏิบัติเพื่อความรู้ยิ่ง เห็นจริง กันจริงๆแล้ว
อย่าไปติดวิธีการ ให้กำหนดหมาย ว่า
สมถะก็ดี
วิปัสนาก็ดี
เป็น วิธีการปฏิบัติ
ถ้าบริกรรมภาวนา หรือเพ่งกสิณ เป็นวิธีปฏิบัติ ตามวิธีของ สมถะ
ถ้าปฏิบัติ ตามแบบที่ใช้ความคิดพิจารณาเรื่อยไป
หรือกำหนดทำสติตามรู้ความคิดเรื่อยไป
เป็นการปฏิบัติ ตามแบบ ของวิปัสนากรรมฐาน
ทั้งสองอย่าง
เพื่อมุ่งประสงค์ให้จิตสงบตั้งมั่นเป็นสมาธิ
ประกอบด้วยองค์ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคัคตาด้วยกัน เหมือนกัน
เพราะฉะนั้น
อย่าไปสงสัยข้องใจใครถนัดในทางไหน ปฏิบัติลงไป
และ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
วิธีการปฏิบัติมันมีหลายแบบ หลายอย่าง อย่าไปติดวิธีการ
ยุบหนอ พองหนอ ก็ปฏิบัติ แบบสมถะ
สัมมาอะระหังก็ แบบสมถะ
หรือการใช้พิจารณาอะไรต่างๆ ก็เพื่อสมถะ
เพื่อความสงบจิตนั่นเอง
เมื่อจิตไม่มีความสงบ สมาธิก็ไม่มี สมาธิไม่มี ฌานไม่มี
ในเมื่อไม่มีฌานก็ไม่มีญาณ
ไม่มีญาณก็ไม่มีปัญญา
ไม่มีปัญญาก็ไม่มีวิชชา
นี่ กฎธรรมชาติมันเป็นอยู่อย่างนี้
อ่านต่อที่นี่ http://palungjit.org/threads/จิตตะภาวนา-หลวงปู่พุธ-ฐานิโย.280415/ -
คำว่าฌาน
การทำฌาน มี สองลักษณะ
มีฌานของสมถะ
และฌานของ วิปัสนา
หรือจะเรียกว่า
ฌานฤษี และ ฌานอริยะมรรค
ฌานของฤษี จะมีอามิส
ฌานของอริยะมรรคจะไม่มีอามิส
ฌานของฤษี หากมีขึ้น จะเก็บสะสมเป็นพลังงานไว้เป็นกำลังของจิต
น้อมไปในทางอภิญญา ๕ และเป็นฐานส่งต่อเพื่อให้เกิดในอภิญญาข้อที่ ๖ได้
ฌานของอริยะมรรคหากเกิดขึ้นจะเป็นฐานในการละอาสวะแต่ถ่ายเดียว
จะเอามาทำอภิญญา ๕ไม่ได้ แต่จะรู้เห็นเหมือนได้อภิญญา
คือ จะรู้และปล่อยเองโดยอัตโนมัติ ไม่มีการถือครอง เป็นแต่รู้อยู่เท่านั้น
จะต่างจากอภิญญา ๕ ข้อ ที่สามารถทำซ้ำ สั่งได้ ในผู้ที่ได้ วสี
เรียกว่าฌานในอริยะมรรค เป็นฐานของอภิญญาข้อที่ ๖ แต่ถ่ายเดียว -
หากเดินตาม สติปัฏฐาน ๔ นั่นคือเป็นการทำฌานในอริยะมรรคล้วนๆ
ทีนี้ หากมีคำถามว่า แล้วทำฌานฤษีผิดไหม
ก็ไม่ผิด เมื่อทำเป็นพลังงานของจิต เพื่อเดินสู่ฌานในอริยะมรรคในลำดับต่อไป
แต่หากถามว่า จำเป็นไหม ที่ต้องทำฌานฤษี
ไม่จำเป็น ทำก็ได้ ไม่ทำก็ได้
เพราะการเดินสติปัฏฐาน ๔ มีฌานเกิดขึ้นในตัวอยู่แล้ว
นั่นคือ ฌานของอริยะมรรค
สำคัญที่ว่า ศึกษาสติปัฏฐาน ๔ แล้วทำตามอย่างยิ่งยวด -
-
มีแต่ฌานในอริยะมรรค ที่ไม่มีอามิส
เพราะไม่ได้เกิดขึ้นเพื่อสะสม
แต่เกิดขึ้นเพื่อสละออก -
อามิสบูชา แปลว่า บูชาด้วยอามิส บูชาด้วยสิ่งของ
