วีดิทัศน์ การฝึกพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ (แนวทาง สมเด็จฯ สุก ไก่เถื่อน)

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย นะมัตถุ โพธิยา, 6 มิถุนายน 2011.

  1. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ขอเชิญชมวีดิทัศน์

    </B>พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ
    ตามแนวทางของ สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร (สุก ไก่เถื่อน)
    </B>ของ วัดราชสิทธาราม คณะ ๕
    บรรยายโดย พระครูสิทธิสังวร (หลวงพ่อวีระ)

    <TABLE style="MARGIN: 10px 0px" class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 425><THEAD><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tcat colSpan=2></TD></TR></THEAD><TBODY><TR><TD class=panelsurround align=middle><EMBED height=350 type=application/x-shockwave-flash width=425 src=http://www.youtube.com/v/a_q00e8kIgs allowfullscreen="true" wmode="transparent"></EMBED></TD></TR></TBODY></TABLE>


    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]<TABLE style="MARGIN: 10px 0px" class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 425><THEAD><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tcat colSpan=2></TD></TR></THEAD><TBODY><TR><TD class=panelsurround align=middle><EMBED height=350 type=application/x-shockwave-flash width=425 src=http://www.youtube.com/v/udIZLdBGXw4 allowfullscreen="true" wmode="transparent"></TD></TR></TBODY></TABLE>[/FONT]






    ที่มา
    วีดิทัศน์สอนกรรมฐาน | Somdechsuk.org

    :cool::cool::cool:
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 มิถุนายน 2011
  2. ระกาแก้ว

    ระกาแก้ว สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +0
    ข้อมูลเกี่ยวกับกรรมฐานวัดพลับ เชิญที่นี่เจ้าค่ะ

    กรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ ตามแบบสมเด็จพระสังฆราชสุก ไก่เถื่อน วัดราชสิทธาราม

    วีดิทัศน์ การฝึกพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ (แนวทาง สมเด็จฯ สุก ไก่เถื่อน)

    รวมกระทู้ "กรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ ตามแบบสมเด็จพระสังฆราชสุก ไก่เถื่อน" วัดราชสิทธาราม

    ลำดับแห่งการศึกษาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ (หลวงปู่สุก ไก่เถื่อน)

    เรียนเชิญอนุโมทนาการอบรม พระกรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ ของ บ.บางออกแปซิฟิค สติล


    บรรยากาศการชุมนุมคณะศิษย์พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ แสดงมุฑิตาจิตครูบาอาจารย์


    เรียนเชิญปฏิบัติธรรม วันมาฆบูชา แนววิชชากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ


    ๔ ช่องทางในการรับข้อมูลข่าวสารการปฏิบัติธรรมจากวัดราชสิทธาราม


    ๑. เว็บไซต์ เวทาสากุ somdechsuk.org

    รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ อาทิ
    สมเด็จ พระสังฆราชไก่เถื่อน ประวัติวัดราชสิทธาราม ราชวรวิหาร ทำเนียบเจ้าอาวาส ทำเนียบกรรมฐาน ประวัติพระครูสิทธิสังวร เรื่องกรรมฐาน พิพิธภัณฑ์กรรมฐาน ไม้เท้าพระราหุล ไม้เท้าพระพุทธเจ้า ตำนานพระฤาษี พระเครื่องวัดพลับ รวมลิงก์ธรรม
    แผนที่และข้อมูลติดต่อ
    ตลอดจนวิธีการเจริญกรรมฐานเบื้องต้น รวมทั้ง กระดานประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการปฏิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมาที่วัดพลับ

    ๒. เว็บไซต์ เวทาสากุ somdechsuk.com

    รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ อาทิ สมเด็จ พระสังฆราชไก่เถื่อน ประวัติวัดราชสิทธาราม ราชวรวิหาร ทำเนียบเจ้าอาวาส ทำเนียบกรรมฐาน ประวัติพระครูสิทธิสังวร เรื่องกรรมฐาน พิพิธภัณฑ์กรรมฐาน ไม้เท้าพระราหุล ไม้เท้าพระพุทธเจ้า ตำนานพระฤาษี พระเครื่องวัดพลับ รวมลิงก์ธรรม
    แผนที่และข้อมูลติดต่อ
    ตลอดจนวิธีการเจริญกรรมฐานเบื้องต้น รวมทั้ง กระดานประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการปฏิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมาที่วัดพลับ

    ๓. แฟนเพจ Facebook
    เวทาสากุ (กรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ วัดราชสิทธาราม)

    เป็นช่องทางประชาสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่เข้าถึงพุทธศาสนิกชนมากขึ้น ในการประ ชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับกรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ เพื่อกระตุ้นให้พุทธศาสนิกชนผู้สนใจใฝ่รู้ได้ทราบถึงข้อมูลเบื้องต้น ก่อนมาปฏิบัติพระกรรมฐาน ตลอดจนเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมการปฏิบัติ ผู้ที่สนใจสามารถเข้าร่วมเป็นแฟนเพจ โดยการเข้าไปที่หน้าเพจ เวทาสากุ (กรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ วัดราชสิทธาราม)(สำหรับ สมาชิก Facebook) แล้วกด "ถูกใจ" หรือ "Like" ที่หน้าเพจ เพียงเท่านี้ ท่านก็จะได้รับข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนเรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับกรรมฐานวัดพลับ ในหน้า Feed ข่าวของท่าน

    ๔. เว็บพลังจิต ดอทคอม PaLungJit.com > พุทธศาสนา > อภิญญา - สมาธิ > กรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ ตามแบบสมเด็จพระสังฆราชสุก ไก่เถื่อน วัดราชสิทธาราม
     
  3. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    เชิญเข้าปฏิบัติธรรม
    วันที่ 25-26 มิ.ย. 54 วัดราชสิทธาราม(วัดพลับ)
    </B>(ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ)

    </B>ขอเชิญเข้าร่วมปฏิบัติธรรม
    ประจำเดือนมิถุนายน
    ระหว่างวันเสาร์-อาทิตย์ ที่25-26 มิถุนายน พ.ศ. 2554

    ลงทะเบียน วันเสาร์ที่25 มิถุนายน พ.ศ. 2554 เวลา 09.00- 10.00น.

    </B>คณะ 5 วัดราชสิทธาราม(พลับ) ซอยอิสรภาพ 23 แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ

    </B>รถประจำทาง สาย 19 40 56 57 149 ผ่านซอยอิสรภาพ 23

    </B>โทร. 084-651-7023,02-465-2552

    </B>------------------------------------------------------------------------------


    กำหนดการ เดือนมิถุนายน 54

    </B>วันเสาร์ที่ 25 มิถุนายน 2554 แรม 9 ค่ำ เดือน 7

    </B>เวลา 09.00-10.00 ลงทะเบียน รับประทานอาหารเช้า

    เวลา 10.000-11.00 รับศีล ขึ้นกรรมฐาน รับประทานอาหารกลางวัน

    เวลา 13.00-14.00 ฟังธรรมบรรยาย ถามปัญหา พักดื่มน้ำปานะ

    เวลา 14.00-16.30 เจริญจิตภาวนา เดินจงกรม อาบน้ำ ทำธุระส่วนตัว

    เวลา 16.30-17.00 ทำวัตรเย็น ปฏิบัติธรรม เข้านอน



    </B>วันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน 2554 แรม 10 ค่ำ เดือน 7

    </B>เวลา 06.30-07.00 ทำวัตรเช้า รับประทานอาหารเช้า

    เวลา 07.000-11.00 นั่งกรรมฐาน เดินจงกรม รับประทานอาหารกลางวัน

    เวลา 13.00-14.00 ฟังธรรมบรรยาย ถามปัญหา พักดื่มน้ำปานะ

    เวลา 14.00-16.30 เจริญจิตภาวนา เดินจงกรม อาบน้ำ ทำธุระส่วนตัว

    เวลา 16.30-17.00 ทำวัตรเย็น ลาศีล กลับบ้าน

    ---------------------------------------------------------------------------

    </B>รายละเอียดเพิ่ม และแผนที่ไปวัด
    เชิญคลิก
    เข้าปฏิบัติธรรม วันที่ 25-26 มิ.ย. 54 วัดราชสิทธาราม(พลับ) สมัครที่คอลัมน์ " แสดงความคิดเห็น" (รับ30


    :cool::cool::cool:
     
  4. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่][​IMG][/FONT]


