ประกาศแม่กองบาลี ประจำปี 2553 พร้อมวิชาเรียนพื้นฐาน

ในห้อง 'จักรวาลคู่ขนาน' ตั้งกระทู้โดย อธิมุตโต, 5 มีนาคม 2009.

  1. อธิมุตโต

    อธิมุตโต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    4,741
    ค่าพลัง:
    +13,087
    เปิดห้องเรียนบาลี เริ่มเรียน เรื่อง วจีวิภาค หน้า 2 มาเรียนบาลีกันเถอะ ; บทที่ 4 วจีวิภาคต่อ อยู่ที่ หน้า 4 - หน้า 2 - PaLungJit.com

    วจีวิภาค คุณนาม สัพพนาม หน้า 4
    มาเรียนบาลีกันเถอะ ; บทที่ 4 วจีวิภาคต่อ อยู่ที่ หน้า 4 - หน้า 4 - PaLungJit.com

    เรื่อง ลิงค์ อยู่ที่หน้า 7 ครับ
    http://palungjit.org/threads/มาเรีย...่อ-อยู่ที่-หน้า-4-a.177338/page-7#post2081783

    (NEW) บทเรียนที่ 6 วจนะ และ วิภัตติ อยู่หน้า 8 นะครับ
    http://palungjit.org/threads/มาเรีย...-อยู่ที่-หน้า-7-new.177338/page-8#post2191155

    (NEW) บทเรียนที่ 7 อายตนิบาต และ การันต์ อยู่หน้า 9 นะครับ
    http://palungjit.org/threads/มาเรีย...-อยู่ที่-หน้า-8-new.177338/page-9#post2381542

    [​IMG]

    บทที่ 1 ปฐมบทการเรียนบาลี

    จากกระทู้นี้

    เรียนเชิญผู้รู้ภาษาบาลี น้อยบ้าง มากบ้าง มาแลกเปลียน ชี้แนะ ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์กันที่กระทู้นี้

    และกระทู้นี้

    วิธีอ่านบาลี

    ทำให้มีผู้สนใจในภาษาบาลีบางส่วน จึงมีความคิดจะเปิดกระทู้เรียนบาลีเบื้องต้นให้กับผู้สนใจ

    ฉะนั้น กระทู้นี้ จึงเป็นกระทู้เปิดห้องเรียนภาษาบาลี เบื้องต้น ( เปรียญธรรม 1)

    ให้กับผู้สนใจ ... ใครมีอะไรจะถาม ถามในกระทู้นี้ได้เลยนะครับ

    เริ่มเลยนะครับ

    มาเรียนบาลีกันเถิด

    ก่อนที่จะเรียนบาลี ต้องทำความเข้าใจในเรื่องการศึกษา ในศาสนาพุทธ เราเสียก่อน<O:p</O:p
    การศึกษา ในพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 อย่าง ใหญ่ ๆ คือ
    1. วิปัสนาธุระ
    2. คันถธุระ
    <O:p</O:p
    วิปัสนาธุระ คือ การศึกษาเกี่ยวกับการเจริญสมาธิ วิปัสสนา กัมมัฏฐาน ซึ่งเรา จะไม่ขอกล่าวในที่นี้
    คันถธุระ คือ การศึกษา การเรียน ต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนา
    <O:p</O:p
    โดยคณะสงฆ์ไทย ได้กำหนด การศึกษา ของภิกษุ และสามเณร ว่าต้องศึกษา เบื้องต้นจาก ธรรมศึกษา นักธรรมชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ตามลำดับขั้นาก จากนั้น จึงเริ่มเรียนบาลี ซึ่งเรียกเป็นทางการว่า วิชาเปรียญธรรม จะเริ่มต้นตั้งแต่เปรียญธรรม 1 ศึกษาตามลำดับไปเรื่อย ๆ สูงสุดคือเปรียญธรรม 9 ประโยค
    <O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มกราคม 2010
  2. อดุลย์ เมธีกุล

    อดุลย์ เมธีกุล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2007
    โพสต์:
    7,363
    ค่าพลัง:
    +11,793
    รอบทต่อไปครับท่านอาจารย์ ลูกศิษย์รอเรียนอยู่ครับ
     
  3. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    วันนี้ วันพฤหัสบดี ขอกราบนอบน้อมรับความรู้จากพระอาจารย์หลวงพี่ เจ้าค่ะ
    <O:p</O:p