อามิสบูชา ได้แก่การนำสิ่งของไปสักการะไปบูชาบุคคลหรือสิ่งที่ควรบูชา เช่น ให้ข้าว ให้น้ำ ให้เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค ตลอดถึงการดูแลปฏิบัติรับใช้ช่วยเหลือผู้มีพระคุณ ด้วยวัตถุสิ่งของและแรงกายของตน
อามิสบูชา เป็นการแสดงความเคารพนับถือ เป็นการยกย่องเชิดชูหรือให้เกียรติอย่างหนึ่งต่อผู้ที่ควรเคารพ ผู้ที่ควรยกย่องนับถือ และเป็นการตอบแทนพระคุณความดีของท่านผู้มีพระคุณด้วยสิ่งของ อันแสดงถึงความเป็นผู้มีน้ำใจและผู้มีคุณธรรม
อามิสบูชา เป็นบูชาอย่างหนึ่งใน 2 อย่าง
อามิสทาน
<!-- /firstHeading --><!-- bodyContent --><!-- tagline -->จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
<!-- /tagline --><!-- subtitle -->
<!-- /subtitle --><!-- jumpto -->ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
<!-- /jumpto --><!-- bodycontent --><TABLE class="noprint metadata plainlinks ambox ambox-style"><TBODY><TR><TD class=mbox-image>
</TD><TD class=mbox-text>บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง</TD></TR></TBODY></TABLE>การให้อามิสทาน คือการให้วัตถุทาน ๑๐ อย่าง มีข้าว น้ำ ผ้า ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม ของลูบไล้ ที่นอน ที่พัก เครื่องประทีป หรือให้ปัจจัย ๔ มีจีวร เป็นต้น ย่อมให้ด้วย เหตุต่าง ๆ กันเป็น ๘ ประการคือ
๑. บุคคลบางคนให้ทาน เพราะหวังผลตอบแทน มุ่งสั่งสมการให้ทาน ด้วยคิดว่าถ้าตายไปแล้วจักได้เสวยผลตอบแทนนี้ จึงให้ข้าว ให้น้ำ เป็นต้น แก่สมณะ หรือพราหมณ์ เพื่อให้เป็นเสบียงเลี้ยงตัวในภพหน้า
๒. บุคคลบางคนให้ทาน ไม่ได้หวังผลแห่งทาน แต่ให้เพราะคิดว่าการให้ทานเป็น ความดี เป็นการทำตามคำของบัณฑิตที่กล่าวไว้ดีแล้ว บุคคลที่คิดให้ทานอย่างนี้ เมื่อตายไปเขาย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นดาวดึงส์ เมื่อเสวยผลแห่งกรรมหมดสิ้นแล้ว เขาย่อมกลับมาสู่ความเป็นอย่างนี้อีก คือได้มาเกิดเป็นมนุษย์อีก เป็นการให้เพื่อยังประโยชน์ให้สำเร็จ ให้เกิดความสุข
๓. บุคคลบางคนให้ทาน ไม่ได้คิดว่าการให้ทานเป็นการดี แต่ให้ทานด้วยคิดว่า บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้ เคยทำมา ก็ควรทำไม่ให้เสียประเพณี เมื่อเขาตายไป ย่อมเข้าถึง ความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นยามา เมื่อเสวยผลแห่งกรรมหมดสิ้นแล้ว เขาย่อมกลับมาสู่ความเป็นอย่างนี้อีก คือกลับมาเป็นมนุษย์อีก เป็นการให้เพื่อรักษาประเพณี
