ภูเขาไฟ ที่กำลังปะทุ !!!!!!!!!!!

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 27 มกราคม 2007.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Electric Yellowstone: Conductivity Image Hints Supervolcano Plume Is Bigger Than Thought

    ScienceDaily (Apr. 10, 2011) — University of Utah geophysicists made the first large-scale picture of the electrical conductivity of the gigantic underground plume of hot and partly molten rock that feeds the Yellowstone supervolcano. The image suggests the plume is even bigger than it appears in earlier images made with earthquake waves.
    <hr>

    "It's like comparing ultrasound and MRI in the human body; they are different imaging technologies," says geophysics Professor Michael Zhdanov, principal author of the new study and an expert on measuring magnetic and electrical fields on Earth's surface to find oil, gas, minerals and geologic structures underground.
    "It's a totally new and different way of imaging and looking at the volcanic roots of Yellowstone," says study co-author Robert B. Smith, professor emeritus and research professor of geophysics and a coordinating scientist of the Yellowstone Volcano Observatory.


    The new University of Utah study has been accepted for publication in Geophysical Research Letters, which plans to publish it within the next few weeks.
    In a December 2009 study, Smith used seismic waves from earthquakes to make the most detailed seismic images yet of the "hotspot" plumbing that feeds the Yellowstone volcano. Seismic waves move faster through cold rock and slower through hot rock. Measurements of seismic-wave speeds were used to make a three-dimensional picture, quite like X-rays are combined to make a medical CT scan.
    The 2009 images showed the plume of hot and molten rock dips downward from Yellowstone at an angle of 60 degrees and extends 150 miles west-northwest to a point at least 410 miles under the Montana-Idaho border -- as far as seismic imaging could "see."
    In the new study, images of the Yellowstone plume's electrical conductivity -- generated by molten silicate rocks and hot briny water mixed in partly molten rock -- shows the conductive part of the plume dipping more gently, at an angle of perhaps 40 degrees to the west, and extending perhaps 400 miles from east to west. The geoelectric image can "see" only 200 miles deep.

    Two Views of the Yellowstone Volcanic Plume
    Smith says the geoelectric and seismic images of the Yellowstone plume look somewhat different because "we are imaging slightly different things." Seismic images highlight materials such as molten or partly molten rock that slow seismic waves, while the geoelectric image is sensitive to briny fluids that conduct electricity.
    "It [the plume] is very conductive compared with the rock around it," Zhdanov says. "It's close to seawater in conductivity."


    The lesser tilt of the geoelectric plume image raises the possibility that the seismically imaged plume, shaped somewhat like a tilted tornado, may be enveloped by a broader, underground sheath of partly molten rock and liquids, Zhdanov and Smith say.
    "It's a bigger size" in the geoelectric picture, says Smith. "We can infer there are more fluids" than shown by seismic images.
    Despite differences, he says, "this body that conducts electricity is in about the same location with similar geometry as the seismically imaged Yellowstone plume."
    Zhdanov says that last year, other researchers presented preliminary findings at a meeting comparing electrical and seismic features under the Yellowstone area, but only to shallow depths and over a smaller area.
    The study was conducted by Zhdanov, Smith, two members of Zhdanov's lab -- research geophysicist Alexander Gribenko and geophysics Ph.D. student Marie Green -- and computer scientist Martin Cuma of the University of Utah's Center for High Performance Computing. Funding came from the National Science Foundation (NSF) and the Consortium for Electromagnetic Modeling and Inversion, which Zhdanov heads.
    The Yellowstone Hotspot at a Glance
    The new study says nothing about the chances of another cataclysmic caldera (giant crater) eruption at Yellowstone, which has produced three such catastrophes in the past 2 million years.
    Almost 17 million years ago, the plume of hot and partly molten rock known as the Yellowstone hotspot first erupted near what is now the Oregon-Idaho-Nevada border. As North America drifted slowly southwest over the hotspot, there were more than 140 gargantuan caldera eruptions -- the largest kind of eruption known on Earth -- along a northeast-trending path that is now Idaho's Snake River Plain.
    The hotspot finally reached Yellowstone about 2 million years ago, yielding three huge caldera eruptions about 2 million, 1.3 million and 642,000 years ago. Two of the eruptions blanketed half of North America with volcanic ash, producing 2,500 times and 1,000 times more ash, respectively, than the 1980 eruption of Mount St. Helens in Washington state. Smaller eruptions occurred at Yellowstone in between the big blasts and as recently as 70,000 years ago.
    Seismic and ground-deformation studies previously showed the top of the rising volcanic plume flattens out like a 300-mile-wide pancake 50 miles beneath Yellowstone. There, giant blobs of hot and partly molten rock break off the top of the plume and slowly rise to feed the magma chamber -- a spongy, banana-shaped body of molten and partly molten rock located about 4 miles to 10 miles beneath the ground at Yellowstone.

    Computing a Geoelectrical Image of Yellowstone's Hotspot Plume

    Zhdanov and colleagues used data collected by EarthScope, an NSF-funded effort to collect seismic, magnetotelluric and geodetic (ground deformation) data to study the structure and evolution of North America. Using the data to image the Yellowstone plume was a computing challenge because so much data was involved.


    Inversion is a formal mathematical method used to "extract information about the deep geological structures of Earth from the magnetic and electrical fields recorded on the ground surface," Zhdanov says. Inversion also is used to convert measurements of seismic waves at the surface into underground images.
    Magnetotelluric measurements record very low frequencies of electromagnetic radiation -- about 0.0001 to 0.0664 Hertz -- far below the frequencies of radio or TV signals or even electric power lines. This low-frequency, long-wavelength electromagnetic field penetrates a couple hundred miles into Earth. By comparison, TV and radio waves penetrate only a fraction of an inch.


    The EarthScope data were collected by 115 stations in Wyoming, Montana and Idaho -- the three states straddled by Yellowstone National Park. The stations, which include electric and magnetic field sensors, are operated by Oregon State University for the Incorporated Research Institutions for Seismology, a consortium of universities.


    In a supercomputer, a simulation predicts expected electric and magnetic measurements at the surface based on known underground structures. That allows the real surface measurements to be "inverted" to make an image of underground structure.


    Zhdanov says it took about 18 hours of supercomputer time to do all the calculations needed to produce the geoelectric plume picture. The supercomputer was the Ember cluster at the University of Utah's Center for High Performance Computing, says Cuma, the computer scientist.
    Ember has 260 nodes, each with 12 CPU (central processing unit) cores, compared with two to four cores commonly found on personal computer, Cuma says. Of the 260 nodes, 64 were used for the Yellowstone study, which he adds is "roughly equivalent to 200 common PCs."


    To create the geoelectric image of Yellowstone's plume required 2 million pixels, or picture elements.
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Event: Volcano Activity
    Location: Philippines Province of Batangas (Luzon) Taal Volcano Number of Evacuated: 1373 person(s)

    Situation:

    The government assured today that contingency measures are in place to immediately evacuate the remaining 1,000 people living near the restive Taal volcano. National Disaster Risk Reduction and Management Council (NDRRMC) Executive Director Benito Ramos said that all the 44-member agencies of the NDRRMC are on standby. "The evacuation centers are ready. The Armed Forces of the Philippines, the Philippine National Police and the Philippine Coast Guard are there, ready," Ramos said in a press briefing. He said most of the 5,000 people living near the Taal volcano have evacuated after learning that the Philippine Institute of Volcanology and Seismology (Phivolcs) raised the alert level to 2. Ramos said the remaining people near the volcano include caretakers of fish cages and poultry farms. Phivolcs said that Taal volcano's seismic network recorded six volcanic earthquakes during the past 24 hours.
     
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    มีการสั่นไหวของภูเขาไฟ Taal 19 ครั้งใน 24 ชั่วโมง

    Event: Volcano Activity
    Location: Philippines Province of Batangas (Luzon) Taal Volcano Number of Evacuated: 1373 person(s)


    Situation:
    Restive Taal Volcano in Batangas showed heightened activity anew on Saturday with at least 19 volcanic quakes recorded within 24 hours, state volcanologists said. In its Saturday update, the Philippine Institute of Volcanology and Seismology (Phivolcs) also recorded four quakes in Bulusan Volcano and one in Mayon Volcano. “Taal Volcano’s seismic network recorded 19 volcanic earthquakes during the past 24 hours. One of these events, which occurred at 12:23 midnight, was felt at Intensity II at Brgy. Calauit on the southeastern part of the Volcano Island. Another event which occurred at 4:31 AM today was felt at Intensity III in Brgy. Pira-piraso at the northeastern part of Volcano Island accompanied by rumbling sounds," Phivolcs said. Also, it noted the temperature at the Main Crater Lake increased from 30.5 to 31.5 degrees Celsius. Phivolcs warned that Alert Level 2 remains over Taal Volcano, with magma noted near the surface. The agency maintained that the Main Crater, Daang Kastila Trail, and Mt. Tabaro are still strictly off-limits to the public because sudden hazardous steam-driven explosions may occur and high concentrations of toxic gases may be present. “Breathing air with high concentration of gases can be lethal to humans, animals and even cause damage to vegetation," it said. Also, Phivolcs reminded the public the entire Volcano Island is a Permanent Danger Zone (PDZ), and permanent settlement in the island is strictly not recommended. However, over a thousand households continue to defy authorities by continuing to live there, with only a few deciding the evacuate to the mainland.
     
