มีระดับสมาธิแค่ไหน ถึงเพียงพอต่อการบรรลุธรรม สิ้นอาสวะ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย siratsapon, 25 ธันวาคม 2009.

  1. pantham phuakph

    pantham phuakph เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    186
    ค่าพลัง:
    +444
    ขอขอบคุณความเห็นของพี่ๆทุกท่าน

    ผมมีข้อธรรมมาให้พิจารณาครับ


    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CUSER%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="Edit-Time-Data" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CUSER%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_editdata.mso"><!--[if !mso]> <style> v\:* {behavior:url(#default#VML);} o\:* {behavior:url(#default#VML);} w\:* {behavior:url(#default#VML);} .shape {behavior:url(#default#VML);} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} a:link, span.MsoHyperlink {color:blue; text-decoration:underline; text-underline:single;} a:visited, span.MsoHyperlinkFollowed {color:purple; text-decoration:underline; text-underline:single;} p {mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";} p.hangsb, li.hangsb, div.hangsb {mso-style-name:hangsb; mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";} p.text, li.text, div.text {mso-style-name:text; mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";} p.ref, li.ref, div.ref {mso-style-name:ref; mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:35.4pt; mso-footer-margin:35.4pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} /* List Definitions */ @list l0 {mso-list-id:1460689834; mso-list-type:hybrid; mso-list-template-ids:-1744017394 -676943484 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715;} @list l0:level1 {mso-level-number-format:thai-2; mso-level-tab-stop:41.25pt; mso-level-number-position:left; margin-left:41.25pt; text-indent:-23.25pt; mso-ansi-font-size:18.0pt; mso-ansi-font-weight:bold;} ol {margin-bottom:0cm;} ul {margin-bottom:0cm;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> (๖๑) อรหันต์ ๒ (ผู้บรรลุอรหัตตผลแล้ว, ท่านผู้สมควรรับทักษิณาและการเคารพบูชาอย่างแท้จริง — an Arahant; arahant; Worthy One)


    ๑. สุกขวิปัสสก (ผู้เห็นแจ้งอย่างแห้งแล้ว คือ ท่านผู้มิได้ฌาน สำเร็จอรหัตด้วยเจริญแต่วิปัสสนาล้วน ๆ — the dry-visioned; bare-insight worker)



    ๒. สมถยานิก (ผู้มีสมถะเป็นยาน คือ ท่านผู้เจริญสมถะจนได้ฌานสมาบัติแล้วจึงเจริญวิปัสสนาต่อจนได้สำเร็จอรหัต — one whose vehicle is tranquillity; the quiet-vehicled)


    KhA.178,183; Vism.587,666. ขุทฺทก.อ.๒๐๐; วิสุทธิ.๓/๒๐๖,๓๑๒; วิสุทธิ.ฏีกา ๓/๓๙๘; ๕๗๙.


    ที่มา พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม - พระธรรมปิฎก (ป_อ_ ปยุตฺโต)
    -------------------------------------------------------------------------------------------


    (๒๗๘) มรรคมีองค์ ๘ หรือ อัฏฐังคิกมรรค (เรียกเต็มว่า อริยอัฏฐังคิกมรรค แปลว่า ทางมีองค์ ๘ ประการ อันประเสริฐ — the noble Eightfold Path); องค์ ๘ ของมรรค (มัคคังคะ — factors or constituents of the Path) มีดังนี้



    ๑. สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ ได้แก่ ความรู้อริยสัจ ๔ หรือ เห็นไตรลักษณ์ หรือ รู้อกุศลและอกุศลมูลกับกุศลและกุศลมูล หรือเห็นปฏิจจสมุปบาท — Right View; Right Understanding)
    ..........
    ..........
    ๗. สัมมาสติ (ระลึกชอบ ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔ — Right Mindfulness)

    ๘. สัมมาสมาธิ (ตั้งจิตมั่นชอบ ได้แก่ ฌาน ๔ — Right Concentration)