๔. บุคคลบางคนให้ทาน ไม่ได้ให้เพราะคิดว่าบิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้ เคยทำมา แต่ให้ทานเพราะคิดว่าเราหุงหากินได้ ส่วนสมณะพราหมณ์ ไม่ได้หุงหากิน จึงให้ทานเพราะ ผลแห่งทานนี้ เมื่อเขาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นดุสิต เมื่อเสวยผลแห่ง ทานหมดสิ้นแล้ว เขาย่อมกลับมาสู่ความเป็นมนุษย์อีก เป็นการให้เพื่ออนุเคราะห์ ให้เพื่อบูชา
๕. บุคคลบางคนให้ทาน ไม่ได้คิดว่าเราหุงหากินได้ ส่วนสมณะพราหมณ์ไม่ได้หุงหากิน แต่ให้ด้วยคิดว่า เราจักเป็นผู้จำแนกแจกทาน เหมือนฤๅษีแต่ครั้งก่อน ๆ เพราะผลแห่งทานนี้ เมื่อเขาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นนิมมานรดี เมื่อเสวยผลแห่งกรรมหมด สิ้นแล้ว เขาย่อมกลับมาสู่ความเป็นมนุษย์อีก เป็นการให้เพื่อต้องการเป็นผู้มีโชคดี ต้องการมีชื่อเสียง
๖. บุคคลบางคนให้ทาน ไม่ได้คิดว่าจักเป็นผู้จำแนกแจกทาน แต่ให้ด้วยคิดว่า เราให้ทานอย่างนี้ จิตจักเลื่อมใส เกิดความปลื้มใจโสมนัสจึงได้ให้ทาน เพราะผลแห่งทานนี้ เมื่อเขาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นปรนิมมิตตวสวฺตี เมื่อเสวยผลของกรรมหมดสิ้นแล้ว ก็จักกลับมาสู่ความเป็นมนุษย์อีก เป็นการให้เพื่อปลูกศรัทธาให้จิตเกิดปิติยินดี
<TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#f7fafe height=27 background=http://guru.sanook.com/search/images/bg_hd01.gif><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=fontbold>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน</TD><TD class=fontbold2 align=right></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=http://guru.sanook.com/search/images/m05.gif></TD></TR><TR><TD background=http://guru.sanook.com/search/images/m04.gif width=5></TD><TD bgColor=#f7fafe><TABLE class=fontblacksm border=0 cellSpacing=8 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TR><TD>อามิส
<TABLE border=0 width="100%"><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE class=fontblacksm border=0 width="97%" align=center><TBODY><TR><TD>อามิษ, อามิส, อามิส</TD></TR><TR><TD>ความหมาย
[อามิด, อามิดสะ] น. สิ่งของวัตถุเครื่องล่อใจมีเงินเป็นต้น, เช่น อย่าเห็นแก่อามิสสินจ้าง. (ส. อามิษ; ป. อามิส).