  4. Aqua-ma-rine

    Aqua-ma-rine เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2008
    โพสต์:
    820
    ค่าพลัง:
    +1,242
    ถ้าสถานการณ์รอบข้างไม่รุมเร้าเข้าข่ายวิกฤติ ภูเขาไฟที่แอ๊บมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ของบ้านเราก็คงไม่ปะทุมั้งนะ เพราะเค้าบอกว่ามันดับหมดแล้วหนิ่


    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ภัยภูเขาไฟ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=middle align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=middle align=left>22 เมษายน 2554 </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; HEIGHT: 35px; OVERFLOW: hidden; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9540000049456&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=12 vAlign=bottom align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160 align=center><TABLE border=0 cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=center>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=center>ภูเขาไฟในเอกวาดอร์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=center>ภูเขาไฟ Soufrière บนเกาะเซ็นต์วินเซ็นต์ ก่อนระเบิด</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=center>ลาวาร้อนที่ไหลออกจากภูเขาไฟ Kilauea บนเกาะฮาวาย</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=center>ภาพการระเบิดของภูเขาไฟ Krakatoa เมื่อปี 1883</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=center>สภาพบ้านเรือนในบริเวณที่ภูเขาไฟระเบิด</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=center>ฝุ่นภูเขาไฟกับสภาพต้นไม้บริเวณรอบภูเขาไฟ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=middle width=165 align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=/images/linedot_vert3.gif width=4>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=7 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>มนุษย์สนใจและสะพรึงกลัวภูเขาไฟมานานแล้ว จากการได้เห็นการระเบิดที่รุนแรง เห็นลาวาร้อนที่ไหลทำลายชีวิตและทรัพย์สินของคนจำนวนมาก มนุษย์โบราณจึงมีตำนานเกี่ยวกับสาเหตุการระเบิดของภูเขาไฟมากมาย

    เช่น คนกรีกโบราณเชื่อว่าอาณาจักร Atlantis ล่มสลายเพราะภูเขาไฟบนเกาะระเบิด และการที่ภูเขาไฟ Etna บนเกาะ Sicily พ่นไฟนั้นเพราะ Hephaistos เทพแห่งไฟ ผู้มีนิวาสสถานอยู่ใต้ภูเขาไฟ ประดิษฐ์อาวุธโดยการตีเหล็กจนไฟปะทุ

    คนโรมันโบราณเชื่อว่าเวลา Vulcan เทพเจ้าแห่งไฟ เขี่ยไฟในเตาเผาใต้ภูเขาไฟ ควันและไฟจะถูกพ่นออกมา ชนแอซเทกในเม็กซิโกและนิการากัวเชื่อว่าในภูเขาไฟทุกลูกมีเทพเจ้าสถิตอยู่

    ดังนั้น จึงนิยมนำหญิงสาวสวยไปถวายให้เทพเจ้าภูเขาไฟโปรดปราน ส่วนชาวฮาวายเชื่อว่า ในภูเขาไฟ Kilauea มีเทพธิดาชื่อ Pelé ประทับอยู่ และเวลานางพิโรธ นางจะบันดาลให้ภูเขาไฟระเบิด พ่นลาวาไหลฆ่าคนที่พูดถึงนางในแง่ร้าย

    แต่ใครที่นับถือและสรรเสริญนาง ลาวาจะไหลเลี่ยงบ้านของเขา ชาวฮาวายบางคนเชื่อเทพธิดาภูเขาไฟ Pelé มาก จนถึงกับอ้างว่า ก่อนภูเขาไฟจะระเบิดเล็กน้อย เทพธิดา Pelé จะปรากฏตัวในร่างของหญิงชราทุกครั้งไป

    ทุกวันนี้ มนุษย์มีความรู้และความเข้าใจภูเขาไฟดีขึ้นมาก เพราะนักวิทยาศาสตร์ใช้หลักการทางฟิสิกส์และเคมี ศึกษาภูเขาไฟอย่างละเอียด ต่อเนื่อง และใกล้ชิด แต่ภูเขาไฟมิได้ระเบิดบ่อย

    ดังนั้น การจะรู้ธรรมชาติของภูเขาไฟแต่ละลูกอย่างสมบูรณ์ จึงจำเป็นต้องศึกษาชีวิตของมันตั้งแต่ในอดีต จนกระทั่งถึงปัจจุบันและอนาคต

    โลกมีภูเขาไฟนับ 1,300 ลูก โดยแยกเป็น 700 ลูกที่ดับแล้ว และอีก 600 ลูกที่ยังมีชีวิตอยู่ แต่ไม่มีภูเขาไฟใดมีชื่อเสียงมากเท่าภูเขาไฟเวซูเวียส (Vesuvius) ซึ่งเคยระเบิดอย่างรุนแรงเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ปี 622 ดังที่ Pliny ผู้เยาว์ได้บันทึกไว้ว่า

    บริเวณโดยรอบภูเขาไฟลูกนี้เป็นป่าที่มีต้นไม้ปกคลุมหนาแน่น และก่อนภูเขาไฟจะระเบิด 7 ปี Spartacus กับเหล่า gladiator ได้เคยมาพักผ่อนในพื้นที่แถบนี้ ในคืนเกิดเหตุขณะที่กำลังยืนอยู่ที่ชายฝั่งของเมือง Misernum ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับเมืองเนเปิลส์ที่มีภูเขาไฟเวซูเวียสเด่นเป็นสง่าอยู่เบื้องหลัง

    เขาได้เห็นกลุ่มควันหนาทึบปรากฏเหนือยอดเขา และทะเลควันได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว จนทำให้บริเวณนั้นมืดสลัว จากนั้นได้ยินเสียงภูเขาไฟระเบิดพ่นหินเหลวและเถ้าถ่านเป็นลำสูงขึ้นไปในท้องฟ้า

    ภายในเวลาเพียง 2 ชั่วโมง ทะเลควันและทะเลลาวาได้ไหลพุ่งกลบบ้านและกำแพงเมือง ฆ่าผู้คนทั้งหมดในเมืองปอมเปอี (Pompeii) กับ Herculaneum ทั้งเป็น

    ถึงกระนั้น ภูเขาไฟก็ยังพ่นเถ้าถ่านออกมาตลอดเวลา จนฝุ่นและหินภูเขาไฟถมทับหลังคาของทุกบ้านเรือนอย่างสมบูรณ์

    ตลอดระยะเวลาร่วม 1,000 ปีที่นครปอมเปอีถูกลบหายไปจากแผนที่โลก ไม่มีใครรู้ว่าวินาทีสุดท้ายของชีวิตผู้คนในนครนี้เป็นเช่นไร จนกระทั่ง J. Alcubiere ได้ขุดพบซากปรักหักพังและศพของชาวเมืองเมื่อ 250 ปีก่อนนี้

    การวิเคราะห์หลักฐานทำให้เรารู้ว่า ชาวเมืองตายเพราะอากาศเป็นพิษ และบางคนตายเพราะถูกฝุ่นภูเขาไฟที่หนักถึง 500 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรถล่มทับจนขาดอากาศหายใจ

    ส่วนการระเบิดของภูเขาไฟ Tambora ซึ่งสูง 4,300 เมตร และตั้งอยู่บนเกาะซุมบาวาที่อยู่ห่างจากเกาะชวาไปทางทิศตะวันออก 400 กิโลเมตร เมื่อวันที่ 10 เมษายน ปี 2358 นั้น เป็นการระเบิดของภูเขาไฟที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์

    เพราะผู้คนที่อยู่ไกลจากตำแหน่งระเบิด 1,600 กิโลเมตร สามารถได้ยินเสียงระเบิด พลังระเบิดทำให้ต้นไม้บริเวณภูเขาไฟล้มระเนระนาด และฝุ่นภูเขาไฟได้ลอยปกคลุมท้องฟ้าจนผู้คนไม่เห็นแสงอาทิตย์เป็นเวลา 3 วัน