    D.II.321; M.I.61; M,III.251; Vbh.235. ที.ม.๑๐/๒๙๙/๓๔๘; ม.มู.๑๒/๑๔๙/๑๒๓; ม.อุ.๑๔/๗๐๔/๔๕๓; อภิ.วิ.๓๕/๕๖๙/๓๐๗. ​
    ที่มา พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม - พระธรรมปิฎก (ป_อ_ ปยุตฺโต)
    _______________________ _______________________________________


    <!--[if !supportLists]-->๑. อัชฌาสัยสุกขวิปัสสโก<!--[endif]-->(บางส่วนจากคำสอนของ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)

    บางคนชอบแบบสุกเอาเผากิน เรื่องความละเอียดเรียบร้อย การรู้เล็กรู้น้อยแสดง
    ฤทธิ์ อวดเดชเดชาอะไรนั้น ไม่มีความต้องการ หวังอย่างเดียวคือความบรรลุผล ท่าน
    ประเภทนี้พระพุทธเจ้ามีแบบปฏิบัติไว้ให้เรียกว่า สุกขวิปัสสโก คือปฏิบัติแบบสบาย เริ่ม
    ด้วยการรักษาศีลให้บริสุทธิ์ เรื่องศีลนี้นักปฏิบัติต้องสนใจเป็นพิเศษ ถ้าหวังผลในการ
    ปฏิบัติแล้ว

    อย่าให้ศีลบกพร่องเป็นอันขาด แม้แต่ด่างพร้อยก็อย่าให้มี ถ้าท่านเห็นว่าศีล
    เป็นของเล็กน้อย ปฏิบัติยังขาด ๆ เกิน ๆ แล้ว ท่านไม่มีหวังในมรรคผลแน่นอน เมื่อมีศีล
    ครบถ้วนบริสุทธิ์ผุดผ่องดีแล้ว ท่านก็ให้เจริญสมาธิ ตอนสมาธินี้

    ท่านฝ่ายสุกขวิปัสสโก ท่านไม่เอาดีทางฌานสมาบัติ พอมีสมาธิเล็กน้อยก็เจริญ
    วิปัสสนาญาณควบกันไปเลย

    คุมสมาธิบ้าง เจริญวิปัสสนาบ้าง พอสมาธิที่รวบรวมได้ทีละเล็กละน้อย เมื่อสมาธิเข้าถึง
    ปฐมฌาน วิปัสสนาก็มีกำลังตัดกิเลสได้ จะได้มรรคผลก็ตอนที่สมาธิเข้าถึงปฐมฌาน

    หากสมาธิยังไม่ถึงปฐมฌานเพียงใด จะได้มรรคผลไม่ได้ นี้เป็นกฎตายตัว

    เพราะมรรคผลต้องมีฌานเป็นเครื่องรู้ ฌานนี้จะบังเกิดขึ้นเมื่อจิตเข้าสู่อุปจารสมาธิ คือ
    เกือบถึงปฐมฌาน ห่างกันระหว่างปฐมฌานกับอุปจารฌานนั้น เพียงเส้นผมเดียว
    เท่านั้น จิตเมื่อตั้งมั่นในอุปจารสมาธิแล้ว

    ที่มา ��ѧ�Ե� palungjit.org > ��ѡ�ٵ� ����Է��

    .......................................................................


    ความเห็นของคุณคณานันท์ kananun <script type="text/javascript"> vbmenu_register("postmenu_2781434", true); </script>

    หากเป็นวิสัยของสาวกภูมินั้น ต้องพิจารณาว่า เป็นวิสัยของผู้ปฏิบัติใน วิสัยแห่งการบรรลุธรรมเช่นใด

    - สุขขะวิปัสโก ไม่รู้ไม่เห็นในความเป็นทิพย์ของจิต มีญาณเครื่องรู้แห่งการตัดอาสวะกิเลสให้เป็นสมุทเฉทประหาร ต้องได้ ฌาน สี่ จากอานาปานสติกรรมฐานเป็นอย่างต่ำ เพื่อให้ จิต สงบ สงัดจากนิวรณ์ห้าประการ ระงับ จิตจากอคติในการ พิจารณาธรรม

    เมื่อจิต สงบ จากนิวรณ์ห้าประการจึงใช้ กำลัง และความสงบแห่งฌานสี่ นั้นในการพิจารณาตัดกิเลส จนสิ้นไป

    .........................................................................