    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]พระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ ฝ่ายเถรวาท ซึ่งถือตามคติที่พระอรหันต์พุทธสาวก ที่ได้วางหลักพระธรรมวินัย และธรรมปฏิบัติเป็นแบบแผนไว้เมื่อครั้งตติยสังคายนา และนับถือแพร่หลายมาในประเทศ ไทย พม่า ลังกา ลาว และกัมพูชา เป็นของเก่า สืบทอดต่อมาโดยสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร [/FONT][FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่](สุก ไก่เถื่อน) วัดราชสิทธาราม [/FONT]
    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]<O></O>[/FONT]

    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับนี้ เป็นของเก่าเล่าเรียนปฏิบัติ สืบต่อกันมาช้านาน แต่ครั้งพุทธกาลโดยพระราหุลเถรเจ้า ทรงเป็นต้นสาย สืบต่อมา ถึงครั้งตติยสังคายนา นำเข้ามาสู่ลังกา และนำเข้ามาสู่สุวรรณภูมิ โดยพระโสณเถรเจ้า พระอุตระเถรเจ้า พระองค์ท่านได้นำพระพุทธศาสนาเข้ามาเผยแพร่ในดินแดนสุวรรณภูมิ พร้อมพระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ผ่านยุคผ่านสมัยเรื่อยมาจนถึงยุคศรีทวารวดี [/FONT]
    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]<O></O>[/FONT]

    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]ต่อมาประมาณปีพระพุทธศักราช ๖๐๙[/FONT][FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]–๖๕๓ พระอุปติสสะเถรเจ้า แห่งลังกาทวีป ได้นำเอาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ซึ่งเป็นพระกรรมฐาน ภาคปฏิบัติ อันทรงจำสืบกันมา นำมาแต่งจารึกลงเป็นอักษร เรียงลำดับ เรียงหมวดหมู่พระกรรมฐานไว้เป็นภาคปริยัติ เรียกว่า คัมภีร์วิมุตติมรรค เพื่อให้ผู้ปฎิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ มาแล้ว ได้ศึกษาหาความรู้ภาคปริยัติในยุคต่อมา<O>[/FONT]

    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]</O>[/FONT][FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]การบอกพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ยังคงบอกต่อๆกันมา ในภาคปฏิบัติ และจำสืบกันมาเรื่อยๆ เพื่อป้องกันการชี้นำ และเกิดอุปาทาน และจิตหลอน จึงสืบต่อมาจนถึงยุคศรีทวารวดี ยุคสุโขทัย ยุคอยุธยา และยุครัตนโกสินทร์ [/FONT]<O></O>


    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]กระทั่งยุครัตนโกสินทร์นี้เอง พระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ได้เริ่มเสื่อมถอยลงเรื่อยๆ ประมาณปีพระพุทธศักราช ๒๓๖๔ พระสงฆ์ สามเณร ปะขาว ชี เริ่มประพฤติปฏิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา ออกนอกลู่ นอกทาง ของการปฏิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา แต่ก่อนมา ไม่ปฏิบัติเป็นขั้น เป็นตอน ทำให้พระพุทธศาสนาภาคปฏิบัติ ค่อยๆเสื่อมถอยลง [/FONT]


    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]ต่อมาล้นเกล้าฯรัชกาลที่ ๒ จึงได้ให้ชุมนุมพระสงฆ์ วิปัสสนา[/FONT][FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]-พระกรรมฐานมัชฌิมา มาร่วมกัน ทำสังคายนาพระกรรมฐานมัชฌิมาไว้ และทรงแต่งตั้งภิกษุ ไปเป็นพระอาจารย์บอกพระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ต่อจากนั้นสมถะ-วิปัสสนานากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ จึงได้มีมาจนทุกวันนี้ ซึ่งบางสมัยก็เจริญ บางสมัยก็เสื่อม โดยความไม่รู้ทั่วถึง จึงต้องมีการฟื้นฟู ผดุงรักษา พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ไว้<O></O>[/FONT]
    <O></O>
    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]ฉะนั้น โบราณจารย์ พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ แต่ปางก่อนทั้งหลาย จึงได้กล่าว เป็นคติพยากรณ์ถึงการรักษาแบบแผน การปฏิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ไว้เป็น ๓ คาบว่า[/FONT]
    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]<O></O>[/FONT]

    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]ลัชชี รักขิสสติ ภิกษุลัชชีจักรักษา[/FONT][FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่] <O></O>[/FONT]
    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]ลัชชีรักขิสสติ ภิกษุลัชชีจักรักษา[/FONT][FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่] <O></O>[/FONT]
    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]ลัชชีรักขิสสติ ภิกษุลัชชีจักรักษา [/FONT]


    <O></O>​
    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]ดังเช่น[/FONT][FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]..หลวงปู่สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรมหาเถรเจ้า (สุก ไก่เถื่อน) ดังนี้ เป็นต้น[/FONT]

    [FONT=พส. พิมพ์ดีด ๒ ใหม่]<O></O>[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 มิถุนายน 2011
  5. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    คำประกาศเกียรติคุณ


    [​IMG]
    พระครูสิทธิสังวร (วีระ ฐานวีโร)
    ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ(สาขาวิชาปรัชญา)



    พระครูสิทธิสังวร (วีระ ฐานวีโร) เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2492 ณ แขวงท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันอายุ 60 ปี ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ฝ่ายเผยแผ่และเจ้าคณะ 5 วัดราชสิทธารามราชวรวิหาร แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร

    ในฐานะพระอาจารย์ฝ่ายวิปัสสนาจารย์สอนกรรมฐานได้ทุ่มเทสติปัญญาในการอนุรักษ์ฟื้นฟู เผยแผ่พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ตามแนวสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน) มาโดยตลอด นับตั้งแต่เรียบเรียงคู่มือทำวัตรพระกรรมฐาน พระประวัติ สมถะมัชฌิมา วิปัสสนามัชฌิมา ของสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร (สุก ไก่เถื่อน) ฯลฯ และได้สร้างพิพิธภัณฑ์กรรมฐานสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร (สุก ไก่เถื่อน) เพื่อเก็บรักษาสิ่งของอันเป็นวัตถุโบราณอันล้ำค่า เช่นคัมภีร์พระกรรมฐานและยันต์โบราณ (ใบลาน) จัดการศึกษาอบรมเผยแผ่พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ แก่ภิกษุ สามเณร ประชาชนทั่วไป เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกด้านปรัชญาและโบราณคดีให้กับนักศึกษาปริญญาเอกจากประเทศฝรังเศสและประเทศอังกฤษ

    นอกจากนี้ยังได้จัดตั้งทุนการศึกษาและมอบทุนการศึกษาสงเคราะห์แก่คณะสงฆ์และนักเรียนเป็นประจำ จัดกิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนาในวันสำคัญต่างๆ จัดค่ายฝึกอบรมศีลธรรมแก่นักเรียนโรงเรียนวัดราชสิทธารามเป็นประจำทุกปี เป็นวิทยากรเทศนาอบรมธรรมะ ในมหาวิทยาลัยรามคำแหง พร้อมทั้งบริจาคเงินค่าวิทยากรทั้งหมด แก่มูลนิธิรังสรรค์ แสงสุข

    โดยเหตุที่พระครูสิทธิสังวร (วีระ ฐานวีโร) เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่อวงการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมของประเทศไทย สภามหาวิทยาลัยรามคำแหง จึงมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ (สาขาวิชาปรัชญา) เพื่อเป็นเกียรติสืบไป

    ---------------------------------------------------------------------------------------------------

    ที่มา คำประกาศเกียรติคุณ | Somdechsuk.org

    :cool::cool::cool:<!-- google_ad_section_end -->
     
  6. ระกาแก้ว

    ระกาแก้ว สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +0
    สมเด็จพระสังฆราช ไก่เถื่อน ทรงเป็นครั้งแรก ของกรุงรัตนโกสินทร์


    [​IMG]
    สมเด็จพระสังฆราช ไก่เถื่อน​


    สมเด็จพระสังฆราช ไก่เถื่อน ทรงเป็นครั้งแรก ของกรุงรัตนโกสินทร์ หลายอย่าง หลายประการ