</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
อามิสสินจ้าง
N. bribery def:[วัตถุเครื่องล่อใจ มีเงินเป็นต้น] syn:{สินจ้าง}{สินบน} sample:[นักข่าวที่ดีควรมีจุดยืนที่ชัดเจนที่ไม่สนับสนุนการรับอามิสสินจ้างจากผู้ใด]
</PRE>
<TABLE border=0><TBODY><TR><TD><TABLE class=search-result-table cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD width=150>อามิส</TD><TD>[N] allurement, See also: enticement, bait, Syn. อามิษ, Example: นักหนังสือพิมพ์ดีๆ ที่ไม่รับอามิสสินจ้าง รางวัล หรือสินบนใดๆ ยังมีอยู่มาก, Thai definition: วัตถุเครื่องล่อใจ</TD></TR><TR><TD width=150>อามิสสินจ้าง</TD><TD>[N] bribery, See also: graft, Syn. สินจ้าง, สินบน, Example: นักข่าวที่ดีควรมีจุดยืนที่ชัดเจนที่ไม่สนับสนุนการรับอามิสสินจ้างจากผู้ใด, Thai definition: วัตถุเครื่องล่อใจ มีเงินเป็นต้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
</TD></TR><TR><TD class=search-table-header>ไทย-ไทย: พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ [ฐานข้อมูลเชื่อมจาก เว็บ rirs3.royin.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้ - อาจมีข้อผิดพลาด - โปรดระมัดระวัง]</TD></TR><TR><TD><TABLE class=search-result-table cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=150>อามิสบูชา</TD><TD>น. การบูชาด้วยสิ่งของ, คู่กับ ปฏิบัติบูชา ซึ่งเป็นการ บูชาด้วยการปฏิบัติตามคำสั่งสอน.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
<TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" height=50><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center VSpace="0" HSpace="0"></TD><TR><TD bgColor=mistyrose vAlign=bottom width="100%" align=center vspace="0">บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ </TD></TR><TR><TD bgColor=peachpuff height=1 width="100%" vspace="0" hspace="0"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
ผลการค้นหา คำว่า “ อามิส ” :-<CENTER></CENTER>
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑<CENTER></CENTER>ภิกษุนั้นด้วยอามิสแล้ว เห็นด่านภาษี จึงส่งแก้วมณีซึ่งมีราคามากให้แก่ภิกษุนั้น ด้วยขอร้องว่า</U><CENTER></CENTER>
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒<CENTER></CENTER>พึงรับอามิส ไม่พึงกล่าวธรรม, เมื่อเขาถามว่ามาธุระอะไร พึงกล่าวว่า รู้เอาเองเถิด, ถ้านั่งบน</U><CENTER></CENTER>อาสนะก็ดี รับอามิสก็ดี กล่าวธรรมก็ดี ชื่อว่าหักการยืนเสีย, พึงยืนได้แม้ครั้งที่สอง พึงยืน</U><CENTER></CENTER>พระเถระทั้งหลายไม่ตั้งใจสั่งสอนพวกภิกษุณี ท่านสั่งสอนพวกภิกษุณีเพราะเห็นแก่อามิส บรรดา</U><CENTER></CENTER>พระเถระทั้งหลายไม่ตั้งใจสั่งสอนพวกภิกษุณี ท่านสั่งสอนพวกภิกษุณีเพราะเห็นแก่อามิส แล้ว</U><CENTER></CENTER>อามิส ดังนี้ จริงหรือ?