    พี่ๆครับ จาก หัวข้อ อรหันต์ ๒ ในข้อ
    สุกขวิปัสสก ของท่าน ปยุตโต

    เปรียบเทียบกับ
    อัชฌาสัยสุกขวิปัสสโก ลพ.ฤาษีลิงดำ

    โดยเฉพาะตัวหนังสือสีแดง จะเห็นว่า

    สุกขวิปัสสก ของท่านปยุตโต ไม่ได้ใช้ สัมมาสมาธิ(ไม่ได้ฌาน)

    แต่ของ ลพ.ฤาษีลิงดำ ใช้สัมมาสมาธิ เพียงปฐมฌานเท่านั้น


    พี่ๆที่เชี่ยวชาญคำสอนของหลวงพ่อ ช่วยอธิบายให้หน่อย

    และพี่ๆที่เชี่ยวชาญคำสอนของท่านปยุตโต โดยเฉพาะพุทธธรรม

    ขอให้ช่วยอธิบายอีกแรง




    ในส่วนของพี่คณานันท์ กรุณาแสดงความเห็นอีกสักครั้งหนึ่ง

    ผมตั้งใจรอ ธรรมทาน จากพี่ๆทุกท่าน

    ขอขอบพระคุณล่วงหน้า

    <!--[endif]-->
     
  2. ooghost

    ooghost เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2010
    โพสต์:
    195
    ค่าพลัง:
    +119
    ขออนุโมทนาสาธุ

    __________________

    ธรรมะก่อให้เกิดปัญญา ปัญญาก่อให้เกิดการรู้แจ้ง รู้แจ้งนำไปสู่นิพพาน
     
  3. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,647
    ส่วนตัวผม....ไม่รู้อะไรมาก.....

    รู้แต่ว่า นิโรธสมาบัติ ผู้ที่จะทำได้ คือ พระอนาคามี กับพระอรหันต์.....

    ถามว่าพระอนาคามีกับพระอรหันต์นี่ ท่านคุณธรรมระดับใหน ท่านทั้งหลายก็ไปคิดเอากันเอง....
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มกราคม 2010
  4. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,647
    ก่อนอื่นทั้งหมด...ขอถามก่อนว่า.....เคยได้สมาธิตั่งแต่ ขนิก ถึง ฌาน ๔ หรือยัง.......
     
  5. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    ฝึกให้รู้เองดีกว่า ที่ยังสงสัยกันอยู่เพราะยังไปไม่ถึง

    ถึงแล้วรู้ (ชัด) เองไม่มีสงสัย ถ้ายังสงสัยก็ยังไม่เที่ยง ยังไ่ม่มั่นคง

    ปัญญาธรรมยังส่องไปไม่ถึงเพียงไร ความสงสัยย่อมมีเพียงนั้น

    เมื่อความสงสัยยังมีอยู่ ความปล่อยวางอย่างแท้จริงย่อมไม่เกิดขึ้น

    สรุปว่า วิธีดูง่าย ๆ ก็คือ ดูว่าตัวเองยังสงสัย ยังลังเล ยังไม่แน่ใจ ยังต้องรอให้ใครฟันธงให้อยู่หรือไม่นั่นเอง...