    ในพิธีไหว้ครูนับตั้งแต่สมัยก่อน จะใช้ดอกไม้หลัก 3 อย่างในการทำพาน ซึ่งดอกไม้ ความหมายในการระลึกคุณครู ได้แก่<O:p</O:p
    ๑.หญ้าแพรก สื่อถึง ขอให้เรียนได้เร็วเหมือนหญ้าแพรก ที่โตได้เร็วและทนต่อสภาพดินฟ้า อากาศ ทนต่อการเหยียบย่ำ ซึ่งเปรียบเสมือน คำดุด่าของครูบาอาจารย์
    <O:p</O:p
    ๒.ดอกเข็ม สื่อถึง ขอให้มีสติปัญญาเฉียบแหลม เหมือนชื่อของดอกเข็ม
    <O:p</O:p
    .ดอกมะเขือ สื่อถึง การเปรียบเทียบว่า มะเขือนั้น จะคว่ำดอกลงเสมอเมื่อจะออกลูก แสดงถึง นักเรียนที่จะเรียนให้ได้ผลดีนั้นต้องรู้จักอ่อนน้อม ถ่อมตน เป็นคนสุภาพเรียบร้อย เหมือนมะเขือที่โน้มลง
    <O:p</O:p
    ๔.ข้าวตอก เนื่องจากข้าวตอกเกิดจากข้าวเปลือกที่คั่วด้วยไฟอ่อนๆ ให้ร้อนเสมอกันจนถึงจุดหนึ่งที่เนื้อข้างในขยายออก จนดันเปลือกให้แยกออกจากกัน ได้ข้าวสีขาวที่ขยายเม็ดออกบาน ซึ่งสามารถนำไปประกอบพิธีกรรม หรือทำขนมต่างๆได้ ดังนั้น ข้าวตอกจึงเป็นสัญลักษณ์ของความมีระเบียบวินัย หากใครสามารถทำตามกฎระเบียบ เอาชนะความซุกซนและความเกียจคร้านของตัวเองได้ ก็จะเหมือนข้าวตอกสีขาวที่ถูกคั่วออกจากข้าวเปลือก
    <O:p</O:p
    ข้อมูล : วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี และ http://www.yupparaj.ac.th/special/meaning/meaning.htm
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. เวฬุวัล

    เวฬุวัล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    1,843
    ค่าพลัง:
    +505
    กราบนมัสการพระอาจารย์เจ้าค่ะ

    หนูสงสัยว่าทำไมภาษาบาลีกับภาษาสันสกฤตจึงเป็นภาษาเดียวกัน

    ทั้งที่ในบางครั้งหลักการใช้ภาษา หรือแม้แต่กระทั่งพยัญชนะที่ใช่ก็ไม่เหมือนกันเจ้าคะ
     
  5. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    สวัสดีจ้ะ คุณเวฬุวัน เมื่อเช้าว่าจะตามไปเรียกเข้าห้องเรียน หาบ้านไม่เจอจ้ะ :)
     
  6. CHATTHAYA

    CHATTHAYA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กันยายน 2008
    โพสต์:
    453
    ค่าพลัง:
    +323
    chearr มาแว๊วค๊า... พระอาจารย์ อธิมุตโต นู๋ขอฝากตัวเป็นศิษย์ของพระอาจารย์ด้วยอีกคนค๊า
    แหม... เกือบเข้าห้องเรียนไม่ทันซะแระ... ว่าแต่ มาช้า ยังดีกว่าไม่มา... ชิมิค๊า :boo:
     
  7. อธิมุตโต

    อธิมุตโต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    4,741
    ค่าพลัง:
    +13,087
    ขอขอบคุณ คุณเวฬุวันที่ติติงมา

    ที่ว่า

    เป็นความปิดของอาจารย์เองที่พิมพ์อธิบายผิดนิดหน่อย ที่ว่าเป็นภาษาเดียวกัน คือ เป็นภาษาที่แรกเริ่มเดิมทีใช้อยู่ในเมืองเดียวกัน คือเมืองมคธ เมืองเดียวกันนั่นเอง
     
  8. เวฬุวัล

    เวฬุวัล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    1,843
    ค่าพลัง:
    +505
    กราบขอบพระคุณ พระอาจารย์เจ้าค่ะ
     
  9. boontar

    boontar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,717
    ค่าพลัง:
    +5,514
    กราบนมัสการครับ
    ขออนุญาตเป็นศิษย์ครับ และขออนุญาตถามเลยครับ
    คำแปลพระไตรปิฎกจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทยมีปรากฎอยู่หลายฉบับ
    ภาษาไทยที่ใช้อยู่นั้นเป็นมาตราฐานเดียวกันเหมือนกันหมดทุกคำหรือไม่
    หรือฉบับใดที่ทางพระถือเป็นฉบับหลักเพื่อใช้อ้างอิงครับ
     