    หลังจากการระเบิด คณะนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้เข้าไปสำรวจพื้นที่และพบว่า ความสูงของยอดภูเขาไฟได้ลดลง 1,200 เมตร และภูเขาไฟมีปากปล่องที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางยาวถึง 6 กิโลเมตร ลึก 1 กิโลเมตร

    อานุภาพการระเบิดนี้ รุนแรงเทียบเท่ากับระเบิดปรมาณู 6 หมื่นลูก คนอินโดนีเซียนับหมื่นคนใน Bali, Lombok และซุมบาวาเสียชีวิต ในอังกฤษเองก็พบว่าฤดูร้อนปีนั้นมีฝนตกมากผิดปรกติ เป็นต้น

    กรากะตัว (Krakatoa) เป็นภูเขาไฟตั้งอยู่บนเกาะกรากะตัวในช่องแคบซุนดาระหว่างเกาะชวากับสุมาตราของอินโดนีเซีย ซึ่งได้ระเบิดเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม ปี 2426 แม้แต่ชาวออสเตรเลียที่อยู่ห่างไกลก็ยังได้ยินเสียงระเบิด W.J. Watson

    ผู้อยู่ห่างจากจุดเกิดเหตุ 15 กิโลเมตร ได้รายงานการเห็นลำฝุ่นพุ่งขึ้นสูง 70 กิโลเมตร และเห็นคลื่นสึนามิสูง 45 เมตร พุ่งเข้าถล่มเมืองบนเกาะต่างๆ จนราบพณาสูร การระเบิดครั้งนั้นได้ทำให้ผู้คน 35,500 ชีวิต ใน 165 หมู่บ้านล้มตาย

    นอกจากนี้ กระแสคลื่นยังได้พัดพาแพจากเกาะกรากะตัวไปไกลถึงเกาะ Zanzibar ในแอฟริกาตะวันออกที่อยู่ห่างไกลออกไปถึง 4,800 กิโลเมตรด้วย

    ในการอธิบายการเกิดภูเขาไฟ นักธรณีวิทยาอธิบายว่า เพราะเปลือกโลกมีสองส่วน คือส่วนที่เป็นพื้นทวีปกับส่วนที่อยู่ใต้มหาสมุทร เปลือกโลกหนาไม่สม่ำเสมอ

    เช่น หนาตั้งแต่ 8-40 กิโลเมตร บริเวณใต้เปลือกโลกคือส่วนที่เรียกว่าเปลือกโลกชั้นใน และลึกลงไปอีกคือส่วนที่เป็นแก่นโลก แม้องค์ประกอบหลักของเปลือกโลกชั้นในจะเป็นหิน แต่อุณหภูมิใต้โลกสูงมาก

    ดังนั้น หินแข็งจึงละลายเป็นหินเหลวที่หนืดและไหลช้า คล้ายน้ำเชื่อม ส่วนแก่นโลกมีอุณหภูมิสูงยิ่งขึ้นไปอีก ความร้อนจึงถูกส่งกระทำต่อเปลือกโลกชั้นในได้ตลอดเวลา

    เช่นเดียวกับ เตาที่ให้ความร้อนแก่น้ำ จะทำให้น้ำที่ก้นกาไหลวนพาความร้อนไปทั่วกา ด้วยกระบวนการเดียวกันนี้ เมื่อหินเหลวจากเปลือกชั้นในไหลผ่านรอยแยกของเปลือกโลก เราจะเห็นการระเบิดของภูเขาไฟที่พ่นหินเหลวร้อน (ลาวา) ก๊าซ ฝุ่น ดินและหินต่างๆ ออกมา

    ดังนั้น เราจึงเห็นได้ว่าการระเบิดของภูเขาไฟมีบทบาทในการกำหนดลักษณะของภูมิประเทศ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของดินฟ้าอากาศและวิถีชีวิตของผู้คนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณภูเขาไฟ

    สถิติ ณ วันนี้แสดงให้เห็นว่าประชากรโลกราว 600 ล้านคนอาศัยอยู่ใกล้ภูเขาไฟ เช่น ชาวเมืองเนเปิลส์อาศัยอยู่ใกล้ภูเขาไฟเวซูเวียสในอิตาลี

    ส่วนภูเขาไฟ Rainier นั้นตั้งอยู่ใกล้เมือง Seattle-Tacoma ในสหรัฐอเมริกา และภูเขาไฟ Popocatepetl ตั้งอยู่ใกล้เมืองเม็กซิโกซิตีที่มีประชากรมากถึง 15 ล้านคน เป็นต้น

    ในการจัดชนิดของภูเขาไฟ นักธรณีวิทยาแบ่งภูเขาไฟออกเป็นสามชนิด คือ ภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นซึ่งเป็นพวกที่เคยระเบิดในช่วงเวลา 500 ปีที่ผ่านมา

    ส่วนพวกที่เคยระเบิดในช่วง 500-5,000 ปีก่อนนี้ ก็คือภูเขาไฟที่กำลังหลับ และถ้าการระเบิดครั้งสุดท้ายเกิดเมื่อกว่า 5,000 ปี ภูเขาไฟลูกนั้นก็ถือว่าดับแล้ว

    ในการวิจัยภูเขาไฟ นักภูเขาไฟวิทยามุ่งหมายจะศึกษาหลายเรื่อง เช่น โครงสร้างเชิงธรณีวิทยา องค์ประกอบของลาวาที่ไหลจากปล่อง ชนิดของก๊าซที่ถูกปลดปล่อยจากปล่อง รวมถึงปรากฏการณ์แผ่นดินไหว

    โดยใช้วิธีวัดความเข้มสนามแม่เหล็ก สนามโน้มถ่วง และวิเคราะห์ลักษณะการไหลของลาวาซึ่งก็ได้พบว่า ลาวาภูเขาไฟมักมีหิน silica, feldspar, biotite, augite, hornblende, quartz, olivine และ nepheline

    ซึ่งอุณหภูมิของลาวานั้นก็สูงตั้งแต่ 900-1,300 องศาเซลเซียส ความหนืดในการไหลของลาวาขึ้นกับองค์ประกอบ อุณหภูมิ และปริมาณฟองอากาศที่ลาวามี เช่นถ้าลาวามีก๊าซมาก มันจะไหลได้เร็วและไกลด้วยอัตราความเร็วตั้งแต่ 1-10 เมตรต่อวินาที

    และอาจไปไกลถึง 45 กิโลเมตร เวลาภูเขาไฟระเบิดก๊าซที่เล็ดลอดคือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และไอน้ำ

    ข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์ในการทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจธรรมชาติที่แท้จริงของภูเขาไฟ เพื่อสามารถทำนายเวลาที่มันจะระเบิดครั้งต่อไป และความรุนแรงของการระเบิดครั้งนั้นๆ ได้ และก็พบว่ามันไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะรู้เวลาระเบิดของภูเขาไฟ

    ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์จึงต้องพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ขึ้นเพื่อใช้ศึกษาภูเขาไฟ เช่น นำระบบ Global Positioning System (GPS) และ Envisat ซึ่งใช้เรดาร์วัดปริมาณการขยายตัวของผิวดินภูเขาไฟได้ละเอียดถึงระดับมิลลิเมตร

    เพราะเวลาภูเขาไฟจะระเบิด ขนาดภูเขาไฟจะเปลี่ยนแปลง หรือใช้อุปกรณ์ที่สามารถตรวจจับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ในบรรยากาศเหนือภูเขาไฟได้ เพราะก่อนภูเขาไฟจะระเบิดจะมีก๊าซชนิดนี้เล็ดลอดออกมามาก หรือใช้ดาวเทียม Landsat-7

    และ Terra ที่มีอุปกรณ์ไวรังสีอินฟราเรด วัดอุณหภูมิบริเวณส่วนต่างๆ ของภูเขาไฟขณะใกล้ระเบิด เพราะความร้อนจะถูกปล่อยออกมามาก แต่ดาวเทียมก็มีข้อจำกัดที่ว่า มันโคจรเหนือภูเขาไฟลูกหนึ่งๆ ได้เพียงครั้งเดียวในทุก 15 วัน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่นานเกินไปสำหรับความละเอียดด้านเวลา

    ตามปรกติ เวลานักวิทยาศาสตร์ศึกษาเหตุการณ์ภายในภูเขาไฟ เขามักวางอุปกรณ์สำรวจที่ผิวภูเขาไฟ เพื่อดักฟังเสียงคำรามและการสั่นสะเทือนเบื้องล่างทำนองเดียวกับที่แพทย์วางหูฟัง (stethoscope) ที่หน้าอกคนไข้เพื่อฟังเสียงเต้นของหัวใจ