    โชคดี ๆ
     
  6. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,647
    ความจริงผมอยากจะบอกว่าตั้งแต่ครั้งแรกที่เห็นบทความนี้ที่ได้ถามขึ้น...ผมถือว่าเป็นคำถามที่ดี...และคิดว่าคงจะยากที่จะหาคนตอบ...แบบฟันธง...โดยที่มีหลักฐานอ้างอิง แหล่งที่มาของตน......
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มกราคม 2010
  7. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,647
    ความจริงผมอยากจะบอกว่าตั้งแต่ครั้งแรกที่เห็นบทความนี้ที่ได้ถามขึ้น...ผมถือว่าเป็นคำถามที่ดี...และคิดว่าคงจะยากที่จะหาคนตอบ...แบบฟันธง...โดยที่มีหลักฐานอ้างอิง แหล่งที่มาของตน......

    คำถามเรื่องนี้ไม่ได้ถามขึ้นเป็นครั้งแรก....เคยมีคำถามนี้เคยถูกถามขึ้นแล้ว...ในกระทู้ที่ผมเคยตั้งคือ

    http://palungjit.org/threads/ฌาน-ความสุขในพระพุทธศาสนา.191575/
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มกราคม 2010
  8. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,647
    (เป็นกระทู้ที่ตั้งขึ้นที่มีจุดประสงค์แสดงพุทธพจน์ให้เป็นที่ประจักษ์ ซึ่งในสมัยนั้นมีผู้เข้าใจผิดตามพุทธพจน์เป็นจำนวนมามาก...ซึ่งในกระทู้นี้มีผู้ทรงความรู้ด้านพระไตรเมตตาตอบอย่างดีมาก...ทั้งปัจจุบันก็มี ท่านตรงประเด็น และท่าน เสขบุคคล...ได้แสดงทรรศนะไว้อย่างดี....ต้องขอยกย่องไว้ ณ ที่นี้...)....คำถามที่กล่าวไป.....ก็ไม่ได้รับคำตอบ...อย่างมีหลักฐานประกอบครับ.....


    ผมหาคำว่า สุขวิปัสก หรือ สุขวิปัสสโก ไม่มีเลยในฐานข้อมูล ทั้งเวบ ๘๔๐๐๐ และ ฐานข้อมูล พระไตรปิฏก ฉบับธรรมทาน....

    ทั้งนี้ก็ได้ไปหาเพิ่มเติมในส่วนของวิสุทธิมรรคแล้ว...มีแบ่งไว้หลายอย่างมาก(แบ่งเพื่อเรียก)...ก็ไม่เจอคำนี้....จึงไม่แน่ใจว่าในพระไตรหรืออรรถกถาจะใช้คำอื่นแทนหรือไม่....


    แต่ในพจนานุกรมของท่านประยุต และหลวงพ่อกล่าวไว้อย่างชัดเจน...ฉนั้นจึงคิดว่าต้องมีที่มาอย่างแน่นอน...

    อย่างไรอาจเป็นหน้าที่ของเราก็ได้ที่จะหาคำตอบนี้โดยมีหลักฐานประกอบ....เพื่อประโยชน์ต่อไป......
     
  9. ประกายพลอย

    ประกายพลอย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2010
    โพสต์:
    616
    ค่าพลัง:
    +452
    ข้อความนี้ดี น่าสนใจ ผมเคยอ่านพุทธประวัติ

    คนสมัยนั้น บรรลุธรรมกันง่าย บุญบารมี กุศล ผลบุญเต็มเปี่ยม มีศีล มีธรรม

    จริงอย่าง ท่านผูโพสว่า กุศลจะแปลว่าฉลาดก็ได้นะ อกุศล จะแปลว่า

    ความโง่ ก็ไม่ผิดนัก ถ้าไม่โง่ ก็คงไม่ลงนรกนะคับ หรือทำความชั่วกัน

    คนสมัยเรา หรือสมัยนี้ ศีลห้าไม่ค่อยจะสมบูรณ์กัน ปัญญาทึบลงจริงๆ

    สรุป กระผม หมอกฤช เห้นด้วย คอนเฟริ์มครับ..:cool:
     