    • ทรงเป็นพระอาจารย์ พระองค์แรก ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๑ทรง อาราธนามากรุงเทพฯ
    • ทรงได้รับแต่งตั้งเป็นที่ พระญาณสังวรเถร พระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็น พระราชาคณะผู้ใหญ่ ที่ พระญาณสังวร พระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็นเจ้าอาวาส พระองค์แรก ของวัดราชสิทธาราม ในยุคกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็น สมเด็จพระราชาคณะ ที่สมเด็จพระญาณสังวร พระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็นสมเด็จพระราชาคณะ พระองค์แรกที่นั่งหน้า สมเด็จพระสังฆราช องค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากมีพรรษากาลมากกว่า
    • ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชที่มาจาก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ พระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็นองค์ประธานสังคายนาพระกรรมฐาน พระองค์แรก ของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็นพระสงฆ์ และสมเด็จพระสังฆราช พระองค์แรก ที่ได้รับพระราชทานพระโกศทองใหญ่
    • ทรงได้รับพระราชทานพระโกศทองใหญ่ พระองค์แรก ของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็น พระองค์แรก ทีมีลูกศิษย์ เป็นพระสังฆราชถึง ๕ พระองค์
    • ทรงเป็น พระองค์แรก ที่มีลูกศิษย์ เป็นสมเด็จราชาคณะ ถึง ๑๐ พระองค์
    • พระเจ้าแผ่นดินทรงให้ช่างปั้นรูปเหมือนของพระองค์เป็น พระองค์แรก ของกรุงรัตนโกสินทร์ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช ที่เป็นพระอริยบุคคลชั้นสูง พระองค์แรก ของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็นพระอาจารย์ของพระเจ้าแผ่นดินถึง ๔ พระองค์เป็น พระองค์แรกและองค์สุดท้ายของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็นพระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ พระองค์แรก ของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช ที่พระอัฏฐิธาตุ พระเกสาธาตุ พระอังคารธาตุแปรเป็นพระธาตุ พระองค์แรก ของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงพระราชทานฉัตรเจ็ดชั้น เมื่อคราวออกพระเมรุ ณ ท้องสนามหลวง เป็น พระองค์แรก ของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงได้รับพระราชทาน พัดสองด้าม พัดแฉกใบสาเก ฝ่ายคันถธุระ๑พัดงาสาน ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ๑ ครั้งเป็นสมเด็จราชาคณะ พระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงได้รับพระราชทาน พัดสองด้าม พัดแฉกใบสาเก ฝ่ายคันถธุระ ๑ พัดงาสานฝ่ายวิปัสสนาธุระ ๑ครั้งเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ จึงถือเป็นประเพณีสืบมา ทรงโปรดพระราชทานสมเด็จพระสังฆราช องค์ต่อมาด้วย มายกเลิกในรัชกาลที่๕
    • ทรงพระราชทาน ผ้ารัดประคตพระอุระ (อก) หนามขนุนสีทองพระองค์แรก ของกรุงรัตนโกสินทร์
    • ทรงพระราชทานของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวถึงสามพระองค์เป็น พระองค์แรก ของกรุง รัตนโกสินทร์ ทรงถวายพระตระ-กรุตมหาจักรพรรคิ์ และสมเด็จพระอรหัง แด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑ ถวายสมเด็จพระอรหัง แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๒ รัชกาลที่ ๓
    • ทรงเป็นพระสงฆ์ปาปมุต พ้นจากบาปทั้งปวง พระองค์แรก ของกรุงรัตนโกสินทร์ ส่วนองค์ที่ ๒ คือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต)



    [​IMG]
    พัดแฉกใบสาเก ฝ่ายคันถธุระ​
     
  7. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ
    ของสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร มหาเถรเจ้า (สุก ไก่เถื่อน)



    สอนครบ ทั้งสมถกรรมฐานให้ครบทั้ง 40 กอง


    วิปัสสนากรรมฐาน คือ มหาสติปัฏฐานครบทั้ง 4 หมวด
    และยอดวิชาแห่งการเจริญเมตตาธรรม คือ ออกบัวบานพรหมวิหาร




    โดยมีวิธีการสอนที่เป็นขั้นตอน เป็นไปตามลำดับ ไม่ข้ามขั้นตอน
    ตามสภาวะจิตจากหยาบไปละเอียดจนถึงที่สุดแห่งธรรม​

    -----------------------------------------------------------






    ขั้นตอนการปฏิบัติพระกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ






    <O:pสมถะกรรมฐาน มัชฌิมาแบบ ลำดับ
    รูปกรรมฐาน ตอน ๑
    <O:p๑.ห้องพระปีติห้า
    <O:p๒.ห้องพระยุคลหก
    <O:p๓.ห้องพระสุขสมาธิ
    <O:pพระกรรมฐาน ๓ ห้องนี้เป็นพระกรรมฐาน สำหรับฝึกตั้งสมาธิ เป็นพระกรรมฐานต่อเนื่องของจิต
    จากจิตหยาบ ไปหาจิตที่ละเอียด ถึงขั้นอุปจารสมาธิเต็มขั้น หรือ เรียกว่ารูปเทียมของปฐมฌาน สอบนิมิต เป็นอารมณ์

    <O:p<O:p
    รูปกรรมฐาน ตอน ๒
    <O:p๔.ห้อง อานาปานสติ ๙ จุด ทำให้จิตละเอียดขึ้น ถึงอัปปนาสมาธิ หรืออัปปนาฌาน<O:p</O:p
    ๕.ห้อง กายคตาสติกรรมฐาน
    <O:p๖.ห้องกสิณ ๑๐ ประการ
    <O:p๗.ห้องอสุภ ๑๐ ประการ เพื่อละราคะ
    <O:p๘.ห้องปัญจมฌาน
    <O:pห้องพระอานาปานกรรมฐาน ถึงห้องปัญจมฌาน เป็นรูปกรรมฐาน สอบนิมิต เป็นพระกรรมฐานต่อเนื่องใน<O:pกายคตาสติกรรมฐาน และกายานุปัสสนาสติปัฎฐาน
    <O:pพระโยคาวจร ผู้เจริญอานาปานสติ เจริญอาการ ๓๒ เจริญกสิณ ๑๐ ประการ เจริญอสุภะ ๑๐ ประการ <O:pเจริญปัญจมฌาน
    พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า เป็นการเจริญกายคตาสติกรรมฐานทั้งสิ้น ย่อมได้รับอานิสงส์<O:pมากมาย เปรียบเหมือน น้ำเต็มขอบสระ กาบินมาแต่ทิศใดย่อมดื่มกินน้ำได้ทุกทิศ

    <O:p<O:p
    อรูปกรรมฐาน (สอบสภาวธรรม)
    <O:p๙.ห้อง อนุสสติ เจ็ดประการ เป็นคุณธรรม ของพระโสดาบัน
    <O:p๑๐.ห้อง อัปปมัญญาพรหมวิหาร
    <O:p๑๑. ห้อง อาหาเรปฎิกูลสัญญา<O:p
    ๑๒.ห้อง จตุธาตุววัฏฐาน
    <O:p๑๓.ห้อง อรูปฌาน
    <O:pตั้งแต่ห้อง อนุสสติ ๗ ประการ ถึงห้องอรูปฌาน เป็นอรูปกรรมฐาน สอบอารมณ์ สอบสภาวธรรม <O:pจิตได้สภาวธรรมเต็มที่
    การเจริญวิปัสสนา ก็แจ่มแจ้งยิ่งขึ้น


    เมื่อจะขึ้นวิปัสสนาฌาน ให้ทำฌานสมาบัติแปด
    ถอยมาถึง ตติยฌาน แล้วเจริญ พระวิปัสสนา
    <O:p





    (จบสมถะ)


    <O:p
    วิปัสสนากรรมฐาน มัชฌิมาแบบ ลำดับ
    <O:p๑.เจริญวิสุทธิเจ็ดประการ เอาองค์ฌาน เป็นบาทฐาน<O:p
    ๒.พระไตรลักษณะญาณ ๓<O:p
    ๓.พระอนุวิปัสสนา ๓<O:p
    ๔.พระวิโมกข์ ๓ ประการ<O:p
    ๕.พระอนุวิปัสสนาวิโมกข์ ๓
    ๖.พระวิปัสสนาญาณ ๑๐<O:p
    ๗.พระโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ เป็นบาทรองรับวิปัสสนา<O:p
    ๘.สัญโญชน์ ๑๐ เพื่อให้รู้กิเลสที่จะละ<O:p
    ๙.ออกบัวบานพรหมวิหาร เจริญเพื่อละพยาบาท เป็นหนทางสู่ มรรค ผล นิพพาน






    <O:p
    (จบ-สมถะ-วิปัสสนามัชฌิมา แบบลำดับ)






    ---------------------------------------------------------------------------------------------------





    ขอบพระคุณที่มา
    เว็บสมเด็จสุก
    Somdechsuk.org | เวทาสากุ


    :cool::cool::cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 มิถุนายน 2011
  8. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    เชิญเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์กรรมฐาน สมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน)
    วัดราชสิทธาราม(พลับ)

    </B>นมัสการพระรูปสมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน)
    และ พระรูปสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) ผู้เป็นศิษย์ของสมเด็จฯสุก ไก่เถื่อน

    </B>ชมสมบัติสุดล้ำค่า ของพระพุทธศาสนา และของชาติไทย หนึ่งเดียวในโลก
    ตั้งแต่สมัยพุทธกาล จนถึง สุโขทัย อยุธยา และยุคต้นรัตนโกสินทร์
    </B>เช่น ธารพระกร(ไม้เท้า)ของพะรพุทธเจ้า คัมภีร์ใบลานโบราณ ฯลฯ

    </B>ณ พิพิธภัณฑ์ คณะ 5
    วัดราชสิทธาราม ซ.อิสระภาพ 23
    แขวงวัดอรุณเขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600

    ทุกวัน เวลา 8.30 - 18.30 น.