  10. CHATTHAYA

    CHATTHAYA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กันยายน 2008
    โพสต์:
    453
    ค่าพลัง:
    +323
    พระอาจารย์ขา เป็นความปิดของอาจารย์เอง หมายฟามว่ายังงัยหรอค๊า :d
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มีนาคม 2009
  11. อธิมุตโต

    อธิมุตโต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    4,741
    ค่าพลัง:
    +13,087
    เป็นมาตรฐานเดียวกันหมดครับ

    ฉบับใด ที่ทางพระถือเป็นฉบับหลัก เพื่ออ้างอิง ... ตอบตรง ๆ ว่า แต่ละวัดในประเทศไทยทั่วประเทศ ไม่มีฉบับหลัก นะครับ (ตามความคิดส่วนตัว)

    เพราะไปหลาย ๆ วัดมา เห็นหนังสือพระไตรปิฎก ไม่ค่อยซ้ำกันเลยครับ

    มีทั้ง ฉบับ มหามงกุฏ

    ฉบับ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    ฉบับ ส. ธรรมภักดี

    ฉบับสยามรัฐ

    ฉบับประชาชน

    [​IMG]

    ฯลฯ

    แล้วแต่วัดไหน มีของฉบับไหนครับ สรุป
     
  12. อธิมุตโต

    อธิมุตโต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    4,741
    ค่าพลัง:
    +13,087
    ช่วงนี้พิม์ผิดบ่อยครับ
     
  13. อดุลย์ เมธีกุล

    อดุลย์ เมธีกุล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2007
    โพสต์:
    7,363
    ค่าพลัง:
    +11,793
    นักเรียนเยอะอาจารย์เลยเขินมังครับ โดยความเคารพ
     
  14. CHATTHAYA

    CHATTHAYA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กันยายน 2008
    โพสต์:
    453
    ค่าพลัง:
    +323

    หง่า... พระอาจารย์ขา แกล้งพิมพ์ผิดอีกแว๊ววว.. คิคิ ^-^
     
  15. boontar

    boontar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,717
    ค่าพลัง:
    +5,514
    ขอบคุณครับ
     
  16. อาจารย์เตี้ย

    อาจารย์เตี้ย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กันยายน 2007
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +603
    อนุโมธนาครับพระคุณเจ้า
     
  17. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    ขออนุญาต คัดลอกความสาระดี-ดี ของคุณจอมฯ มาขยายต่อความรู้กันในห้องเรียนนะคะ http://palungjit.org/showthread.php?t=168206

    (เพื่อนกัน ใจดี -ไม่กลัวแล่ะ นะ)


    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT><IFRAME name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=undefined&dt=1236649695515&format=undefinedxundefined&output=html&correlator=1236649695515&ea=0&frm=1&ga_vid=1334959713.1236144903&ga_sid=1236649436&ga_hid=358344996&ga_fc=true&flash=10.0.12.36&u_h=768&u_w=1024&u_ah=734&u_aw=1024&u_cd=32&u_tz=420&u_his=6&u_java=true&dtd=16" frameBorder=0 scrolling=no allowTransparency></IFRAME><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT>
    <SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT><IFRAME name=google_ads_frame marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=undefined&dt=1236649714296&format=undefinedxundefined&output=html&correlator=1236649714296&ea=0&frm=1&ga_vid=1334959713.1236144903&ga_sid=1236649436&ga_hid=732269934&ga_fc=true&flash=10.0.12.36&u_h=768&u_w=1024&u_ah=734&u_aw=1024&u_cd=32&u_tz=420&u_his=7&u_java=true&dtd=0" frameBorder=0 scrolling=no allowTransparency></IFRAME><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT>
     
  18. ผ่อนคลาย

    ผ่อนคลาย Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    5,774
    ค่าพลัง:
    +12,932
    นมัสการพระอาจารย์อธิมุตโตที่เคารพ

    ได้ความรู้จากพระอาจารย์ดีครับผม

    ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงครับ
     
  19. ธรรมทิพย์

    ธรรมทิพย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    520
    ค่าพลัง:
    +433
    กราบอนุโมทนาค่ะ ที่เปิดสอนภาษาบาลี

    ขออนุญาตเพิ่มเติมรายละเอียดที่มาที่ไปของภาษาบาลี สันสกฤตว่าต่างกันอย่างไร
    เพื่อมิให้ผู้สนใจสับสนค่ะ

    ก่อนอื่นขออธิบายในเรื่องภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยก่อนนะคะ
    ภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย มีหลายภาษา เช่น บาลี สันสกฤต เขมร
    ภาษาอังกฤษ ภาษาพม่า ฯลฯ

    ในส่วนของภาษาบาลีเข้ามาในรูปแบบของการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ก็คือ ศาสนาพุทธ
    ภาษาสันสกฤต มาในรูปแบบของวรรณคดี เช่น คัมภีร์รามยณะ หรือ รามเกียรติ์

    ภาษาสันสกฤต เกิดก่อน และเก่าแก่กว่าภาษาบาลี
    ในส่วนของสันสกฤตจะมีพยัญชนะมากกว่า ๒ ตัว เพิ่ม ศ ษ รวมเป็น ๓๕ ตัว
    และมีสระเพิ่มจากบาลีอีก ๖ ตัว ได้แก่ รวมเป็น ๑๔ ตัว

    ที่นี้ก็คงทราบความแตกต่างระหว่างภาษาบาลี สันสกฤตมากขึ้นจะได้ไม่สับสนนะคะ
    ส่วนรายละเอียดต้องสืบค้นเพิ่มเติมเอง ถ้าอยากเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

    ตอนนี้ทุกคนก็คงจะพร้อมให้พระอาจารย์อธิบาย และเรียนรู้เรื่องภาษาบาลีในบทต่อ ๆ ไป
    ซึ่งหลายคนกำลังรอเรียน และติดตามอยู่ ใช่ไหมคะ ? รวมทั้งดิฉันด้วยค่ะ
    ;42
     
  20. อธิมุตโต

    อธิมุตโต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    4,741
    ค่าพลัง:
    +13,087
    เปิดบทที่ 2 อุปกรณ์ ทีใช้เรียนบาลี

    <O:p</O:p
    อุปกรณ์ที่ใช้เรียน บาลีในที่นี้ ก็หมายถึง หนังสือ รายวิชา ที่จะเรียนนั่นเอง
    ในบาลี ชั้นเปรียญธรรม 1 และ 2 (ในที่นี้ จะขอใช้คำว่า ปธ.1-2 เรียกแทนคำว่า ชั้นเปรียญธรรม 1 และ 2 แทน)

    จะใช้ หนังสือ อยู่ 2 วิชาหลัก (สำหรับ ปธ.1-2) คือ วิชาไวยากรณ์ และวิชาแปลมคธเป็นไทย

    วิชาแปลมคธเป็นไทย หนังสือที่ใช้เรียนแบ่งเป็น 4 ส่วน คือ

    1. หนังสือ ธมฺมปทฏฺฐกถา (ธรรมบท) ภาค 1 ถึง 4
    ตัวอย่าง ข้อความ ในหนังสือ
    อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา กเถสิ

    2. หนังสือ แปลยกศัพท์ หมายถึงหนังสือ ที่แปลภาษามคธตัว ภาษาไทยตัว
    ตัวต่อตัว(ธรรมบท) ภาค 1 ถึง 4
    ตัวอย่าง ข้อความ ในหนังสือ
    อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา กเถสิ
    แปลได้ดังนี้ สตฺถา อ.พระศาสนา กเถสิ ตรัสแล้ว ธมฺมเทสนํ ซึ่งพระธรรมเทศนา อิมํ นี้

    3. หนังสือ แปลโดย พยัญชนะ(ธรรมบท) ภาค 1 ถึง 4
    ตัวอย่าง ข้อความ ในหนังสือ
    อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา กเถสิ
    แปลได้ดังนี้ อ.พระศาสนา ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้

    4. หนังสือ แปลโดยอรรถ(ธรรมบท) ภาค 1 ถึง 4
    ตัวอย่าง ข้อความ ในหนังสือ
    อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา กเถสิ
    แปลได้ดังนี้ พระศาสนาตรัสพระธรรมเทศนานี้แล้ว

    วิชาไวยากรณ์ แบ่งเป็น 4 ภาค ( 4 บทใหญ่ที่ต้องเรียน ในระดับ ปธ.1 ถึง ปธ.9)คือ
    1. อักขรวิธี - ว่าด้วยอักษร
    2. วจีวิภาค
     

แชร์หน้านี้

Loading...