    แต่ในฤดูร้อนของปี 2548 คณะนักวิทยาศาสตร์นานาชาติกลุ่มหนึ่งได้ศึกษาภูเขาไฟลึกยิ่งกว่านั้น คือได้เจาะภูเขาไฟลงไปเพื่อดูสภาพการเคลื่อนที่ของหินเหลว โดยหวังว่าข้อมูลที่ได้จะช่วยให้รู้เวลาและความรุนแรงของการระเบิดครั้งต่อไปได้

    ภูเขาไฟ Unzen ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เมือง Shimabara บนเกาะคิวชูในญี่ปุ่น คือภูเขาไฟที่คณะนักวิทยาศาสตร์โดยการนำของ S. Nakata แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียวเจาะ

    เพราะภูเขาไฟนี้เมื่อ 216 ปีก่อน เคยระเบิดทำให้ชาวบ้าน 15,000 คนเสียชีวิต ซึ่งนับว่ามากเป็นอันดับ 5 ของสถิติการสูญเสียชีวิตด้วยภัยภูเขาไฟระเบิดในญี่ปุ่น

    ข้อมูลที่ได้แสดงว่า อุปกรณ์ที่ใช้เจาะภูเขาไฟต้องสามารถทนทานอุณหภูมิที่สูงถึง 600 องศาเซลเซียสได้ และอุปกรณ์ต้องมีระบบทำความเย็นช่วยระบายความร้อน ตลอดเวลา นอกจากนี้อุปกรณ์เจาะจะต้องมีกล้องถ่ายภาพ และเทอร์โมมิเตอร์สำหรับวัดอุณหภูมิของหินเหลวและดินแข็งด้วย

    Nakata คาดหวังจะเห็นการเปลี่ยนแปลงของหินเหลวขณะไหลขึ้น ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้รู้เวลาที่ภูเขาไฟจะระเบิดและทิศการไหลของลาวาได้ ข้อสรุปที่ได้จะช่วยให้สามารถปกป้องชีวิต และทรัพย์สินของผู้คนที่อาศัยในถิ่นภูเขาไฟได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    อย่างไรก็ตาม การศึกษาวิธีนี้เป็นการศึกษาที่ระยะใกล้เพราะนักวิทยาศาสตร์ต้องสูดดมก๊าซภูเขาไฟตลอดเวลา ดังนั้นสุขภาพและชีวิตของนักสำรวจจึงเป็นเรื่องเสี่ยง แต่นั่นเป็นวิธีเดียวที่เขาจะได้ข้อมูลปฐมภูมิมาช่วยให้อพยพผู้คนได้ทันเวลา

    ก๊าซที่เล็ดลอดเวลาหินเหลวไหลขึ้นตามปล่องภูเขาไฟก็น่าสนใจ เพราะมีการพบว่า เมื่อหินเหลวไหลถึงพื้นผิวโลกความดันภายในหินเหลวจะลด มีผลทำให้ก๊าซภายในหินเหลวถูกปล่อยออกมา โดยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ละลายในหินเหลวได้ดีจะออกมาก่อน

    ส่วนก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ซึ่งละลายได้น้อยกว่า จะออกมาภายหลัง ในการหาปริมาณของ CO2 กับ SO2 นั้น นักวิทยาศาสตร์ใช้วิธีวัดสมบัติการดูดกลืนรังสีอินฟราเรด และอัลตราไวโอเลตของก๊าซทั้งสอง

    ดังนั้น ถ้านักวิทยาศาสตร์เห็นปริมาณ SO2 เพิ่มขึ้นตลอดเวลา นั่นแสดงว่าหินเหลวกำลังไหลขึ้นและภูเขาไฟกำลังจะระเบิด

    นอกจากภูเขาไฟจะฆ่าคนด้วยการระเบิดแล้ว มันยังพ่นควันพิษให้ผู้คนได้สูดดมจนสุขภาพเสียอีกด้วย P. Baxter แห่งมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ในประเทศอังกฤษ พบว่าการสูดดมควันอย่างต่อเนื่องจะทำให้เป็นโรคปอดและโรคหอบหืด

    โครงกระดูกของผู้เสียชีวิตที่ Herculaneum ทำให้ Baxter พบว่า ลาวาที่ฆ่าคนเหล่านี้มีอุณหภูมิสูงประมาณ 500 องศาเซลเซียส และผู้เคราะห์ร้ายเสียชีวิตเพราะถูกเผาทั้งเป็น หาใช่เพราะขาดอากาศหายใจ ควันที่มีผลึก silica

    ทำให้เขารู้อีกว่า ถ้าสูดดมผลึกชนิดนี้มากจะทำให้ปอดเป็นแผล (silicosis) และมะเร็งปอดในที่สุด

    เวลาภูเขาไฟระเบิด มิเพียงแต่คนที่อาศัยอยู่บนพื้นที่ใกล้เคียงเท่านั้นที่จะเป็นอันตราย เมื่อภูเขาไฟ Redoubt ในอะแลสการะเบิดในปี 2532 ฝุ่นและเถ้าถ่านที่ลอยในอากาศได้ทำให้เครื่องยนต์เจ็ตของเครื่องบินโบอิง 747 ทั้งสี่เครื่องขัดข้อง

    จนเครื่องบินลดระดับเพดานบินลงอย่างกะทันหันถึง 3,000 เมตรใน 1 นาที โชคดีที่กัปตันมีสติ จึงสามารถเดินเครื่องได้อีกก่อนที่เครื่องบินจะตก

    อุบัติเหตุนี้ทำให้องค์การบินนานาชาติสนใจติดตามการระเบิดและทิศการลอยของฝุ่นภูเขาไฟ เพื่อรายงานให้ศูนย์ควบคุมการบินนานาชาติทราบ เครื่องบินจะบินได้อย่างปลอดภัย

    ภัยภูเขาไฟเป็นภัยที่ต้องป้องกันด้วยทุนสูง ดังนั้นจึงไม่แปลกอะไรที่คนแอฟริกาไม่ให้ความสนใจเรื่องนี้ ทั้งที่แอฟริกามีภูเขาไฟประมาณ 130 ลูก

    ทั้งนี้เพราะ คนแถบนั้นยากจนและทุพภิกขภัยคือปัญหาชีวิตที่ยิ่งใหญ่กว่ามาก ทุกปีจะมีคนอดอาหารตายประมาณ 3.5 ล้านคน ในขณะที่จำนวนคนที่เสียชีวิตเพราะภูเขาไฟระเบิดมีไม่ถึง 1,000 คน

    ดังเช่น เมื่อภูเขาไฟ Nyiragongo ในคองโกระเบิดเมื่อปี 2548 มีคนเสียชีวิต 150 คน แต่ในอีก 15 ปี เมื่อภูเขาไฟ Cameroon ระเบิด ผู้คน 4 แสนคนอาจล้มตายถ้าไม่ได้รับการเตือนล่วงหน้านานๆ

    ส่วนในประเทศที่ร่ำรวยและพัฒนา เช่น อิตาลี ที่ภูเขาไฟเวซูเวียสมีหอสังเกตการณ์เตือนภัยชื่อ Vesuvius Observatory ทำหน้าที่เฝ้าดูตลอด 24 ชั่วโมง หรือที่ฮาวายก็มี Hawaiian Volcano Observatory (HVO) ทำหน้าที่สังเกตการณ์ภูเขาไฟ Kilauea ตลอดเวลาเช่นกัน

    หอสังเกตการณ์ (HVO) นี้ทันสมัยที่สุดในโลก เพราะมีคอมพิวเตอร์ที่สามารถแสดงภาพภายในของภูเขาไฟได้สามมิติ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่มีชื่อว่า Geowarn ทำหน้าที่แสดงอุณหภูมิหินเหลว ปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ในส่วนต่างๆ ของภูเขาไฟ เพื่อให้เห็นเหตุการณ์ที่กำลังเกิดอยู่ภายในภูเขาไฟ

    และมีอุปกรณ์ tiltmeter สำหรับวัดการบิดเอียงของผิวภูเขาไฟ รวมทั้งมีการใช้ระบบ GPS และดาวเทียมเพื่อวัดการขยายตัวของภูเขาไฟที่ละเอียดถึงระดับ 1-2 มิลลิเมตร

    นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ก็ยังใช้ spectrometer วัดปริมาณก๊าซ SO2 ที่เล็ดลอดออกมาทุกๆ 2 นาที และใช้ seismometer วัดรูปแบบของคลื่นแผ่นดินไหวขณะหินเหลวเคลื่อนที่ใต้ภูเขาไฟด้วย

    เหล่านี้คือเทคโนโลยีที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการศึกษาภูเขาไฟที่เป็นภัย เพื่อในอนาคตภูเขาไฟจะไม่สามารถฆ่าคนได้มากเท่าอดีต แต่เราก็ต้องยอมรับว่าทุกครั้งที่ภูเขาไฟระเบิดทำลายภูมิประเทศ เศรษฐกิจของพื้นที่นั้นไม่มีใครช่วยได้