</U><CENTER></CENTER>พระเถระทั้งหลายไม่ตั้งใจสั่งสอนพวกภิกษุณี ท่านสั่งสอนพวกภิกษุณีเพราะเห็นแก่อามิส ดังนี้</U><CENTER></CENTER>เพราะเหตุอามิส เป็นปาจิตตีย์.</U><CENTER></CENTER> บทว่า เพราะเหตุอามิส คือ เพราะเหตุจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจัย</U><CENTER></CENTER> ๔. อามิสสิกขาบท ว่าด้วยสั่งสอนภิกษุณี เพราะเห็นแก่ลาภ</U><CENTER></CENTER>ในทางอามิส ๑ คบหากันในทางธรรม ๑</U><CENTER></CENTER> ที่ชื่อว่า คบหากันในทางอามิส คือ ให้อามิสก็ดี รับอามิสก็ดี ต้องอาบัติปาจิตตีย์.</U><CENTER></CENTER>คือคบหากันในทางอามิส ๑ คบหากันในทางธรรม ๑</U><CENTER></CENTER> ที่ชื่อว่า คบหากันในทางอามิส คือ ให้อามิสก็ดี รับอามิสก็ดี ต้องอาบัติปาจิตตีย์</U><CENTER></CENTER>ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระคุณเจ้าผู้เจริญทั้งหลาย จึงได้รับอามิสจากมือภิกษุณีเล่า เพราะ</U><CENTER></CENTER>เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุจึงได้รับอามิสจากมือภิกษุณีเล่า</U><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER> พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุรูปนั้นว่า ดูกรภิกษุ ข่าวว่า เธอรับอามิสจากมือภิกษุณี</U><CENTER></CENTER>อันสมควรหรือไม่สมควร ของที่มีอยู่หรือไม่มี ของภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ไฉนเธอจึงได้รับอามิส</U><CENTER></CENTER>เปื้อนอามิส ในโกกนุทปราสาท. ชาวบ้านพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน พระสมณะ</U><CENTER></CENTER>เชื้อสายพระศากยบุตร จึงได้รับประเคนโอน้ำด้วยมือข้างที่เปื้อนอามิส เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้</U><CENTER></CENTER>ด้วยมือข้างที่เปื้อนอามิสเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.</U><CENTER></CENTER>ประเคนโอน้ำด้วยมือที่เปื้อนอามิส จริงหรือ?</U><CENTER></CENTER>จึงได้รับประเคนโอน้ำด้วยมือข้างที่เปื้อนอามิสเล่า การกระทำของพวกโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่</U><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER> ๒๐๐. ๕๕. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่รับโอน้ำด้วยมือเปื้อนอามิส.</U><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER> อันภิกษุผู้ฉันอาหารไม่พึงรับประเคนโอน้ำ ด้วยมือข้างที่เปื้อนอามิส. ภิกษุใดอาศัยความ</U><CENTER></CENTER>ไม่เอื้อเฟื้อ รับประเคนโอน้ำด้วยมือข้างที่เปื้อนอามิส ต้องอาบัติทุกกฏ.</U><CENTER></CENTER>
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๓ ภิกขุนีวิภังค์<CENTER></CENTER> ที่ชื่อว่า ของเป็นเดน ได้แก่ อามิสเป็นเดน หรือกระดูก หรือน้ำที่เป็นเดน.</U><CENTER></CENTER> ที่ชื่อว่า ของเป็นเดน ได้แก่อามิสเป็นเดน หรือกระดูก หรือน้ำที่เป็นเดน.</U><CENTER></CENTER>