    ------------------------------------------------------------------

    รายละเอียดเพิ่ม และแผนที่ไปวัด
    เชิญคลิก
    http://somdechsuk.org/node/157
     
  9. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ที่มาของคำว่า "กรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ"

    ทุติยสังคายนา
    ปรารภเรื่องภิกษุวัชชีบุตร แสดงวัตถุ ๑๐ ประการนอกธรรมนอกวินัย พระยศกากัณฑกบุตร เป็นผู้ชักชวนให้พระอรหันต์ ๗๐๐ รูป ใน ๗๐๐ รูปนั้นมี พระมันลิกะเถรเจ้า รวมอยู่ด้วย พระเรวตะเป็นผู้ถาม พระสัพพกามี เป็นผู้วิสัชชนา ประชุมทำที่วาสิการาม เมืองเวสาลี

    เมื่อพุทธกาลล่วงแล้วได้ ๑๐๐ ปี โดยพระเจ้ากาลาโศกราช เป็นศาสนูปถัมภก ทำสิ้นเวลา ๘ เดือนจึงเสร็จพระมันลิกะเถรเจ้า บอกพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ให้แก่สัทธิวิหาริกสืบต่อมา คือ พระโสณกะเถรเจ้า พระโสณกะเถรเจ้า บอกพระกรรมฐานมัชฌิมา ให้กับ พระสิคควะเถรเจ้า และพระจัณฑวัชชีเถรเจ้า พระสิคควะเถรเจ้า บอกพระกรรมฐานมัชฌิมาให้กับ พระโมคลีบุตรติสสะเถรเจ้า และพระโสนันตะเถรเจ้า พระจัณฑวัชชี บอกพุทธพจน์ให้กับ พระโมคคัลลีบุตติสสะเถรเจ้า และพระโสนันตะเถรเจ้า พระโมคลีบุตรติสสะเถรเจ้า ขึ้นพระกรรมฐานมัชฌิมาให้กับ พระโสณเถรเจ้า และพระอุตระเถรเจ้า และให้สอบอารมณ์กับ พระโสนัตตเถรเจ้า

    ต่อมาพระโสณเถรเจ้า บอกพระกรรมฐานมัชฌิมาให้กับ พระชาลตะเถรเจ้า พระกิตตระเถรเจ้า พระภูริยะเถรเจ้า พระ อุตระเถรเจ้า บอกกรรมฐานให้กับ พระญาณเถรเจ้า พระมหาเถรทั้ง ๔ พระองค์ได้เข้าร่วม ตติยสังคายนา คือ ๑.พระโมคคัลลีบุตติสสะ ๒.พระโสนันตะเถร ๓.พระโสณเถร ๔.พระอุตรเถร


    [​IMG]

    พระพุทธศาสนา ยุคหลังพุทธกาล ครั้งตติยสังคายนา

    พุทธกาล ล่วงแล้วได้ประมาณ ๒๑๖ ปี ก่อนตติยสังคายนา จึงหมดพระกรรมฐานแบบสันโดดคือ การเจริญพระกรรมฐานแบบกองใดกองหนึ่ง อย่างใด อย่างหนึ่ง ของพระมหาสาวกทั้งหลาย เหลือแต่พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ เป็นพระกรรมฐานทางสายกลาง ของพระราหุลเถรเจ้า

    เหตุที่เรียกพระ กรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ

    เพราะ เป็นพระกรรมฐานที่ไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง ในพระสมถกรรมฐานทั้ง ๔๐ กอง และเรียนเป็นลำดับไปจนครบ ๔๐ กอง เป็นการรวบรวมเอาพระสมถะกรรมฐานทั้ง ๔๐ กอง และวิปัสสนาทั้งมวลไว้ในที่เดียวกันเพื่อไม่ให้พระสมถะกรรมฐาน ๔๐กอง และพระวิปัสสนาทั้งมวล แตกกระจายสูญหายไปในทางปฏิบัติ (คือไม่เหลือ แต่ตำรา) อีกทั้งไม่ให้ความสำคัญกับพระกรรมฐานกองใด กองหนึ่ง พระกรรมฐานแบบมัชฌิมา แบบลำดับ อันเป็นของ พระผู้เป็นเอตทัคคะ เป็นเลิศทาง เป็นผู้ใคร่ในการศึกษา ศีล สมาธิ ปัญญา คือ พระราหุลเถรเจ้า

    ตติย สังคายนา ปรารภเดียรถีย์มากมาย ปลอมบวชในพระพุทธศาสนา เพราะมีลาภสักการะเกิดขึ้นมาก พระอรหันต์ ๑,๐๐๐ รูป พระโมคคลีบุตรติสสะเถรเป็นประธาน ขณะนั้นพระชนมายุได้ ๑๑๘ พรรษา (ชนมายุ ๑๒๐ ปีจึงเข้านิพพาน) ประชุมทำสังคายนากันที่อโศการาม เมืองปาฏลีบุตร ประมาณปีพระพุทธศักราช ๒๓๔ โดยพระเจ้าอโศกมหาราช หรือพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ทรงเป็นองค์ศาสนูปถัมภพ สิ้นเวลา ๙ เดือนจึงเสร็จ

    พระโม คคลีบุตรติ สสะเถรเจ้า ประสูติในเรื่อนของ นางโมคคลีพราหมณ์ ได้นามว่า ติสสะมานพ ชนมายุได้ ๑๖ พรรษา พระสิคควะเถร นำติสสะมานพ ออกบวชในพระพุทธศาสนา เพื่อเรียน พุทธมนต์ ติสสะมานพ บรรพชาแล้ว ได้บอกพระกรรมฐานมัชฌิมา เบื้องต้น มีปีติทั้งห้า พระยุคลทั้งหก สุขสมาธิสองให้สามเณรติสสะ เธอทำบริกรรม พุทโธ ในห้องพุทธานุสสติกรรมฐานนั้นอยู่ ละสักกายทิฎฐิ ละความสงสัยพระรัตนไตร ดำรงอยู่ในโสดาปัตติผลแล้ว

    พระอาจารย์ คิดว่า ถ้าบอกพระกรรมฐานเพิ่มให้แก่สามเณรติสสะ เธอจะมีความขวนขวายน้อย ในการที่จะเรียนเอา พุทธพจน์
    พระ สิคควะเถร จึงส่งสามเณรติสสะ ไปเรียนพุทธพจน์ จาก พระจัณฑวัชชีเถรเจ้า ติสสะสามเณร ได้เรียนเอาพุทธพจน์นั้นทั้งหมด ยกเว้นวินัยปิฎก อุปสมบทแล้วยังไม่ได้พรรษา ทรงพระไตรปิฎก ครั้นพระอาจารย์ และอุปัชฌายะ นิพพานแล้ว ทรงเจริญกรรมฐานมัชฌิมาต่อจนจบตามลำดับ และบรรลุพระอรหันต์ และได้บอกพระกรรมฐานมัชฌิมา และพระพุทธพจน์ ธรรมวินัย แก่ภิกษุเป็นจำนวนมาก พระโมคคลีบุตรติสสะ เป็นพระอุปัชฌาย์ ของพระมหินท์เถรเจ้า พระโสณเถรเจ้า พระอุตรเถรเจ้า


    ที่มา (ตัดตอนจาก)
    ตำนานการสืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ของพระราหุลเถรเจ้า
    สืบต่อมาจนถึง สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร (สุก ไก่เถื่อน)
    พระครูสังฆรักษ์วีระ ฐานวีโร เรียบเรียง.