  10. pantham phuakph

    pantham phuakph เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    186
    ค่าพลัง:
    +444
    กราบขออภัยสมาชิกทุกท่าน หากคำถามและความเห็นของผม
    ล่วงเกินท่านในทุกกรณี ผมเคารพในความเห็นของทุกท่าน
    และขอรับไปปฏิบัติ


    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CUSER%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:14.0pt; font-family:"Cordia New"; mso-fareast-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    [FONT=&quot]โยโทโส โมหะจิตเต นะพุทธัสมิง
    ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสันตุ[/FONT]
    [FONT=&quot]
    โยโทโส โมหะจิตเต นะธัมมัสมิง
    ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสันตุ[/FONT]
    [FONT=&quot]
    โยโทโส โมหะจิตเต นะสังฆัสมิง
    ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสันตุ[/FONT]


    หากข้าพเจ้าได้กล่าวปรามาสคำสอนของหลวงพ่อฤาษีลิงดำ
    และคำสอนของพระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตโต)
    ข้าพเจ้าขอกราบขอขมาท่านทั้งสอง มา ณ ที่นี้
     
  11. ธรรมะสวนัง

    ธรรมะสวนัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,305
    ค่าพลัง:
    +1,255
    ประโยคนี้ฝากมาให้คุณ pantham ค่ะ
    กาเลน ธมฺมสากจฺฉา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
    การสนทนาธรรมตามกาล นี้เป็นมงคลอันสูงสุดข้อหนึ่ง

    ความจริงข้อธรรมที่สงสัย แล้วนำมาถามด้วยเจตนาสุจริต เพราะอยากรู้จริงๆนั้น
    ก็ไม่น่าจะเป็นการล่วงเกิน หรือปรามาสใดๆ

    ตามที่คุณภาณุเดช ว่ามานั่นแหละ
    คำว่า สุกขวิปัสสโก ไม่ใช่พระพุทธวจนะ เป็นคำที่บัญญัติขึ้นในชั้นหลัง
    มีการใช้คำนี้กันมากมาย ในยุคหลังๆ และมีคนสงสัยใคร่รู้ในความหมายกันไม่น้อย

    นับเป็นความเมตตาของหลวงพ่อฤาษีท่าน
    ที่อธิบายขยายความเพื่อให้คนรุ่นหลังได้เข้าใจความหมายอันเป็นนัยในการปฏิบัติ

    พูดถึงการอรรถาธิบายธรรมปฏิบัตินั้น
    อยากจะบอกว่า หลวงพ่อท่านมีอรรถาธิบายไว้ น่าจะเรียกได้ว่ามากที่สุด
    จากประสบการณ์การปฏิบัติของท่าน อันตรงต่อพระบรมศาสดา

    เพราะธรรมะของพระพุทธองค์เป็นเรื่องการปฏิบัติทางจิต
    พระไตรปิฎก เปรียบเหมือนแผนที่บอกทาง
    ครูบาอาจารย์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เป็นผู้ชี้ทางให้เดินถูกตรงตามแผนที่

    ที่เหลือ อยู่ที่เราจะทำหรือไม่ทำแล้วแหละ
    เพราะธรรมใดก็ไร้ค่า ถ้าไม่ทำ(ปฏิบัติ)


    (smile)
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CUSER%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:14.0pt; font-family:"Cordia New"; mso-fareast-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {p</style>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 มกราคม 2010
  12. weera2548

    weera2548 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2006
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +69
    จะไปนิพพาน

    เมื่อท่านอยากไปนิพพาน ต้องร้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่าไหนเป็นกุศล ธรรมเหล่าไหนไม่มีโทษ ธรรมเหล่านี้ท่านผู้ร้สรรเสริญ ธรรมเหล่านี้ใครสมาทานให้บริบูรณ์แล้ว เป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข เมื่อนั้น ท่านทั้งหลายควรเข้าถึงะรรมเหล่านั้นอยู่
     
  13. ผู้มีสติ1

    ผู้มีสติ1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    750
    ค่าพลัง:
    +3,637
    แวะเข้ามาดู น่าสนใจดี
     

แชร์หน้านี้

Loading...