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒<CENTER></CENTER>ดื่มน้ำด่างอามิส.</U><CENTER></CENTER>ระหว่างทาง เห็นเขาผสมแป้งบ้าง เถ้าบ้าง ลงในงบน้ำอ้อย จึงรังเกียจว่า งบน้ำอ้อยเจืออามิส</U><CENTER></CENTER>ความมักมากเช่นนี้เล่า ดูกรอานนท์ อามิสที่เก็บไว้ในภายในที่อยู่ เป็นอกัปปิยะ แม้ที่หุงต้มใน</U><CENTER></CENTER><CENTER>พระพุทธบัญญัติห้ามอามิสที่เป็นอันโตวุตถะเป็นต้น</U></CENTER><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันอามิสที่เก็บไว้ในภายในที่อยู่ ที่หุงต้มในภายในที่อยู่</U><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย อามิส ถ้าเก็บไว้ในภายในที่อยู่ หุงต้มในภายในที่อยู่ และหุงต้มเอง</U><CENTER></CENTER>ถ้าภิกษุฉันอามิสนั้น ต้องอาบัติทุกกฏ ๓ ตัว.</U><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย อามิส ถ้าเก็บไว้ในภายในที่อยู่ หุงต้มในภายในที่อยู่ แต่ผู้อื่นหุงต้ม</U><CENTER></CENTER>ถ้าภิกษุฉันอามิส ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว</U><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย อามิส ถ้าเก็บไว้ในภายในที่อยู่ แต่หุงต้มในภายนอก และหุงต้มเอง</U><CENTER></CENTER>ถ้าภิกษุฉันอามิสนั้น ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว</U><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย อามิส ถ้าเก็บไว้ในภายนอก แต่หุงต้มในภายใน และหุงต้มเอง</U><CENTER></CENTER>ถ้าภิกษุฉันอามิสนั้น ต้องอาบัติทุกกฏ ๒ ตัว</U><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย อามิส ถ้าเก็บไว้ในภายในที่อยู่ แต่หุงต้มในภายนอก และผู้อื่นหุงต้ม</U><CENTER></CENTER>ถ้าภิกษุฉันอามิสนั้น ต้องอาบัติทุกกฏตัวเดียว</U><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย อามิส ถ้าเก็บไว้ในภายนอก หุงต้มในภายใน แต่ผู้อื่นหุงต้ม</U><CENTER></CENTER>ถ้าภิกษุฉันอามิสนั้น ต้องอาบัติทุกกฏตัวเดียว</U><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย อามิส ถ้าเก็บไว้ในภายนอก หุงต้มในภายนอก แต่หุงต้มเอง</U><CENTER></CENTER>ถ้าภิกษุฉันอามิสนั้น ต้องอาบัติทุกกฏตัวเดียว</U><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย อามิส ถ้าเก็บไว้ในภายนอก หุงต้มในภายนอก และผู้อื่นหุงต้ม</U><CENTER></CENTER>ถ้าภิกษุฉันอามิสนั้นแล ไม่ต้องอาบัติ.</U><CENTER></CENTER><CENTER>พระพุทธานุญาตอามิสที่เป็นอันโตวุตถะเป็นต้น<U51TOP></U></U></CENTER> กัปปิยการกทั้งหลายเก็บอามิสไว้ข้างในแล้ว หุงต้มข้างนอก พวกคนกินเดนพากัน</U><CENTER></CENTER> ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตอามิสที่เก็บไว้ในภายในที่อยู่ ที่หุงต้มในภายในที่อยู่ และ</U><CENTER></CENTER>อามิส ๕๒. เรื่องดื่มน้ำสมอดองมูตร ๕๓. เรื่องทาของหอม ๕๔. เรื่องดื่มยาถ่าย</U><CENTER></CENTER>๖๔. เรื่องอามิสที่หุงต้มเอง ๖๕. เรื่องภัตตาหารที่ต้องอุ่น ๖๖. เรื่องให้เก็บที่หุงต้มอามิส</U><CENTER></CENTER>หาอาหารได้ง่าย ๙๖. เรื่องทรงห้ามอามิสที่เป็นอันโตวุตถะเป็นต้นใหม่ ๙๗. เรื่องฝนตั้งเค้า</U><CENTER></CENTER>ไม่แสลงออกเสีย ๑ พยาบาลไข้เห็นแก่อามิส ไม่มีจิตเมตตา ๑ เป็นผู้เกลียดที่จะนำอุจจาระ</U><CENTER></CENTER>เข้าไปให้ ๑ มีจิตเมตตาพยาบาลไข้ ไม่เห็นแก่อามิส ๑ เป็นผู้ไม่เกลียดที่จะนำอุจจาระ ปัสสาวะ</U><CENTER></CENTER> สา. ในอามิสเล่า จะพึงปฏิบัติอย่างไร พระพุทธเจ้าข้า?</U><CENTER></CENTER> พ. สารีบุตร พึงแบ่งอามิสให้ภิกษุทั้งหมดเท่าๆ กัน.</U><CENTER></CENTER>เข้าเฝ้าทูลถามข้อปฏิบัติ เรื่องเสนาสนะว่าง เรื่องจัดเสนาสนะให้ว่าง เรื่องแบ่งอามิสให้เท่าๆ กัน</U><CENTER></CENTER>
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒<CENTER></CENTER>ขอดบาตร ไม่พึงฉันเลียริมฝีปาก ไม่พึงรับโอน้ำด้วยมือเปื้อนอามิส พระเถระ</U><CENTER></CENTER>ขันน้ำด้วยมือเปื้อนอามิส พระเถระไม่พึงรับน้ำก่อนที่ภิกษุทั้งหมดยังฉันไม่เสร็จ</U><CENTER></CENTER>หงายบาตรแสดง และอามิสใดมีในบาตร พึงนิมนต์ภิกษุด้วยอามิสนั้น ฯ</U><CENTER></CENTER><CENTER>เรื่องให้อามิส<U564TOP></U></U></CENTER><CENTER></CENTER> [๕๖๔]<U564></U> สมัยนั้น ประชาชนถวายอามิสแก่ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลาย</U><CENTER></CENTER>ให้อามิสแก่พวกภิกษุณี ประชาชนเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระคุณ</U><CENTER></CENTER>เจ้าทั้งหลาย จึงได้ให้อามิสที่เขาถวายแก่ตนเพื่อประโยชน์บริโภคแก่ผู้อื่นเล่า</U><CENTER></CENTER>... ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงให้อามิสที่เขาถวายแก่ตน เพื่อประโยชน์</U><CENTER></CENTER> [๕๖๕]<U565></U> สมัยนั้น อามิสของภิกษุทั้งหลายมีมาก ภิกษุทั้งหลายกราบทูล<U565TOP></U></U><CENTER></CENTER>สงฆ์ อามิสมีมากเหลือเฟือ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคๆ</U><CENTER></CENTER> [๕๖๖]<U566></U> สมัยนั้น อามิสที่ภิกษุทำการสั่งสมไว้มีมาก ภิกษุทั้งหลาย<U566TOP></U></U><CENTER></CENTER>ภิกษุยังภิกษุณีให้รับอามิสที่เป็นสันนิธิของภิกษุแล้วฉันได้ ฯ</U><CENTER></CENTER> [๕๖๗]<U567></U> สมัยนั้น ประชาชนถวายอามิสแก่ภิกษุณีทั้งหลาย ภิกษุณี<U567TOP></U></U><CENTER></CENTER>ทั้งหลายจึงถวายอามิสที่เขาถวายแก่ตน เพื่อประโยชน์บริโภคแก่ผู้อื่น ก็พวกเรา</U><CENTER></CENTER>ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุณีไม่พึงให้อามิสที่เขาถวายแก่ตน เพื่อประโยชน์บริโภค</U><CENTER></CENTER> [๕๖๘]<U568></U> สมัยนั้น อามิสของภิกษุทั้งหลายมีมาก ภิกษุทั้งหลายกราบทูล<U568TOP></U></U><CENTER></CENTER>สงฆ์ อามิสมีมากเหลือเฟือ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคๆ</U><CENTER></CENTER> [๕๖๙]<U569></U> สมัยนั้น อามิสที่ภิกษุณีทำการสั่งสมมีมาก ภิกษุทั้งหลายกราบ<U569TOP></U></U><CENTER></CENTER>ยังภิกษุให้รับอามิสที่เป็นสันนิธิของภิกษุณีแล้วฉันได้ ฯ</U><CENTER></CENTER>ก้นบาตร เรื่องนิมิต เรื่องอามิสมากมาย อามิสเหลือเฟือยิ่ง อามิสที่ทำสันนิธิ</U><CENTER></CENTER>อามิสเช่นใดของภิกษุทั้งหลายในหนหลัง ของภิกษุณีทั้งหลายก็เช่นนั้น เรื่อง</U><CENTER></CENTER>