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    มีการไหว 4 หนตรงภูเขาไฟบูลูซาน ฟิลิปปินส์

    <table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top" width="100%">2011-04-24 13:07:37 - Volcano Activity - Philippines

    </td> </tr> <tr> <td colspan="2" width="100%">
    </td> </tr> <tr> <td valign="top"> <table width="100%" align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr> <td width="25%">EDIS Code:</td> <td>VA-20110424-30453-PHL</td> </tr> <tr> <td>Date&Time:</td> <td>2011-04-24 13:07:37 [UTC]</td> </tr> <tr> <td>Continent:</td> <td>Pacific Ocean - West</td> </tr> <tr> <td>Country:</td> <td>Philippines</td> </tr> <tr> <td>State/Prov.:</td> <td>Province of Sorsogon, </td> </tr> <tr> <td>Location:</td> <td>Bulusan volcano, </td> </tr> <tr> <td>City:</td> <td>
    </td> </tr> <tr> <td colspan="2"> Not confirmed information!
    </td> </tr> </tbody></table> </td> <td width="440" align="right"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td colspan="2" valign="top"> Description: </td> </tr><tr> <td colspan="2" valign="top"> The seismic network around Bulusan volcano recorded four volcanic earthquakes during the past 24 hours. The Philippine Institute of Volcanology and Seismology said no other significant volcanic activity was observed since the February 21, 2011 ash explosion. No lahar event was also observed. Bulusan Volcano’s status remains at Alert Level 1, which means that the source of activity is hydrothermal and shallow. Entry to the four-kilometer radius Permanent Danger Zone is strictly prohibited, since the area is at risk to sudden steam and ash explosions. The residents in the northwest and southwest sectors of the volcano are reminded to take precautions against ashfalls. Civil aviation authorities are also urged to warn pilots to avoid flying close to the volcano’s summit as ejected ash and volcanic fragments from sudden explosions may be hazardous to aircraft.
    </td></tr></tbody></table>
     
  6. kikinlala

    kikinlala เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    4,939
    ค่าพลัง:
    +8,843
    ไม่ทราบว่าโดยปกติแล้ว จะมีแผ่นดินไหวเรื่อยๆ ทั่วๆโลก แบบปัจจุบันนี้ไหมคะ คุณฟอล์ค?
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เป็นปกติเลยจ้า แต่ช่วงนี้อาจแรงและถี่มากกว่าก่อนๆ :cool:
     
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ภูเขาไฟ Taal ในฟิลิปปินส์อุณหภูมิน้ำที่ตาน้ำตรงภูเขาไฟสูงขึ้น=ภูเขาไกใกล้จะระเบิด

    Event: Volcano Activity
    Location: Philippines Province of Batangas (Luzon) Taal Volcano Number of Evacuated: 1373 person(s)


    Situation:
    The water temperature in the main crater of Taal volcano increased over the weekend, a sign that the volcano may be about to erupt. Volcanologists raised alert level 2 over Taal early this month. A bulletin released by the Philippine Institute of Volcanology and Seismology (Phivolcs) said the temperature of crater waters rose from 30.5 degrees Celsius to 31.5 degrees Celsius over the weekend. Clyde Yayong of the City Disaster Risk Reduction Management Council (DRRMC) in Tagaytay City said they are keeping close tabs on the volcano. Although Tagaytay City is quite far from the volcano, he said the city might have to take in evacuees from the volcano island in the event of an eruption. "The fluctuating water temperature means magma is also increasing," Yayong said. On Sunday, 14 volcanic earthquakes were also recorded by the seismic network of Phivolcs on Taal.

    The number of volcanic quakes reached an average of 15 a day, according to Vicente Tomazar, chief of the Disaster Risk Reduction Management Council in Calabarzon (Cavite, Laguna, Batangas, Rizal, Quezon). At around 6:35 a.m. Monday, a magnitude three earthquake jolted the volcano island, said Allan Loza, resident volcanologist at the Taal Observatory. Villagers in Calauit felt a loud rumbling sound and shaking of their houses because the quake’s depth or epicenter was shallow, Loza said. The quake lasted about 15 seconds but the shaking was felt for only 5 to 6 seconds. The main crater as well as the Daang Kastila trail and the Mt. Tabaro portions of the Taal Volcano island are off limits to the public. Out of the some 5,000 residents on the volcano island, some 260 families or 1,468 persons have evacuated. Some are staying at the second floor of the public market in San Nicolas town while others are in the homes of their relatives and friends in various surrounding towns, according to Ginette Segismundo, Batangas government information officer.
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ภูเขาไฟในชิลีเริ่มปะทุ

    <table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top" width="100%">2011-04-26 20:01:55 - Volcano Activity - Chile

    </td> </tr> <tr> <td colspan="2" width="100%">
    </td> </tr> <tr> <td valign="top"> <table width="100%" align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr> <td width="25%">EDIS Code:</td> <td>VA-20110426-30480-CHL</td> </tr> <tr> <td>Date&Time:</td> <td>2011-04-26 20:01:55 [UTC]</td> </tr> <tr> <td>Continent:</td> <td>South-America</td> </tr> <tr> <td>Country:</td> <td>Chile</td> </tr> <tr> <td>State/Prov.:</td> <td>Andes (Argentina-Chile), </td> </tr> <tr> <td>Location:</td> <td>Volcano Planchón-Peteroa, </td> </tr> <tr> <td>City:</td> <td>
    </td> </tr> <tr> <td colspan="2"> Not confirmed information!
    </td> </tr> </tbody></table> </td> <td width="440" align="right"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td colspan="2" valign="top"> Description: </td> </tr><tr> <td colspan="2" valign="top"> Eruptions reader Gitta noted a fairly impressive ash plume at Chile's Planchón-Peteroa - at least seen on the webcam. The plume isn't especially tall (see below), at least not from the vantage point of the webcam, but it is rather dark and grey in complexion, suggesting a lot of fractured rock or new magma in the plume itself. Planchón-Peteroa has been producing intermittent plumes for the past year or so, some as high as 4.6 km / 15,000 feet, but nothing in the way of a large eruption, which the volcano is definitely capable (see the VEI 4 eruption of 1762). The activity has been fairly low as of late, with no SERNAGEOMIN update (spanish) on the volcano since last October. This current plume is likely just more of the same from Planchón-Peteroa, but at least today, the viewing is very nice to see the activity at the remote Chilean volcano. [Photo uploaded]
    </td></tr></tbody></table>
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ภูเขาไฟใน เอควาดอร์ ปะทุ

    <table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top" width="100%">2011-04-27 03:14:27 - Volcano Activity - Ecuador

    </td> </tr> <tr> <td colspan="2" width="100%">!!! WARNING !!!
    </td> </tr> <tr> <td valign="top"> <table width="100%" align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr> <td width="25%">EDIS Code:</td> <td>VA-20110427-30486-ECU</td> </tr> <tr> <td>Date&Time:</td> <td>2011-04-27 03:14:27 [UTC]</td> </tr> <tr> <td>Continent:</td> <td>South-America</td> </tr> <tr> <td>Country:</td> <td>Ecuador</td> </tr> <tr> <td>State/Prov.:</td> <td>Cordillera Oriental, </td> </tr> <tr> <td>Location:</td> <td>Tungurahua volcano, </td> </tr> <tr> <td>City:</td> <td>
    </td> </tr> <tr> <td colspan="2"> Not confirmed information!
    </td> </tr> </tbody></table> </td> <td width="440" align="right"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td colspan="2" valign="top"> Description: </td> </tr><tr> <td colspan="2" valign="top"> Authorities in Ecuador closed schools and evacuated residents in areas near a volcano Tuesday after ashes spewing from its crater fell on homes and farms, state media reported. Ashes from Tungurahua -- which means "throat of fire" in the native Quechua language -- rose more than 7 kilometers (4 miles) into the air Tuesday, the government news agency said. Authorities issued an alert as monitors detected six eruptions, ranging from moderate to large, and a significant ash cloud Tuesday, state media said. "According to our observations, damages to crops, pastures and small effects to the health of people are already evident," the country's geophysics institute said. Officials first detected increased activity in the volcano April 20, with monitors observing regular small eruptions of ash and gas. The glacier-capped, 16,478-foot volcano has erupted periodically since 1999, when increased activity led to the temporary evacuation of the city of Banos at the foot of the volcano. Tungurahua erupted in December, sending ash and lava spewing nearly a mile into the sky. Major eruptions also occurred in August 2006 and February 2008, according to the government's emergency management agency. Before the recent activity, the last major eruption was between 1916 and 1918. Relatively minor activity continued until 1925, the Smithsonian Institution said on its volcano website. The volcano is 140 kilometers (86 miles) south of Quito, Ecuador's capital.
    </td></tr></tbody></table>
     
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ภูเขาไฟใน เอควาดอร์ ปะทุ (อเมริกาใต้)

    <table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top" width="100%">2011-04-27 03:14:27 - Volcano Activity - Ecuador

    </td> </tr> <tr> <td colspan="2" width="100%">!!! WARNING !!!
    </td> </tr> <tr> <td valign="top"> <table width="100%" align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr> <td width="25%">EDIS Code:</td> <td>VA-20110427-30486-ECU</td> </tr> <tr> <td>Date&Time:</td> <td>2011-04-27 03:14:27 [UTC]</td> </tr> <tr> <td>Continent:</td> <td>South-America</td> </tr> <tr> <td>Country:</td> <td>Ecuador</td> </tr> <tr> <td>State/Prov.:</td> <td>Cordillera Oriental, </td> </tr> <tr> <td>Location:</td> <td>Tungurahua volcano, </td> </tr> <tr> <td>City:</td> <td>
    </td> </tr> <tr> <td colspan="2"> Not confirmed information!
    </td> </tr> </tbody></table> </td> <td width="440" align="right"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td colspan="2" valign="top"> Description: </td> </tr><tr> <td colspan="2" valign="top"> Authorities in Ecuador closed schools and evacuated residents in areas near a volcano Tuesday after ashes spewing from its crater fell on homes and farms, state media reported. Ashes from Tungurahua -- which means "throat of fire" in the native Quechua language -- rose more than 7 kilometers (4 miles) into the air Tuesday, the government news agency said. Authorities issued an alert as monitors detected six eruptions, ranging from moderate to large, and a significant ash cloud Tuesday, state media said. "According to our observations, damages to crops, pastures and small effects to the health of people are already evident," the country's geophysics institute said. Officials first detected increased activity in the volcano April 20, with monitors observing regular small eruptions of ash and gas. The glacier-capped, 16,478-foot volcano has erupted periodically since 1999, when increased activity led to the temporary evacuation of the city of Banos at the foot of the volcano. Tungurahua erupted in December, sending ash and lava spewing nearly a mile into the sky. Major eruptions also occurred in August 2006 and February 2008, according to the government's emergency management agency. Before the recent activity, the last major eruption was between 1916 and 1918. Relatively minor activity continued until 1925, the Smithsonian Institution said on its volcano website. The volcano is 140 kilometers (86 miles) south of Quito, Ecuador's capital.
    </td></tr></tbody></table>
     
  12. aeker

    aeker สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    78
    ค่าพลัง:
    +5
    ขอบคุณสำหรับข่าวสารครับ
     
  13. hamu13

    hamu13 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +24
    ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ เมื่อวันที่ 29/4/2554มีที่ไหนระเบิดบ้างคะขอข้อมูลหน่อยค่ะ
     
  14. PeeTenT

    PeeTenT Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    95
    ค่าพลัง:
    +70
    อีกไม่ช้าครับ ผมรับประกันได้ว่าอีกไม่นานครับเกิดขึ้นแน่อน ตอนนี้เหมือนบ่มได้ที่แล้ว จะสุดแล้ว เพียงแต่ผู้มีบุญญานุภาพในประเทศเราท่านช่วยไว้ ไม่นานเกินรอ
     
  15. Aqua-ma-rine

    Aqua-ma-rine เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2008
    โพสต์:
    820
    ค่าพลัง:
    +1,242
    ระเบิดเวลาชื่อ เยลโล่สโตน



    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=1Vn6kxfD3Ek&feature=player_embedded"]http://www.youtube.com/watch?v=1Vn6kxfD3Ek&feature=player_embedded[/ame]




    [​IMG]



    ปัจจัยที่จะทำให้ yellow stone ระเบิดคือ

    อุณหภูมิน้ำทะเลที่เปลี่ยนไป

    แผ่นดินไหว

    แผ่นดินที่ยกตัวสูงขึ้น

    ขึ้นอยู่กับว่า จะมีปัจจัยอะไรมา "กระตุ้น" ให้เกิดการระเบิดขึ้น




    ปัจจัยหนึ่งที่สามารถกระตุ้นให้เกิดภูเขาไฟระเบิดได้ก็คือ แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ สำหรับที่อเมริกา รอยเลื่อนซานแอนเดรีย ใกล้เวลาเคลื่อนไหวอีกครั้งหนึ่งแล้ว

    จากการคำนวณ พบว่า อีกไม่เกิน "30 ปี" อาจจะเกิดขึ้น




    <!--MsgFile=14-->

    <CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#000000 vAlign=top rowSpan=2><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#000000 colSpan=2 align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>


    เมื่อหลายล้านปีก่อน Homo erectus คือเผ่าพันธุ์ที่ครองโลก



    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]




    ต่อมา ภูเขาไฟ Toba เกิดระเบิด เผ่ามนุษย์วานรเกือบทั้งหมด ได้สูญพันธุ์ เหลือแต่กลุ่ม Homo sapien ซึ่งกลายมาเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ยุคปัจจุบัน

    [​IMG]




    ทะเลสาบโทบา (Lake Toba) ณ เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นทะเลสาบที่เกิดในบริเวณปากปล่องภูเขาไฟ กล่าวได้ว่าเป็น Caldora ที่ใหญ่ที่สุดในโลก (largest volcanic lake in the world)

    เสนห์ของทะเลสาบโทบา อยู่ที่ความเป็นธรรมชาติที่ยังสะอาด อากาศสดชื่นบริสุทธิ์ ถูกรายล้อมด้วยสีเขียวชะอุ่มของพันธุ์ไม้ที่ขึ้นปกคลุม สร้างความรู้สึกได้ถึงความเป็นชนบทของวิถีชีวิตท้องถิ่น

    ความสวยงามของทะเลสาบสีฟ้าอมเขียวที่กลายร่างมาจากภูเขาไฟที่เคยน่าสะพรึงกลัวมาก่อน


    [​IMG]


    ภาพ : Lake Toba - view of the crater lake.



    Photographers A.M. & K.D.Hollitzer. Copyright 1996.


    ทะเลสาบโทบา อยู่ทางทิศใต้ของเมืองเมดาน (Medan) ซึ่งเป็นเมืองใหญ่ของสุมาตราเหนือ เป็นศูนย์กลางทางการค้าและท่าเรือที่สำคัญ ราว 160 กิโลเมตร ทะเลสาบแห่งนี้ มีเกาะขนาดใหญ่ ชื่อซาโมซีร์ (Samosir) อยู่ตรงกลางทะเลสาบ และมี Parapat เป็นเมืองท่องเที่ยวริมชายฝั่ง



    [​IMG]


    ภาพ : ที่ตั้ง ทะเลสาบโทบา (Lake Toba)


    ทะเลสาบโทบา เกิดจากการระเบิดแบบซูเปอร์ภูเขาไฟ (supervolcano)


    การระเบิดของซูเปอร์ภูเขาไฟ (supervolcano) นั้นแตกต่างจากการระเบิดของภูเขาไฟทั่วไป แน่นอนว่ามันรุนแรงมากกว่าแรงระเบิดของภูเขาไฟธรรมดาหลายร้อยเท่า พ่นเถ้าถ่าน และก๊าซพิษจำนวนมหาศาลขึ้นไปปกคลุมในชั้นบรรยากาศ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลกครั้งใหญ่



    ภูเขาไฟโดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นปล่องภูเขาไฟ การระเบิดจะเกิดจากการสะสมของหินละลาย (Magma)ใต้เปลือกโลก จำนวนมากและถูกแรงดันมหาศาลภายในโลกผลักดันให้ปะทุออกมาบนผิวโลก แต่สำหรับ Supervolcanoe นั้นมันซ่อนตัวอยู่ลึกใต้พื้นดินจึงทำให้ยากต่อการตรวจพบ แทนที่หินละลายเหล่านี้จะระเบิดออกมาที่ผิวโลก หินละลาย (Magma) เหล่านี้กลับสะสมกันก่อนเป็นเวลาหลายพันปีจนเกิดเป็นบ่อหินละลายขนาดยักษ์ (Magma chamber) ทับถมกันจนหนาหลายสิบกิโลเมตรอยู่ลึกลงไปใต้พื้นโลก