    สามารถอัพเดทข้อมูลที่น่าสนใจ ด้วยการ "ถูกใจ" แฟนเพจ Facebook ได้ที่

    เวทาสากุ (กรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ วัดราชสิทธาราม)<!-- google_ad_section_end -->
     
  10. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ความยิ่งใหญ่ในอดีตของ พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ (ตามแนวสมเด็จฯ สุก ไก่เถื่อน)

    ประวัติความเป็นมา
    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ


    <O:p


    [​IMG]
    V
    V


    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ของ พระราหุลเถระเจ้า องค์ต้นพระกรรมฐานมัชฌิมา


    V
    V
    [​IMG]


    สืบทอดต่อมา โดย สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเถระเจ้า (สุก ไก่เถื่อน)
    V
    V



    [​IMG]



    สู่ พระครูสิทธิสังวร (วีระ ฐานวีโร ผจล.ซอ.วิ.) ผู้บอกวิชชาพระกรรมฐาน ยุคปัจจุบัน


    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับนี้ เป็นของเก่าเล่าเรียนปฏิบัติ สืบต่อกันมาช้านาน แต่ครั้งพุทธกาล พระราหุลมหาเถระ (อสีติมหาสาวกสมัยพุทธกาล) ทรงเป็นต้นสาย สืบต่อมา ถึงครั้งตติยสังคายนา นำเข้ามาสู่ลังกา ต่อมาประมาณปีพระพุทธศักราช ๖๐๙–๖๕๓ พระอุปติสสะเถรเจ้า แห่งลังกาทวีป ได้นำเอาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ซึ่งเป็นพระกรรมฐาน ภาคปฏิบัติ อันทรงจำสืบกันมา นำมาแต่งจารึกลงเป็นอักษร เรียงลำดับ เรียงหมวดหมู่พระกรรมฐานไว้เป็นภาคปริยัติ เรียกว่า คัมภีร์วิมุตติมรรค เพื่อให้ผู้ปฎิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ มาแล้ว ได้ศึกษาหาความรู้ภาคปริยัติต่อไป

    <O:pต่อมาประมาณปีพระพุทธศักราช ๙๕๖ พระพุทธโฆสะ ได้นำคัมภีร์วิมุตติมรรค มาแต่งเป็น พระคัมภีร์วิสุทธิมรรค เพื่อแสดงปัญญา ให้ได้มาซึ่งคัมภีร์อรรถคาถา แต่การบอกพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ยังคงบอกต่อๆกันมา ในภาคปฏิบัติ และจำสืบกันมาเรื่อยๆ เพื่อป้องกันการชี้นำ และเกิดอุปาทาน และจิตหลอน และสืบต่อมาเรื่อยๆ

    <O:pในเวลาประมาณปีพระพุทธศักราช ๒๕๖-๒๗๔ พระเจ้าอโศกมหาราช ส่งคณะพระโสณเถรเจ้า พระอุตระเถรเจ้า พร้อมพระสงฆ์ทศวรรค เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนา พร้อมกับถ่ายทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ในดินแดนสุวรรณภูมิ คือ ไทย พม่า ลาว เขมร ในปัจจุบันนี้ พระสงฆ์ได้สืบทอดพระพุทธศาสนา และพระธรรมวินัย สืบกันเรื่อยมา จวบจนถึงปัจจุบันนี้ พระสงฆ์ที่อยู่วัดใกล้บ้าน เรียกว่าพระสงฆ์คามวาสี พระสงฆ์ที่อยู่วัดในป่า เรียกว่าพระสงฆ์อรัญวาสี พระสงฆ์ที่อยู่วัดคามวาสี และวัดอรัญวาสี ต้องศึกษาพระธรรมวินัยทั้งปริยัติ และปฏิบัติควบคู่กันไป ไม่มีการแบ่งแยกทางการศึกษาว่าจะศึกษาทางไหนก่อนหลัง แต่ถ้าจะศึกษาทางปฏิบัติต้องไปยังสำนักพระกรรมฐานหลัก สำนักพระกรรมฐานใหญ่ อันเป็นศูนย์กลางของการปฏิบัติพระกรรมฐาน เจริญภาวนา ในยุคต่างๆ เช่น

    <O:pยุคสุวรรณภูมิ
    สำนักกรรมฐานหลัก สำนักพระกรรมฐานใหญ่ คือ วัดท้าวอู่ทอง เมืองสุวรรณสังข์ (เมืองอู่ทอง) มีพระโสณเถร พระอุตรเถร เป็นเจ้าสำนัก
    ยุคสุวรรณภูมิพระอาจารย์ใหญ่กรรมฐานประจำยุคคือ พระโสณเถร พระอุตรเถร

    <O:pยุคกรุงศรีทวาราวดี
    สำนักพระกรรมฐานหลัก สำนักพระกรรมฐานใหญ่คือ วัดแสนท้าวโคตร
    กรุงศรีทวาราวดี มีพระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า เป็นเจ้าสำนัก
    <O:pเป็นศูนย์กลางของพระกรรมฐานในยุคอาณาจักรศรีทวาราวดี สำนักเล็ก คือ
    <O:pวัดพญาราม ศรีทวาราวดี วัดสุวรรณาราม กรุงศรีทวาราวดี ฯ
    <O:pยุคศรีทวาราวดี พระอาจารย์กรรมฐานประจำยุคคือ พระราชสามีรามมหาเถรเจ้า (เพชร)

    <O:pยุคกรุงสุโขทัย
    สำนักพระกรรมฐานหลัก สำนักพระกรรมฐานใหญ่คือ วัดป่าแก้ว
    <O:pมีพระวันรัตมหาเถรเจ้า เป็นเจ้าสำนัก เป็นศูนย์กลางพระกรรมฐาน ในยุคอาณาจักรสุโขทัย
    <O:pสำนักพระกรรมฐานเล็กในยุคสุโขทัย เช่น วัดป่ารัตนา พระครูญาณไตรโลกเป็นเจ้าสำนัก
    <O:pวัดสุทธาวาส พระครูญาณสิทธิ เป็นเจ้าสำนักฯ<O:p
    ยุคสุโขทัย พระอาจารย์กรรมฐานประจำยุคคือ พระญาณสุวรรณมหาเถรเจ้า (สิงห์)<O:p
    <O:p