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๘ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๘ ปริวาร<CENTER></CENTER>นั้น ทรงบัญญัติปาจิตตีย์แก่ภิกษุผู้กล่าวว่า พวกภิกษุกล่าวสอนพวกภิกษุณีเพราะเหตุอามิส ณ</U><CENTER></CENTER> ต. เพราะเรื่องที่พระฉัพพัคคีย์กล่าวว่า พวกภิกษุสั่งสอนพวกภิกษุณีเพราะเหตุอามิส.</U><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER> [๙๒]<U92></U> ไม่ได้รับสมมติสั่งสอน ๑ พระอาทิตย์อัสดง ๑ ที่อาศัย ๑ เหตุอามิส ๑ ให้</U><CENTER></CENTER> ต. เพราะเรื่องที่ภิกษุรูปหนึ่ง เข้าไปสู่ละแวกบ้านแล้วรับอามิสจากมือของภิกษุณี ผู้</U><CENTER></CENTER>นั้น ทรงบัญญัติทุกกฏแก่ภิกษุผู้อาศัยความไม่เอื้อเฟื้อ รับโอน้ำด้วยมือเปื้อนอามิส ณ ที่ไหน?</U><CENTER></CENTER> ต. เพราะเรื่องที่ภิกษุหลายรูปรับโอน้ำด้วยมือเปื้อนอามิส.</U><CENTER></CENTER>เลียริมฝีปาก เปื้อนอามิส น้ำมีเมล็ดข้าว พระตถาคตทั้งหลายย่อมไม่ทรงแสดงสัทธรรม แก่</U><CENTER></CENTER> [๓๑๔]<U314></U> ภิกษุกล่าวว่า พวกภิกษุสั่งสอนพวกภิกษุณี เพราะเหตุอามิสต้องอาบัติ ๒<U314TOP></U></U><CENTER></CENTER> [๔๔๑]<U441></U> ภิกษุอาศัยความไม่เอื้อเฟื้อ รับโอน้ำด้วยมือเปื้อนอามิส ต้องอาบัติตัวหนึ่ง<U441TOP></U></U><CENTER></CENTER> ต. เพราะเรื่องที่ภิกษุณีสุนทรีนันทาพอใจรับอามิสจากมือของบุรุษบุคคลผู้พอใจ.</U><CENTER></CENTER> ต. เพราะเรื่องที่ภิกษุณีสุนทรีนันทามีความพอใจ รับอามิสจากมือของบุรุษบุคคล</U><CENTER></CENTER>วิหาร ๑ สิกขาบทว่าด้วยเอาน้ำรด ๑ สิกขาบทว่าด้วยสอนภิกษุณีเพราะเห็นแก่อามิส ๑ สิกขาบท</U><CENTER></CENTER>มือเปื้อนอามิส ๑ สิกขาบทว่าด้วยน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวสุก ๑ สิกขาบท</U><CENTER></CENTER>เพราะกายแตกย่อมเข้าถึงนรก. ภิกษุผู้วินิจฉัยอธิกรณ์ไม่พึงเห็นแก่อามิส</U><CENTER></CENTER>หนักในสงฆ์ ไม่พึงเป็นผู้หนักในบุคคล พึงเป็นผู้หนักในพระสัทธรรม ไม่พึงเป็นผู้หนักในอามิส</U><CENTER></CENTER> ๕. เป็นผู้หนักในอามิส ไม่หนักในสัทธรรม</U><CENTER></CENTER> ๕. เป็นผู้หนักสัทธรรม ไม่หนักในอามิส</U><CENTER></CENTER>บุคคล อามิส สงฆ์แตกกัน ความร้าวรานแห่งสงฆ์ และความแตกแห่งสงฆ์.</U><CENTER></CENTER>
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค<CENTER></CENTER>สะสมเครื่องประเทืองผิว สะสมของหอม สะสมอามิส.</U>
</PRE>
</PRE>
</PRE>
</PRE>
</PRE>
</PRE>
</PRE>
</PRE>
หน้า 1 ของ 3