    ระหว่างนั้นมันจะดูดซับเอาก๊าซต่างๆ เช่น ก๊าซซัลเฟอร์ไดอ๊อกไซด์ และ คารบอนไดอ๊อกไซด์ไว้ เมื่อสะสมนานนับพันปีก็จะเกิดแรงดันมหาศาล และในที่สุดก็เพียงพอที่จะถึงกาลปะทุอออกมาเหนือผิวโลกอย่างรุนแรง เถ้าถ่านภูเขาไฟจากการระเบิดจะขึ้นไปปกคลุมบรรยากาศ ก๊าซจำพวกซัลเฟอร์ไดออกไซด์จะสะท้อนแสงอาทิตย์ไม่ให้ตกลงมาสู่พื้นโลกได้ เต็มที่ ทำให้อุณหภมิโลกลดลงอย่างรวดเร็ว เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่าฤดูหนาวนิวเคลียร์ ( nuclear winter )


    [​IMG]


    ภาพ : ความแตกต่างของการระเบิดของภูเขาไฟธรรมดาและ Supervocano
    ที่มา :
    www.vcharkarn.com


    และลาวาที่ทะลักออกมาด้วยความเร็วสูง และหมดไปอย่างรวดเร็ว การยุบตัวลงของโครงสร้างด้านในของแหล่ง Magma ในก้นหลุม (Magma chamber) ทำให้เปลือกโลกที่อยู่ข้างบนยุบตัวลงไป เกิดเป็นหลุมขนาดยักษ์ ซึ่งนักธรณีวิทยาเรียกหลุมที่เกิดจากการระเบิดของ Supervolcanoes ว่า Caldora และเมื่อเกิดการระเบิดครั้งต่อๆมา ก็จะทำให้บริเวณด้านข้างภูเขาไฟยิ่งยุบตัว เมื่อมีฝนตกลงมาสายน้ำก็จะถูกกักขังไว้ในแอ่ง เมื่อเวลาผ่านไปจึงกลายเป็นทะเลสาบบนปากปล่องภูเขาไฟ (Crater Lake) โดยลักษณะของ Caldera volcano จะมีลักษณะปากหลุมกว้างใหญ่เป็นวงกลม หรือเป็นหลุมแอ่งกระทะ


    [​IMG]


    ภาพ : การเกิด Magma chamber และการเปลี่ยนแปลง
    ที่มา :
    www.vcharkarn.com


    นักธรณีวิทยาพบว่าการเกิด Supervolcanoes มักจะเกิดในบริเวณที่เรียกว่า Subduction zone ซึ่งเป็นบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทรกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปเคลื่อนที่เข้าชนกัน แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทรที่บางและมีความหนาแน่นสูงกว่าจะมุดตัวลงไปใต้แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปที่หนาและความหนาแน่นน้อยกว่าเช่น บริเวณชายฝังแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา และ บริเวณประเทศอินโดนิเชียเป็นต้น


    [​IMG]


    ภาพ : ของภูเขาไฟโทบา จะเห็นว่าพื้นดินนั้นยุบตัวลงไป



    และมียอดแหลมๆ ตรงกลางหลงเหลืออยู่ ที่มา : www.seanet.com


    [​IMG]


    ภาพ : caldera of Kaguyak volcano


    [​IMG]


    ภาพ : Aerial photo of the crater lake in Katmai NationalPark and Preserve, Alaska.


    Lake Toba หรือที่รู้จักกันอีกชื่อตามภาษาบาตักเรียกว่า Danau Toba นักธรณีวิทยาประมาณกันว่าทะเลสาบโทบา เกิดภายหลังจากการระเบิดแบบซูเปอร์ภูเขาไฟ (supervolcano) เมื่อ 74,000 ปีมาแล้ว นับว่าเป็นเหตุการณ์ “perfect horror” เพราะมันทั้งอบอวลไปด้วยรุนแรงและยิ่งใหญ่น่าสะพรึ่งกลัว นักธรณีวิทยากำหนดค่าชี้วัดระดับความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟเป็นระดับ เรียกว่า Volcano Explosivity Index (VEI) เป็นสเกลตั้งแต่ 0-8

    คือ จากไม่มีการระเบิดเลยจนถึงระดับการทำลายล้างสูงสุด แน่นอนว่า การระเบิดของภูเขาไฟโทบาได้ถูกจัดไว้ที่ระดับ 8 (described as "mega-colossal") จากการเกิดระเบิดใกล้กับเส้นศูนย์สูตรจึงทำให้เถ้าภูเขาไฟ และก๊าซกระจายไปยังซีกโลกเหนือและใต้อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดมลภาวะทางอากาศ

    เชื่อกันว่า การระเบิดครั้งนั้น มีแรงดันมหาศาลทำให้ลาวาพุ่งไปไกลถึงภาคใต้ของประเทศอินเดีย คิดเป็นระยะทางกว่า 3,000 กิโลเมตร และกว่าจะพ่นลาวาออกมาจนกว่าจะมอดไปต้องใช้เวลานาน 6 ปี อีกทั้งยังทำให้เกิดการเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศของโลกตามมา เมื่อศึกษาหลักฐานจากชั้นหินใต้มหาสมุทรอินเดีย และแท่งน้ำแข็ง

    จึงทำให้รู้ว่า จากการระเบิดในครั้งนั้น ได้ทำให้สภาพภูมิอากาศของโลกลดลง 3-3.5 degrees Celsius เกิดฤดูหนาวภูเขาไฟอย่างน้อย 6 ปี ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อย่างรุนแรงพืชและสัตว์มากมาเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ มีการสันนิษฐานของนักวิทยาศาสตร์ที่ว่า การระเบิดของภูเขาไฟโทบาทำให้โลกเข้าสู่ยุคน้ำแข็ง



    ปริมาณของเถ้าถ่านภูเขาไฟที่ โทบาปล่อยออกมา คิดเป็นประมาณ 2800 ลูกบาศก์กิโลเมตร (2800 cubic km) เทียบกับ Supervolcanoes ของ Yellowstone ซึ่งปะทุขึ้นเมือ 2 ล้านปีมาแล้ว นั้นปล่อยเถ้าถ่านออกมา 2500 ลูกบาศก์กิโลเมตร (2500 cubic km) จากหลักฐานที่มีอยู่ จึงเชื่อกันว่าโทบา คือการระเบิดครั้งที่รุนแรงที่สุดเท่าที่เคยขึ้นมาในโลก


    [​IMG]


    เมื่อภูเขาไฟระเบิดจึงทำให้กรวยภูเขาไฟพังทลายลง เกิดเป็นแอ่งภูเขาขนาดใหญ่ และเมื่อผ่านการระเบิดมาอย่างยาวนาน จึงทำให้ปากปล่องขยายทั้งทางกว้างและลึกขึ้นเรื่อยๆ หินเหลวและก๊าซต่างๆที่สะสมอยู่ใน Magma chamber เมื่อถูกพ่นออกมาจนหมด ภายในก็จะกลายเป็นพื้นที่ว่างขนาดใหญ่และแผ่นดินเบื้องบนก็จะยุบตัวลงเข้าไปแทนที่พื้นที่ว่างดังกล่าว จนเกิดเป็นแอ่งขนาดใหญ่รองน้ำฝนที่ตกลงมาจนกลายเป็นทะเลปากปล่องภูเขาไฟ (Volcano crater) ที่ใหญ่ที่สุดในโลก

    มีเนื้อที่ 1,645 ตารางกิโลเมตร อยู่สูง 906 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล มีความยาวยาวของทะเลสาบกว่า 1๐๐ กิโลเมตร กว้าง 30 กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 450 เมตร จุดที่ลึกที่สุด มีความลึกที่สุดถึง 505 เมตร จากการระเบิดของภูเขาไฟได้ทำให้เกิดทัศนียภาพของหน้าผาสูงถึง 500 เมตร กลางทะเลสาบจะมี samosir island และมีทะเลสาบขนาดย่อมอยู่บนเกาะ samosir อีกต่อหนึ่ง


    [​IMG]


    ภาพ : Lake Toba (Images courtesy of Google Earth)


     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Volcano in Russia's Far East spew ash to 6,000 meters

    VLADIVOSTOK, May 3 (Xinhua) -- The Shiveluch volcano on the Kamchatka peninsula in Russia's Far East, has spewed ash to an altitude of 6,000 meters above sea level, local media reported Tuesday.
    The seismic activity at the volcano intensified at 4:30 local time Tuesday (1730 GMT Monday) and reached its peak at 6 a.m. to 8 a.m. local time (1900 to 2100 GMT Monday) before gradually abating, the RIA Novosti news agency reported.


    Though experts said there was no danger for local communities, an aviation "orange" alert has been assigned to the area.
    Meanwhile, Kizimen, another volcano on the peninsula, has become active and spewed ash into the air of up to 7,000 meters.


    Volcano in Russia's Far East spew ash to 6,000 meters
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ภูเขาไฟในเอกวาดอร์ ระเบิดอย่างดัง

    Event: Volcano Eruption
    Location: Ecuador Cordillera Oriental Tungurahua volcano Number of Evacuated: 300 person(s)


    Situation:

    In Ecuador, an active volcano, known as 'Tungurahua' or 'Throat of Fire' has erupted again, spewing ash as high as ten kilometers into the atmosphere. Loud explosions shook the ground and rattled windows near the volcano, located some 130 kilometers southeast of the capital city of Quito on Friday. The volcano hurled large boulders more than a mile in its powerful eruption that forced hundreds of residents to flee the area and officials to divert flights. “The smallest blocks are the size of an automobile while the biggest reach the size of a truck, which cause impact craters up to 10 meters (33 feet) wide as they hit the flanks,” the Associated Press quoted Silvana Hidalgo, a scientist monitoring Tungurahua, as saying. Schools were closed for the third consecutive day as ash showered down on a dozen towns in the sparsely populated area surrounding the 5,023-meter peak. Tungurahua, one of the eight active volcanoes in the Andean nation, has been active since 1999. Though one of its strongest eruptions took place in 2008, it had already proved itself deadly, when at least four people were killed and thousands forced to evacuate during a series of eruptions, which took place in July and August of 2006. Tungurahua's eruptions are mainly strombolian, or low-level. Since its 1999 eruption, the volcano has continued its seismic activities on a medium level.
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ภูเขาไฟในกัวเตมาลา ใกล้ปะทุ

    <table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top" width="100%">2011-05-07 16:33:44 - Volcano Activity - Guatemala

    </td> </tr> <tr> <td colspan="2" width="100%">!!! WARNING !!!
    </td> </tr> <tr> <td valign="top"> <table width="100%" align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr> <td width="25%">EDIS Code:</td> <td>VA-20110507-30640-GTM</td> </tr> <tr> <td>Date&Time:</td> <td>2011-05-07 16:33:44 [UTC]</td> </tr> <tr> <td>Continent:</td> <td>Central-America</td> </tr> <tr> <td>Country:</td> <td>Guatemala</td> </tr> <tr> <td>State/Prov.:</td> <td>Departments of Quetzaltenango and Retalhuleu, </td> </tr> <tr> <td>Location:</td> <td>Santiaguito volcano, </td> </tr> <tr> <td>City:</td> <td>
    </td> </tr> <tr> <td colspan="2"> Not confirmed information!
    </td> </tr> </tbody></table> </td> <td width="440" align="right"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td colspan="2" valign="top"> Description: </td> </tr><tr> <td colspan="2" valign="top"> Guatemalan departments of Quetzaltenango and Retalhuleu were declared this Friday in yellow alert due to the increased activity of the volcano Santiaguito. According to the National Institute for Seismology, Vulcanology, Meteorology and Hydrology of Guatemala (Insivumeh), the increase is manifested in the number of explosions per hour. Such explosions generate weak and moderate echoes, that could be heard 10 kilometers away, and constant avalanches of rocks in the southwestern and eastern sides of the volcano. The Insivumeh uninterruptedly monitors the volcano and advises the Directorate General of Civil Aviation to take precautions with air traffic in a radius of 15 kilometers due to the ash emissions.
    </td></tr></tbody></table>
     
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td colspan="2" valign="top" width="100%">2011-05-08 17:11:08 - Volcano Activity - Indonesia

    </td> </tr> <tr> <td colspan="2" width="100%">
    </td> </tr> <tr> <td valign="top"> <table width="100%" align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr> <td width="25%">EDIS Code:</td> <td>VA-20110508-30647-IDN</td> </tr> <tr> <td>Date&Time:</td> <td>2011-05-08 17:11:08 [UTC]</td> </tr> <tr> <td>Continent:</td> <td>Indonesian Archipelago</td> </tr> <tr> <td>Country:</td> <td>Indonesia</td> </tr> <tr> <td>State/Prov.:</td> <td>Halmahera islan, </td> </tr> <tr> <td>Location:</td> <td>Mount Gamkonora volcano, </td> </tr> <tr> <td>City:</td> <td>
    </td> </tr> <tr> <td colspan="2"> Not confirmed information!
    </td> </tr> </tbody></table> </td> <td width="440" align="right"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td colspan="2" valign="top"> Description: </td> </tr><tr> <td colspan="2" valign="top"> Seismic activity has increased at Gamkonora volcano, Indonesia. During January to May 2011 an average of two shallow volcanic earthquakes, and one deep earthquake was measured at the volcano per day, and emissions rose 50-100 m above the crater. On 1st May 46 deep earthquakes, and 6 shallow earthquakes occurred. On 2nd May 35 deep earthquakes and 2 shallow earthquakes were detected at the volcano, and emissions reached a height of 300 m above the crater. The smell of sulphur was reported at villages near the volcano. On the 3rd May the alert level at the volcano was increased from Normal (Level I) to Waspada (Level II).
    </td> </tr> <tr> </tr></tbody></table>
     
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Life pauses on rumbling Philippine volcano

    Boats lay idle on the shores of a lake surrounding the Philippines' rumbling Taal volcano as village elder Violy Seda retold her dramatic escape from death a generation ago.
    Tweet

    The 65-year-old woman was a young mother during Taal's last major eruption in 1977, which covered the island with deadly ash, violently shook the ground and sent villagers rushing through the night to their boats to escape.
    "Throughout the day there were powerful earthquakes that sent us falling over ourselves," said Seda, who now has seven children and 32 grandchildren.


    "By nightfall we had packed everything and jumped on our boats just as a loud bang erupted. The night sky glowed and we would have died if we stayed behind."


    No one was killed in that eruption, and the villagers soon returned to ply their trade as tour guides on the island, the most active among the Philippines' 23 volcanoes and just 65 kilometres (40 miles) south of Manila.


    Now the volcano is threatening to erupt again, but the few thousand people living there are undaunted by the latest signals and are again refusing to leave unless a major eruption looks certain.


    "I grew up here and all my children were born on this volcano. These rumblings are normal for people like us," Seda said.


    Taal is famous for its distinct crater lake.
    It is a 23-square-kilometre (14-square-mile) volcano island that lies inside a bigger lake formed from previous volcanic activity. Together they are among the most spectacular sights, and popular tourist destinations, in the Philippines.


    Most of the residents on the island work in the tourism sector.


    They ferry tourists across the lake from towns encircling the island, and provide guided treks and horse rides up its main crater for about 500 pesos (less than $10) per person.
    But with 47 craters and its history of powerful explosions, Taal is classified a "permanent danger zone", according to government volcanologists.


    It has erupted at least 33 times since 1572, the most destructive of which was in 1911 when it left 1,334 people dead, sent ash falling on to Manila and triggered wave surges that engulfed entire lakeshore villages.


    A recent surge in seismic activity on the island forced state volcanologists to hoist the second of a five-step alert system on April 9.


    This meant magma may be slowly moving up its crater, ahead of a possible explosion.


    All tourist activity was halted and authorities called for the elderly and the young to be evacuated.


    Boatman Gregorio Enriquez, 41, explained that the villagers had decided to remain because they had nowhere else to go, and they could only hope the seismic activity would soon subside so the tourists would return.
    "You can always try to outrun an explosion, but you can never beat poverty as a result of the alert status," Enriquez said.


    Enriquez, a father of two young girls, said he typically earned about 3,000 pesos (about $70) ferrying tourists, although his boat had been idle for a month.


    Villagers are now subsisting on local carp caught from the lake and vegetables from their plots.


    Without cash from tourists, rice, the staple food sold in towns across the lake, is mostly beyond the reach of the poor villagers.


    "Life for the past month has become a monotonous cycle of waiting, sleeping and more waiting," Enriquez said.


    With him in a makeshift shed were about a dozen members of his extended family, all of them waiting for the clan's patriarch to return from buying a sack of rice with savings made during better times.


    Children splashed in the lake while the family-owned horses were tethered on nearby coconut trees, their heads bent low from the tropical noon-day heat.


    Migrating egrets and gulls fought off crows for scraps of fish lying on the otherwise lifeless beach front.


    "This volcano is both a blessing and a curse for us," lamented Enriquez.


    At the local tourism office, a huge yellow sign proclaimed that the entire island remained on alert for possible eruption, and no tourist activity was permitted.


    "We haven't had any tourists setting foot here for the past month. The only (people) that have visited are volcanologists and the press," complained Susan Mameng, the island's tourism officer.


    "People here are getting desperate. What is ironic is that the island is alive, and yet we may be slowly dying if we don't get tourists back," she said.


    Life pauses on rumbling Philippine volcano -  Latest news around the world and developments close to home - MSN Malaysia News
     

แชร์หน้านี้

Loading...