    ยุคกรุงศรีอยุธยา
    วัดป่าแก้ว หรือเรียกกันอีกอย่างว่า วัดเจ้าพญาไท เป็นสำนักพระกรรมฐานหลัก สำนักพระกรรมฐานใหญ่ พระพนรัตน พระสังฆราช ฝ่ายซ้าย เป็นพระอาจารย์<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>ใหญ่ เป็นเจ้าสำนัก <O:p
    เป็นศูนย์กลางพระกรรมฐาน ในยุคอาณาจักรอยุธยา <O:p
    มีสำนักพระกรรมฐานเล็กๆสิบกว่าวัด ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เช่น <O:p
    วัดศรีอโยธยา พระพากุลเถร เป็นเจ้าสำนัก ๑วัดโบสถ์ราชเดชะ พระพุทธาจารย์ เป็นเจ้าสำนัก ๑ <O:p
    วัดโรงธรรมพระญาณไตรโลกเป็นเจ้าสำนัก๑ วัดกุฎ พระอุบาลี เป็นเจ้าสำนัก๑ <O:p
    วัดเจ้ามอน พระญาณโพธิ เป็นเจ้าสำนัก ๑ วัดประดู่ พระธรรมโกษา เป็นเจ้าสำนัก๑ <O:p
    วัดกุฎีดาว พระเทพมุนี เป็นเจ้าสำนัก๑ วัดสมณะโกฎ พระเทพโมฬี เป็นเจ้าสำนัก ๑ <O:p
    วัดมเหยงค์ พระธรรมกิติ เป็นเจ้าสำนัก๑ ฯ <O:p
    นับว่าสมัยกรุงศรีอยุธยา มีวัดอรัญวาสี เป็นสำนักพระกรรมฐาน<O:p
    มาก เปรียบเทียบได้ว่ามี มหาวิทยาลัยพระกรรมฐานทางพระพุทธศาสนามาก<O:p
    ยุคอยุธยา พระอาจารย์ใหญ่กรรมฐานประจำยุคคือ พระพนรัต(รอด) หรือหลวงปู่เฒ่า พระสังฆราชา ฝ่ายอรัญวาสี
    <O:p
    <O:p
    ยุคกรุงรัตนโกสินทร์
    มีวัดอรัญวาสีสำนักพระกรรมฐานหลัก สำนักพระกรรมฐานใหญ่ ๑ วัด <O:p
    คือ วัดราชสิทธาราม(พลับ) สมเด็จพระสังฆราชไก่เถื่อน (สุก) เป็นเจ้าสำนัก เป็นพระอาจารย์ใหญ่ <O:p
    ประจำกรุงรัตนโกสินทร์ <O:p
    วัดราชสิทธาราม จึงเป็นศูนย์กลางของกรรมฐานมัชฌิมา ประจำกรุงรัตนโกสินทร์ <O:p
    มีสำนักเล็กคือ วัดราชาธิวาสพระปัญญาวิศาลเถร (ศรี) เป็นเจ้าสำนัก<O:p
    ยุครัตนโกสินทร์พระอาจารย์<st1:personName w:st="on" ProductID="กรรมฐานประจำยุคคือ สมเด็จพระสังฆราช">กรรมฐานประจำยุคคือ สมเด็จพระสังฆราช</st1:personName> ไก่เถื่อน (สุก) <O:p
    <O:p
    ซึ่งแต่ละยุคมีการศึกษาพระกรรมฐานมัชฌิมา เป็นแบบเดียวกัน เป็นทางเดียวกัน จนกระทั้งถึงบัดนี้ <O:p
    โดยมีพระอาจารย์ใหญ่ ฝ่ายพระกรรมฐานมัชฌิมาสืบทอดมาโดยไม่ขาดสาย ไม่ขาดระยะมาถึง ๑๒ รุ่น บางยุคก็เจริญ บางยุคก็เสื่อมลงบ้าง เป็นไปตามหลักของพระไตรลักษณ์ <O:p
    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ของกรุงรัตนโกสินทร์นี้นำสืบทอดมาจากกรุงศรีอยุธยา สู่กรุงรัตนโกสินทร์ โดยการนำมาประดิษฐานของสมเด็จพระสังฆราช ไก่เถื่อน วัดราชสิทธาราม(พลับ) <O:p
    <O:p
    ซึ่งต่อมาถึงรัชสมัยรัชกาลที่ ๒ ในปีพระพุทธศักราช ๒๓๖๔ ทรงมีพระราชดำริว่า พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ของเก่าดั่งเดิม กำลังจะแตกกระจาย ไปเป็นสายต่างๆ โดยรู้เท่าไม่ถึงการ และการศึกษาพระ<O:p
    กรรมฐานภาคปฏิบัติจะไม่เป็นระเบียบแบบแผน เป็นลำดับเหมือนแต่ก่อน ว่าพระกรรมฐานไหน ควรเรียนก่อน กรรมฐานไหน ควรเรียนหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระพุทธเลิศหล้านภาลัย <O:p
    รัชกาลที่ ๒ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำการชุมนุมพระอริยสงฆ์สมถะ-วิปัสสนา ทั้งนอกกรุง<O:p
    ในกรุง ทำการสังคายนาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ เพื่อรักษาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ มิให้แตกกระจาย สูญหาย ทำให้เป็นปึกแผ่นเหมือนดังแต่ก่อน สังคายนาโดยพระอริยสงฆ์ผู้สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับโดยมี สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร (สุก ไก่เถื่อน) เป็นองค์ประธานสังคายนาฝ่ายสงฆ์ เมื่อสังคายนาเสร็จแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งพระสงฆ์ ปะขาว ชี<O:p
    ไปเป็นพระอาจารย์ บอกพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ตามพระอารามต่างๆ พระกรรมฐานมัชฌิมา จึงได้สืบทอดมาจนทุกวันนี้ <O:p
    <O:p
    แต่ในปัจจุบันนี้เอง พระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ได้เริ่มเสื่อมถอยลงเรื่อยๆ พระสงฆ์ สามเณร ปะขาว ชี เริ่มประพฤติปฏิบัติพระกรรมฐาน ออกนอกลู่ นอกทาง ของการปฏิบัติแต่ก่อนมา<O:p
    สำหรับสำนักวัดราชาธิวาสนั้น เมื่อพระปัญญาวิศาลเถร(ศรี) มรณภาพลงแล้ว พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ก็เสื่อมลงเรื่อยๆ ซึ่งปัจจุบันหมดไปแล้ว มีแบบแผนใหม่เข้ามาแทนที่ เนื่องจากอยู่ในที่ใกล้ความเจริญมากกว่า (ฝั่งกรุงเทพฯ) ต่อมาเหลือเพียงวัดราชสิทธาราม(พลับ) เพียงวัดเดียว ที่รักษาแบบแผน และ<O:p
    ความเป็นสำนักพระกรรมฐานใหญ่ สำนักพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับเป็นหลัก ไว้ได้ยาวนานที่สุด<O:p
    <O:p
    โบราณจารย์ พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ แต่ปางก่อนทั้งหลาย จึงได้กล่าว เป็นคติพยากรณ์ถึงการรักษาแบบแผน การปฏิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ไว้เป็น ๓ คาบว่า<O:p

    ลัชชี รักขิสสติ ภิกษุลัชชีจักรักษา ลัชชีรักขิสสติ ภิกษุลัชชีจักรักษา ลัชชีรักขิสสติ ภิกษุลัชชีจักรักษา ดังเช่น..หลวงปู่สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรมหาเถรเจ้า (สุก ไก่เถื่อน) ดังนี้ เป็นต้น<O:p
    <O:p
    ดังนั้นจึงขอเชิญเหล่าท่านพระสงฆ์ สามเณร นักปราชญ์ ราชบัณฑิต ชาวพุทธ ผู้เคารพบูชาใน สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร (สุก ไก่เถื่อน) ได้เมตตาช่วยกันทำนุบำรุงอนุรักษ์พุทธวิธี เจริญพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ อันเป็นแบบแผนเดิมแท้ ไว้เป็น พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา สืบไปตราบเท่านานเถิด



    :cool::cool::cool:
    <O:p


    <!-- google_ad_section_end -->
     
  11. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    พระคาถาพระยาไก่เถื่อน องค์คุณแห่งมหาเมตตา ปลดปล่อยสัตว์ และดวงจิตตัวเอง

    พระคาถาพระยาไก่เถื่อน
    องค์คุณแห่งมหาเมตตา ปลดปล่อยสัตว์ และดวงจิตตัวเอง



    คำถวายนมัสการ<O:p
    <O:p

    ข้าบังคมพระบาทบรมนาถผู้ทรงญาณ

    พระธรรมอันพิศดารทั้งพระสงฆ์อันบวร

    ข้าเชิญพระญาณสังวรเจ้ามาปกเกล้าฯปกเกษี

    ชัยชนะแก่โลกีย์ทั้งภัยพาลอันตราย
    ขอให้พบพระพุทธศาสนาด้วยศรัทธาอันพากเพียร
    รู้แจ้งคัมภีร์เรียนสมถะ-วิปัสสนาทุกชาติไป
    ขอเชิญคุณครูบามารักษาให้มีชัย
    ดลจิตบันดาลใจสำเร็จทุกประการ
    สิทธิกิจจังสิทธิกัมมังสิทธิการิยะตะถาคะโต <?xml:namespace prefix = v /><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>
    สิทธิเตโชชโยนิจจังสิทธิลาโภนิรันตะรัง
    สัพพกัมมังประสิทธิเมสัพพสิทธิภะวันตุเม
    <O< font></O< font><O:p








    พระครูสังฆรักษ์วีระฐานวีโร


    ๕ธันวาคม๒๕๔๖<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1029 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape></O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1030 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape><O:p



    พระคาถาพระยาไก่เถื่อน สมเด็จพระสังฆราช สุกไก่เถื่อน ท่านได้รับประสิทธ์แต่พระเถรวุฒาจารย์ กล่าวว่าเป็นพระคาถานำ พระคาถาทั้งปวงใช้ในทางสำเร็จประโยชน์ ผู้ใช้พระคาถานี้ต้องมีสมาธิจิตเป็นเอกัคตาจิตขั้นสูง ถึงเมตตาเจโตวิมุตติ จึงจะใช้พระคาถานี้ได้เพราะเป็นพระคาถามหาเมตตา ปลดปล่อยสัตว์ และปลดปล่อยจิต ตัวเองพระคาถาว่าดังนี้<?XML:NAMESPACE PREFIX = O<v /><O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1031 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape>





    <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>
    เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1034 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape></O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1035 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape>
    ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1036 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape></O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1037 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape>
    สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1038 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape></O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1039 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape>
    กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ


    <O:pพระธรรมพระคาถาพระยาไก่เถื่อนเกี่ยวเนื่องกับไก่ป่า ไก่ป่าเป็นไก่ปราดเปรียว คอยหนีคน หนีภัยอย่างเดียวเหมือนกับ จิต ของคน ไก่ป่าเชื่องคนยาก เหมือนจิตของคนเรา ก็เชื่องต่ออารมณ์ยากมากเหมือนกัน ไก่ป่าแม้เสกข้าวด้วยเมตตาให้กิน แรกๆมันก็จะไม่กล้า เข้ามาหาคน นานๆเข้าจึงจะกล้าเข้าหาคนเหมือนจิตคนเรา ก็ชอบท่องเที่ยว ไปไกลตามธรรมารมณ์ต่างๆฝึกตั้งจิตเป็นสมาธิแรกๆนั้น จิตมักจะอยู่ พักเดียว ก็เตลิดไป ต่อนานๆไปเมื่อจิตชินต่ออารมณ์ดีแล้ว จึงจะเชื่อง และตั้งมั่นเป็นสมาธิ<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1040 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape></O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1041 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape>
    <O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1042 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape>

    พระคาถาไก่เถื่อน ๔ วรรค แต่ละวรรค หากภาวนากลับไป กลับมา เป็นอนุโลมปฏิโลม หมายถึงอะไร<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1043 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape></O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1044 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape>
    แต่ละวรรคหมายถึงโลกธรรมแปด<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1045 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape></O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1046 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>
    [FONT=Tahoma]วรรค ๑ หมายถึง มีลาภ[/FONT][FONT=Tahoma]เสื่อมลาภ[/FONT][FONT=Arial]<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1047 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial] <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[FONT=Arial]</O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1048 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[/FONT][/FONT]
    [FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]วรรค ๒ หมายถึงมียศ[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]เสื่อมยศ[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=black][FONT=Verdana][FONT=Arial]<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1049 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial] <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[FONT=Arial]</O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1050 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR]
    [FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]วรรค ๓ หมายถึง มีสรรเสริญ[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ก็มีนินทา[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=black][FONT=Verdana][FONT=Arial]<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1051 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial] <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[FONT=Arial]</O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1052 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR]
    [FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]วรรค ๔ หมายถึง มีสุข[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ก็มีทุกข์ ทุกอย่างย่อมแปรปรวน มีดี และมีชั่ว ไม่แน่นอน ไม่ควรยึดติด มีหยาบ[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]มีละเอียด[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Verdana][FONT=Arial]<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1055 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[FONT=Arial]</O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1056 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR]

    [FONT=Verdana][COLOR=#00b050][FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ผู้ที่จะได้บรรลุมรรค ผล[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]นิพพานต้องประกอบด้วยคุณสมบัติอันเปรียบเทียบได้กับ องค์คุณแห่ง ไก่ หรือไก่ป่า มี[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๕ ประการ ดังนี้คือ[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=black][FONT=Verdana][FONT=Arial]<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1057 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial] <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[FONT=Arial]</O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1058 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR]
    [FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๑[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial].[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]เมื่อเวลายังมืดอยู่ ก็ไม่บินลง หากิน[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial]<O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1059 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]
    [FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๒[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial]. [/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]พอสว่าง ก็บินลง หากิน[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial]<O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1061 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]
    [FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๓[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial].[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]จะกินอาหาร ก็ใช้เท้าเขี่ยเสียก่อน[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]แล้วจึงจิกกิน[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial]<O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1063 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]
    [FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๔[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial].[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]กลางวันมีตาใสสว่างเห็นอะไรได้ถนัดแต่เวลากลางคืนตาฟางคล้ายคนตาบอด[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial]<O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1065 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]
    [FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๕[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial]. [/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]เมื่อถูกเขาขว้างปา[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]หรือถูกตะเพิดไม่ให้เข้ารัง ก็ไม่ทิ้งรังของตน[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial] <O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1067 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]
    [COLOR=#00b050][FONT=Verdana][FONT=Arial]<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1069 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[FONT=Arial]</O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1070 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR]

    [FONT=Verdana][COLOR=#00b050][FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]นี้เป็นองค์คุณ[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๕ ประการของไก่ผู้มุ่งมรรค ผล ต้องประกอบให้ได้ กับคุณสมบัติ[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]อันเปรียบเทียบได้กับองค์คุณเหล่านี้คือ[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=black][FONT=Verdana][FONT=Arial]<O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1071 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial] <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[FONT=Arial]</O< font><v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1072 alt="" type="#_x0000_t75">[FONT=Arial]<v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT]</v:shape>[/FONT][/FONT][/FONT][/COLOR]
    [FONT=Verdana][COLOR=black][FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๑[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial]. [/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]เวลาเช้าปัดกวาดที่อยู่ และจัดตั้งเครื่องใช้สอย ไว้ให้เรียบร้อย[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]อาบน้ำชำระกายให้สะอาด บูชากราบไหว้ ปูชณียวัตถุ และวัฒบุคคล[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial]<O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1073 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]
    [FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๒[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial].[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ครั้นสว่างแล้ว จึงกระทำการหาเลี้ยงชีพ[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ตามหน้าที่แห่งเพศของตน[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial]<O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1075 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]
    [FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๓[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial]. [/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]พิจารณาก่อนแล้ว จึงบริโภคอาหาร[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ดังพุทธภาษิตว่า ผู้บริโภคอาหารพึงพิจารณา เห็นเหมือนคนบริโภคเนื้อบุตร[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ของตนในทางกันดาร แล้วไม่มัวเมา มุ่งแต่จะทรงชีวิตไว้ เพื่อทำประโยชน์สุข แก่ตน[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]และผู้อื่น[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial]<O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1077 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]
    [FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๔[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial]. [/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ตาไม่บอด ก็พึงทำเหมือนคนตาบอด[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]คือไม่ยินดี ยินร้าย ดุจภาษิต ที่พระมหากัจจายนะ กล่าวไว้ว่า มีตาดี ก็พึง[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ทำเป็นเหมือนคนตาบอด มีหูได้ยิน ก็พึงเป็นเหมือนหูหนวก มีลิ้นเจรจาได้[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ก็พึงเป็นเหมือนคนใบ้ มีกำลังก็พึง เป็นเหมือนคนอ่อนเพลีย เรื่องร้ายเกิดขึ้น[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ก็พึงนอนนิ่งเสีย เหมือนคนนอนเฉยอยู่ฉะนั้น[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial]<O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1079 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]
    [FONT=Arial][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]๕[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Arial]. [/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]จะทำ จะพูด ไม่พึงละสติ สัมปชัญญะ[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]ประหนึ่งไก่ป่า ไม่ทิ้งรังฉะนั้น ถ้าปฏิบัติได้อย่างนี้จะบรรลุ มรรด ผล[/FONT][/COLOR][COLOR=#00b050][FONT=Tahoma]นิพพาน[/FONT][/COLOR][/FONT][COLOR=#00b050][FONT=Arial]<O<v:shape style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" id=_x0000_i1081 alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></O<v:shape><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata>[/FONT][/COLOR]

    [FONT=Arial][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]ตามตำนาน เมืองเหนือ กล่าวถึงอุปเท่ห์[/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]พระคาถาพระยาไก่เถื่อน ไว้ว่า ผู้ใด[U]ภาวนาได้ ๓ เดือน[/U][/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]ทุกๆวันอย่าให้ขาด[/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]ผู้นั้นจะมีปัญญา ด้วยอำนาจแห่งพระคาถาพระยาไก่เถื่อน ให้[U]สวด ๓ จบ[/U][/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]จะไปเทศ[/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]ไปสวด ไปร้อง หรือเจรจา สิ่งใดๆดีนัก มีตะบะเคชะนัก ถ้าแม้[U]สวดได้ ๗ เดือน[/U][/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]อาจสามารถรู้ใจคน เหมือนไก่ป่า รู้กลิ่นตัวคนฉะนั้น ถ้า[U]สวดครบ ๑ ปี[/U][/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]มีตะบะเดชะยิ่งกว่าคนทั้งหลาย แม้จะเดินทางไกล ให้[U]สวด ๘ จบ[/U][/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]เหมือนไก่ขันยาม[/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]เป็นสวัสดีกว่าคนทั้งหลายให้เสกหิน เสกแร่ ไว้สี่มุมเรือน โจรผู้ร้ายไม่เข้าปล้น[/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]เหมือนไก่ป่าไม่ทิ้งรัง แม้ผีร้ายเข้ามาในเขตบ้าน ก็คร้ามกลัวยิ่งนัก[/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]เสกข้าวสารปรายหนทางก็ดี ประตูก็ดี ผีกลัวยิ่งนักคนเดินไปถูกเข้าก็ล้มแล[/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]แพ้แก่อำนาจเรา[/FONT][/COLOR][/FONT]

    [FONT=Arial][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]พระคาถานี้แต่ก่อน เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า[/FONT][/COLOR][B][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]กะฐานธรรม[/FONT][/COLOR][/B][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]แต่ภายหลัง[/FONT][/COLOR][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]ถึงยุคพระอาจารย์สุก พระคาถานี้จึงเรียกขานใหม่ว่า[/FONT][/COLOR][B][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]พระคาถาไก่เถื่อน[/FONT][/COLOR][/B][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]บ้าง[/FONT][/COLOR][B][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]พระคาถาพระยาไก่เถื่อน[/FONT][/COLOR][/B][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]บ้าง พระคาถาบทนี้ทางภาคเหนือเรียกว่า[/FONT][/COLOR][B][COLOR=#c00000][FONT=Tahoma]พระคาถาไก่แก้ว[/FONT][/COLOR][/B][COLOR=black][FONT=Verdana]<O:p[/FONT][/COLOR][/FONT]


    [CENTER]:cool::cool::cool:[/CENTER]

    [CENTER][URL="http://www.somdechsuk.org/"][FONT=Arial][COLOR=#0000ff]Somdechsuk.org | เวทาสากุ[/COLOR][/FONT][/URL][/CENTER]

    [/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT][/COLOR][/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มิถุนายน 2011
  12. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    [​IMG]

    เชิญปฏิบัติธรรม
    ตามแนวสมเด็จพระสังฆราช สุก ไก่เถื่อน
    ทุกวัน

    ที่คณะ 5 วัดราชสิทธาราม(วัดพลับ)
    ซ.อิสรภาพ 23 แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ
    โทร. 084-651-7023

    รถเมล์สาย 19 40 56 57 149 ผ่านหน้าวัด

    กำหนดเวลา
    ตั้งแต่ 09.00 น.- 19.00 น. ทุกวัน


    :cool::cool::cool:




    <!-- google_ad_section_end -->
     
  13. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ปฏิบัติธรรมวันอาสาฬหบูชา ถวายเทียนพรรษา ขึ้นกรรมฐานใหญ่ประจำปี 54 และ พุทธาภิเษก

    กำหนดการ

    15-16-17 กรกฏาคม 54

    ที่คณะ 5 วัดราชสิทธาราม
    ซอยอิสรภาพ 23 เขตบางกอกใหญ่
    กรุงเทพ


    เวียนเทียน วันอาสาฬหบูชา ถวายผ้าอาบเทียนพรรษา
    ขึ้นกรรมฐานใหญ่ และ พุทธาภิเษก

    วันศุกร์ที่ 15 กรกฏาคม 2554 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 (วันอาสาฬหบูชา)
    เวลา 09.00-10.00 ลงทะเบียน รับประทานอาหารเช้า
    เวลา 10.000-11.00 รับศีล ขึ้นกรรมฐาน รับประทานอาหารกลางวัน
    เวลา 13.00-14.00 ฟังธรรมบรรยาย ถามปัญหา พักดื่มน้ำปานะ
    เวลา 14.00-16.30 เจริญจิตภาวนา เดินจงกรม อาบน้ำ ทำธุระส่วนตัว
    เวลา 16.30-17.00 ทำวัตรเย็น ปฏิบัติธรรม
    เวลา 19.30-20.00 ฟังเทศน์ เวียนเทียน รอบพระอุโบสถ กลับบ้าน หรือค้างวัด

    วันเสาร์ที่ 16 กรกฏาคม 2554 แรม 1 ค่ำ เดือน 8 (วันเข้าพรรษา)
    เวลา 06.30-07.00 ทำวัตรเช้า รับประทานอาหารเช้า
    เวลา 07.000-11.00 นั่งกรรมฐาน เดินจงกรม รับประทานอาหารกลางวัน
    เวลา 13.00-14.00 ถวายผ้าจำนำพรรษา ถวายสลากพัตร
    ถวายเทียนพรรษา
    ในพระอุโบสถ วัดราชสิทธาราม
    เวลา 14.00-16.30 ทำพิธีเข้าพรรษา
    เวลา 16.30-17.00 ญาติโยมทำวัตรเย็น ลาศีล กลับบ้าน หรือค้างวัด

    วันอาทิตย์ที่ 17 กรกฏาคม 2554 แรม 2 ค่ำ เดือน 8
    เวลา 06.30 -07.00 ทำวัตรเช้า รับประทานอาหารเช้า
    เวลา 07.00 -10.00 บวงสรวงเทพยดา เจริญภาวนา เดินจงกรม
    เวลา 10.30 -11.00 พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ฉันเพล 9 รูป
    เวลา 13.00 -15.30 ทำพิธีขึ้นกรรมฐานใหญ่ ประจำปี 2554 (ปีที่ 220) มีเทศน์ขึ้นธรรม 1 กัณฑ์
    เวลา 16.30 -17.00 พระสงฆ์ และผู้ถือศีล ทำวัตรเย็น สวดธรรมจักร
    เวลา 18.30 – 20.00 พระสงฆ์สวดพุทธาภิเษก และ พระสงฆ์นั่งปรก

    [​IMG]

    :cool::cool::cool:





     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 มิถุนายน 2011
  14. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    การขึ้นพระกรรมฐานใหญ่ ครั้งที่ ๒๒๙ (ปี ๒๕๕๔)

    ไหว้ครู ขึ้นพระกรรมฐานใหญ่ ครั้งที่ ๒๒๙

    (ปี๒๕๕๔)

    ณ คณะ ๕ วัดราชสิทธาราม ถนนอิสระภาพ ซอยอิสระภาพ ๒๓ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ วันพฤหัสบดี แรก ของวันเข้าพรรษา

    สิ่งที่ต้องเตรียมมา

    1. ดอกไม้ ๕ ดอก เทียน ๕ เล่ม ธูป ๕ ดอก ข้าวตอก ๕ ถ้วย ถาดสี่เหลี่ยม ของทั้งหมดใส่ในถาดเดียวกัน
    2. แต่งชุดขาว (ถ้ามี)
    ประวัติย่อการขึ้นกรรมฐานใหญ่



    สมเด็จพระสังฆราชสุก ไก่เถื่อนทรงขึ้นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ ต่อมาพระอาจารย์ผู้สืบทอดกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ องค์ต่อๆมา ได้สืบทอดมาเป็นลำดับ ของวันพฤหัสบดี แรก ในวันเข้าพรรษา ของทุกปี บัดนี้เป็นครั้งที่ ๒๒๙

    ขั้นตอน

    1. ผู้มาขึ้นกรรมฐาน มาก่อนเวลา ๓๐ นาที จัดถาดกรรมฐาน เปลี่ยนนุ่งชุดขาว
    2. เขียนใบสมัคร รับศีล ๕
    3. กล่าวคำขอขมา พระรัตนไตร (ใช้เทียนแพ)
    4. กล่าวคำทำวัตร ขึ้นพระกรรมฐาน จบแล้ว
    5. กล่าวคำมอบตัวต่อพระอาจารย์กรรมฐาน
    6. พระอาจารย์ เทศขึ้นธรรม ๑ จบ
    7. บอกองค์กรรมฐาน และบรรยายธรรมเล็กน้อย
    8. นั่งกรรมฐานเสร็จแล้ว แจ้งกรรมฐาน (สอบอารมณ์) เป็นอันเสร็จพิธี
    กำหนดการ



    วันอาทิตย์ที่ ๑๗ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

    <TABLE border=0><TBODY style="BORDER-TOP: medium none"><TR vAlign=top><TD>เวลา ๐๙.๐๐ น.

    </TD><TD>บวงสรวงบูชาสมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน)</TD></TR><TR vAlign=top><TD>เวลา ๑๐.๓๐ น.

    </TD><TD>พระสงฆ์ ๙รูปเจริญพระพุทธมนต์ ฉันภัตตาหารเพล และเลี้ยงอาหารญาติโยม</TD></TR><TR vAlign=top><TD>เวลา ๑๔.๓๐ น.



    </TD><TD>ขึ้นกรรมฐานใหญ่ประจำปี มีรับศีล ทำวัตรกรรมฐาน
    แล้วเทศขึ้นธรรม ๑ จบ (ตามแบบโบราณ) เป็นเสร็จพิธี
    แล้วน้งกรรมฐานตามอัธยาศัย



    :cool::cool::cool:






    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ลำดับแห่งการศึกษา
    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ


    การศึกษาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่ .. ๒๓๒๕ - ๒๔๘๐ พระภิกษุเดินทางมาศึกษาพระกรรมฐาน ศูนย์กลางพระกรรมฐาน ประจำกรุงรัตนโกสินทร์ คือที่วัดราชสิทธาราม (พลับ) เพื่อการหากัลยาณมิตร

    กัลยาณมิตรคือ ผู้เป็นมิตรที่ดีฝ่ายเจริญ ตั้งอยู่ในฐานะแห่งอาจารย์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า “ ... ดูกรอานนท์จริงอยู่สัตว์ทั้งหลายผู้มีความเกิดเป็นธรรมดาอาศัยเราเป็นกัลยาณมิตรแล้วย่อมพ้นจากความเกิดได้, พระพุทธเจ้าถึงพร้อมด้วยอาการทั้งปวงจึงรับเอาพระกรรมