พุทธศาสนสุภาษิต จากพระไตรปิฎก ในพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ตอนที่ ๒

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย uncle jing, 9 มีนาคม 2010.

  1. uncle jing

    uncle jing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    366
    ค่าพลัง:
    +219
    [FONT=&quot]พุทธศาสนสุภาษิต จากพระไตรปิฎก ในพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ตอนที่ ๒ [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ที่มา หนังสือธัมมวิโมกข์ ฉบับที่ ๓๔๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องที่ ๑ การฝังขุมทรัพย์ (นิธิกัณฑสูตร)[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]พระผู้มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก่กุฎุมพีคนหนึ่งในกรุงสาวัตถี ดังนี้[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]คนเราฝังขุมทรัพย์ (ทรัพย์ในที่นี้หมายถึง ถาวระ และ ชังคมะ) ไว้ในที่ลึกจดถึงน้ำก็ด้วยคิดว่า เมื่อเกิดกิจจำเป็นขึ้น ขุมทรัพย์นี้จะเป็นประโยชน์แก่เรา[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]คนเราฝังขุมทรัพย์ไว้ในโลก ก็เพื่อจุดประสงค์นี้คือ เพื่อให้พ้นจากราชภัยที่คอยคุกคาม เพื่อให้พ้นจากโจรภัยที่คอยเบียดเบียน เพื่อเก็บไว้ใช้หนี้ก็มี เพื่อเก็บไว้ใช้ในยามเกิดทุพภิกขภัย (หมายถึงภัยที่เกิดจากข้าวยากหมากแพง หรือการขาดแคลนอาหารในบ้านเมือง) หรือเพื่อใช้ในเวลามีภัยอันตรายต่างๆ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ขุมทรัพย์ที่เขาฝังไว้อย่างดีในที่ลึกจดน้ำถึงเพียงนั้น จะสำเร็จประโยชน์แก่เขาไปทั้งหมด ตลอดเวลาก็หาไม่ เพราะบางทีขุมทรัพย์ก็เคลื่อนที่ไปก็มี บางทีเขาลืมที่ฝังไว้ก็มี บางทีพวกนาคเคลื่อนย้ายก็มี บางทีพวกยักษ์นำทรัพย์นั้นไปก็มี หรือบางทีเมื่อเขาไม่เห็นทายาทผู้ไม่เป็นที่รักขโมยขุดไปก็มี เมื่อเขาสิ้นบุญ ขุมทรัพย์ที่ฝังไว้ทั้งหมดนั้นก็พินาศหายไป[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]หมายเหตุ ทรัพย์มี ๔ ชนิด คือ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot](๑)[/FONT]<!--[endif]-->[FONT=&quot]ถาวระ[/FONT][FONT=&quot] คือขุมทรัพย์ถาวร เช่น ที่ดิน ที่นา ที่สวน เงินและทอง[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot](๒)[/FONT]<!--[endif]-->[FONT=&quot]ชังคมะ[/FONT][FONT=&quot] คือขุมทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้ เช่น ช้าง ม้า โค กระบือ แกะ ไก่ สุกร เป็นต้น[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot](๓)[/FONT]<!--[endif]-->[FONT=&quot]อังคสมะ[/FONT][FONT=&quot] คือขุมทรัพ่ย์ติดตัว เช่น วิชาความรู้ ศิลปวิทยา เป็นต้น[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot](๔)[/FONT]<!--[endif]-->[FONT=&quot]อนุคามิกะ[/FONT][FONT=&quot] คือขุมทรัพย์ตามตัวทางคุณธรรม ได้แก่ บุญกุศล เป็นต้น[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ขุมทรัพย์ (ในที่นี้หมายถึงขุมทรัพย์ชนิดอนุคามิกะ คือขุมทรัพย์ติดตามตัวทางคุณธรรม ได้แก่ บุญกุศล ทาน การรักษาศีล การเจริญภาวนา) ที่ผู้ใดจะเป็นสตรีก็ตาม เป็นบุรุษก็ตาม ฝังไว้ดีแล้ว ด้วยทาน ศีล สัญญมะ(การห้ามจิตให้ตกไปในอารมณ์ต่างๆ คำนี้เป็นชื่อของสมาธิและอินทรียสังวร) และทมะ(การฝึกตน ได้แก่ การเข้าไประงับกิเลส คำนี้เป็นชื่อของปัญญา) ในพระเจดีย์ พระสงฆ์ บุคคล แขกที่มาหา ในมารดา บิดา หรือพี่ชาย [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ขุมทรัพย์นี้ชื่อว่าฝังไว้ดีแล้ว คนอื่นขนเอาไปไม่ได้ จะติดตามคนฝังตลอดไป บรรดาทรัพย์สมบัติที่เขาต้องละไป เขาพาไปได้เฉพาะขุมทรัพย์นี้เท่านั้น ขุมทรัพย์นี้ไม่ทั่วไปแก่คนเหล่าอื่น ทั้งโจรก็ลักเอาไปไม่ได้ ผู้มีปัญญาควรทำแก่บุญที่จะเป็นขุมทรัพย์ติดตามตนตลอดไป ขุมทรัพย์นี้ให้ผลอันน่าปรารถนาทุกประการ แก่เทวดา และมนุษย์ คือ เทวดาและมนุษย์ปรารถนาผลใดๆ ผลนั้นๆ ทุกอย่าง จะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ความมีผิวพรรณงดงาม ความมีเสียงไพเราะ ความมีทรวดทรงสมส่วน ความมีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร ทั้งหมดจะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้ ความเป็นพระราชาในประเทศ ความเป็นอิสระ(หมายถึงความเป็นพระเจ้าจักรพรรดิมีมหาสมุทรทั้ง ๔ เป็นขอบเขต) ความสุขของความเป็นพระเจ้าจักรพรรดิอันน่าพอใจ และแม้ความเป็นความเป็นเทวราชของเทวดาในหมู่เทพทั้งหมดก็จะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]สมบัติของมนุษย์ก็ดี ความยินดีในเทวโลกก็ดี สมบัติคือพระนิพพานก็ดี ทั้งหมดจะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้ บุคคลอาศัยมิตตสัมปทา(หมายถึงความเพียบพร้อมด้วยมิตรที่มีคุณความดี เช่น พระศาสดา หรือเพื่อนพรหมจารีผู้ดำรงตนน่าเคารพ) ประกอบด้วยความเพียรโดยแยบคาย ก็จะเป็นผู้ชำนาญในวิชชาและวิมุตติ ทั้งหมดจะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ปฏิสัมภิทา[/FONT][FONT=&quot](ปัญญาแตกฉานมี ๔ ประการคือ (๑) อัตตปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในอรรถ (๒) ธัมมปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในธรรม (๓) นิรุตติปฏิสัมภิทา ปํญญาแตกฉานในนิรุตติคือ ภาษา (๔) ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในปฏิภาณ) วิโมกข์(หมายถึงวิโมกข์ ๘ คือ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔) สาวกบารมี(บารมีที่ให้สำเร็จเป็นพระสาวก) ปัจเจกโพธิ(บารมีที่ให้สำเร็จเป็นพระปัจเจกพระพุทธเจ้าผู้ตรัสรู้ได้เอง) พุทธภูมิ(บารมีที่ให้สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าฝู้สูงสุดกว่าสัตว์ทั้งปวง) ทั้งหมดจะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]บุญสัมปทา[/FONT][FONT=&quot](ความถึงพร้อมแห่งบุญ) นี้มีประโยชน์มากอย่างนี้ เพราะฉะนั้น บัณฑิตผู้เป็นปราชญ์ จึงสรรเสริญภาวะแห่งบุญที่ทำไว้แล้ว[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องที่ ๒ การแผ่เมตตา (เมตตสูตร)[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]พระผู้มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก่ภิกษุทั้งหลายผู้อยู่ป่า ดังนี้<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้ฉลาดในประโยชน์มุ่งหวังบรรลุสันตบท(นิพพาน) ควรพำเพ็ญกรณียกิจ(การศึกษาในไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ตรงกันข้ามกับ อกรณีกิจ คือ สีลวิบัติ ทิฏฐิวิบัติ อาจารวิบัติ อาชีววิบัติ) ควรเป็นผู้อาจหาญ ซื่อตรง เคร่งครัด ว่าง่าย อ่อนโยน และไม่เย่อหยิ่ง[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ควรเป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย(ในที่นี้หมายถึง ไม่ขวนขวายการงานต่างๆ ที่จะทำให้จิตฟุ้งซ่าน ไม่พูดคุยเพ้อเจ้อ ไม่คลุกคลีหมู่คณะ ปล่อยวางหน้าที่รับผิดชอบงานก่อสร้าง งานบริหารคณะสงฆ์ เป็นต้น มุ่งพำเพ็ญสมณธรรมเป็นหลัก) มีความประพฤติเบา(ในที่นี้หมายถึงมีเพียงบริขาร ๘ เช่นบาตร จีวร เป็นต้น ไม่สะสมของให้เป็นภาระ เหมือนนกมีเพียงปีกบินไปฉะนั้น) มีอินทรีย์สงบ มีปัญญารักษาตน ไม่คะนอง ไม่ยึดติดในตระกูลทั้งหลาย[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อนึ่ง ไม่ควรประพฤติความเสียหายใดๆ ที่จะเป็นเหตุให้วิญญูชนเหล่าอื่นตำหนิเอาได้ (ควรแผ่เมตตาไปในสรรพสัตว์อย่างนี้ว่า) ขอสัตว์ทั้งปวงจงมีความสุข มีความเกษม มีตนเป็นสุขเถิด คือเหล่าสัตว์ที่ยังเป็นผู้หวาดสะดุ้ง(หมายถึงมีตัณหาและความกลัว) หรือเป็นผู้มั่นคง(หมายถึงบรรลุอรหัตผล เพราะละตัณหาและความกลัวภัยได้)[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ขอสัตว์เหล่านั้นทั้งหมดจงมีตนเป็นสุขเถิด เหล่าสัตว์ที่มีขนาดกายยาว ขนาดกายใหญ่ ขนาดกายปานกลาง ขนาดกายเตี้ย ขนาดกายผอม หรือขนาดกายอ้วน ขอสัตว์เหล่านั้นทั้งหมดจงมีตนเป็นสุขเถิด[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เหล่าสัตว์ที่เคยเห็นก็ดี เหล่าสัตว์ที่ไม่เคยเห็นก็ดี เหล่าสัตว์ที่อยู่ใกล้และอยู่ไกลก็ดี ภูต หรือสัมภเวสี ก็ดี ขอสัตว์เหล่านั้นทั้งหมดจงมีตนเป็นสุขเถิด[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]หมายเหตุ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ความหมายแรก ภูต หมายถึงพระอรหันต์ขีณาสพ สัมภเวสี หมายถึงพระเสขะและปุถุชนผู้ยังต้องแสวงหาที่เกิดต่อไป เพราะยังละภวสังโยชน์ไม่ได้[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อีกความหมายหนึ่ง ในกำเนิด ๔ สัตว์ที่เกิดในไข่และเกิดในครรภ์ ถ้ายังไม่เจาะเปลือกไข่หรือคลอดกจากครรภ์ออกมา ยังเรียกว่า สัมภเวสี ต่อเมื่อเจาะเปลือกไข่หรือคลอดออกมา เรียกว่า ภูต พวกสังเสทชะ(เกิดที่ชื้นแฉะ) และพวกโอปปาติกะ(เกิดผุดขึ้น) ในขณะจิตแรก ก็เรียกว่า สัมภเวสี ตั้งแต่ขณะจิตที่ ๒ เป็นต้นไปเรียกว่า ภูต[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ควรข่มเหง ไม่ควรดูหมิ่นกันและกันในทุกโอกาส ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความโกรธและความแค้น ควรแผ่เมตตาจิตอย่างไม่มีประมาณ กว้างขวาง ไม่มีเวร ไม่มีศัตรูไปยังสัตว์โลกทั่วไปหมด ทั้งชั้นบน[/FONT][FONT=&quot](สุขคติภูมิ) ชั้นล่าง(อบายภูมิ) และชั้นกลาง(มนุษย์ภูมิ) [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้แผ่เมตตาจะยืน เดิน นั่ง หรือนอน ควรตั้งสติ[/FONT][FONT=&quot](เมตตาฌานัสสติ คือสติที่ประกอบด้วยเมตตาฌาน) นี้ไว้ตลอดเวลาที่ยังไม่ง่วง นักปราชญ์เรียกการอยู่ด้วยเมตตานี้ว่า พรหมวิหาร[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อนึ่งผู้แผ่เมตตาที่ไม่ยึดทิฏฐิ(หมายถึงทิฏฐิที่ว่า [/FONT][FONT=&quot]“กองสังขารล้วนๆ จัดเป็นสัตว์ไม่ได้[/FONT][FONT=&quot]) มีศีล ถึงพร้อมด้วยทัสสนะ(หมายถึงโสดาปัตติมัคคสัมมาทิฏฐิ ซึ่งเป็นพื้นฐาน แห่งการบรรลุสกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อันเป็นเหตุให้ไปเกิดในชั้นสุทธาวาส แล้วบรรลุอรหัตผลในที่นั้น ไม่กลับมาเกิดในครรอีกต่อไป) กำจัดความยินดีในกามคุณได้แล้ว ก็จะไม่เกิดอีกต่อไป[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องที่ ๓ พระจักขุบาล (จักขุปาลเถรวัตถุ)[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]พระผู้มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก่ภิกษุทั้งหลาย ดังนี้[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] ธรรมทั้งหลาย<sup>๑</sup> มีใจ<sup>๒</sup>เป็นหัวหน้า<sup>๓</sup> มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจชั่ว ก็จะพูดชั่วหรือทำชั่วไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]หมายเหตุ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ธรรมทั้งหลาย<sup>๑</sup>[/FONT][FONT=&quot] มีความหมาย ๔ ประการ คือ (๑) คุณธรรม (๒) เทศนาธรรม (๓) ปริยัติธรรม (๔) นิสสัตตธรรม(สภาวะที่มิใช่สัตว์) นิชชีวธรรม(สภาวะที่มิใช่ชีวะ) ในที่นี้หมายถึงนิสสัตตธรรม ได้แก่ อรูปขันธ์ ๓ คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์[/FONT]<o>

    </o>
    [FONT=&quot]ใจ<sup>๒</sup>[/FONT][FONT=&quot] หมายถึง จิต ๔ ระดับ คือ จิตระดับกามาวจรรูป จิตระดับรูปาวจรรูป จิตระดับอรูปาวจรรูป และจิตระดับโลกุตตรภูมิ แต่ในที่นี้หมายเอาจิตที่มีโทมนัสแระกอบด้วยปฏิฆะ เดิมที่เดียว จิตนั้นเป็นภวังคจิต คือจิตที่ผ่องใส(ปภัสสรจิต) แต่เมื่อถูกเจตสิกธรรมฝ่ายชั่วกล่าวคือ อุปกิเลสธรรม จรมากระทบเข้า ก็กลายเป็นจิตเศร้าหมองที่เรียกว่า ใจชั่ว ซึ่งพร้อมที่จะแสดงพฤติกรรมออกมาทางกายและวาจา[/FONT]<o>

    </o>
    [FONT=&quot]เป็นหัวหน้า[/FONT]<sup>[FONT=&quot]๓[/FONT]</sup>[FONT=&quot] หมายถึง[/FONT][FONT=&quot] เป็นหัวหน้าของเจตสิกธรรม กล่าวคือเป็นเหตุปัจจัยให้เจตสิกธรรมเกิดขึ้น[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องที่ ๔ พระติสสเถระ (ติสสเถรวัตถุ)[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]พระผู้มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก่ภิกษุทั้งหลาย ดังนี้[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] ชนเหล่าใด เข้าไปผูกเวรว่า “คนนี้ได้ด่าเรา ได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา และได้ลักสิ่งของของเราไป” เวรของชนเหล่านั้น ย่อมไม่สงบระงับ<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] ส่วนชนเหล่าใด ไม่เข้าไปผูกเวรว่า [/FONT][FONT=&quot]“คนเหล่านี้ได้ด่าเรา ได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา และได้ลักสิ่งของของเราไป” เวรของชนเหล่านั้น ย่อมสงบระงับ<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องที่ ๔ นางยักษ์ชื่อกาลี (กาลียักขินีวัตถุ)[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]พระผู้มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก่นางยักษ์ชื่อกาลีและหญิงคนหนึ่ง ดังนี้[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] เพราะว่าในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร<sup>๑</sup> แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร<sup>๒</sup> นี้เป็นธรรมเก่า<sup>๓</sup><o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot]หมายเหตุ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เวร<sup>๑</sup>[/FONT][FONT=&quot] เวรนั้นนอกจากจะไม่สงบระงับแล้วยังกลับเพิ่มพูนเวรต่อกันให้มากยิ่งขึ้น เปรียบเหมือนการใช้น้ำสกปรกชำระล้างสิ่งสกปรกก็ยิ่งเพิ่มพูนความสกปรกมากขึ้นฉะนั้น<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]การไม่จองเวร<sup>๒</sup>[/FONT][FONT=&quot] หมายถึงธรรม คือ ขันติ(ความอดทน) เมตตา( ความรัก) โยนิโสมนสิการ(การพิจารณาโดยแยบคาย) และปัจจเวกขณะ(การพิจารณา)<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ธรรมเก่า<sup>๓</sup> [/FONT][FONT=&quot]หมายถึงเป็นทางปฏิบัติเพื่อสงบระงับเวรที่ประพฤติสืบๆ กันมาของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระขีณาสพ<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องที่ ๕ ภิกษุชาวเมืองโกสัมพี (โกสัมพิกวัตถุ)[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]พระผู้มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก่ภิกษุชาวเมืองโกสัมพีผู้ทะเลาะกัน ดังนี้[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] ชนเหล่าอื่น(คนที่สร้างความแตกแยกในหมู่) ไม่รู้ชัดว่า [/FONT][FONT=&quot]“พวกเรากำลังย่อยยับอยู่ ณ ที่นี้” ส่วนชนเหล่าใด[/FONT][FONT=&quot](บัณฑิต) ในหมู่นั้น รู้ชัด ความมุ่งร้ายกันย่อมระงับ เพราะการปฏิบัติของชนเหล่านั้น[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o>
    </o>[/FONT]
     

แชร์หน้านี้

Loading...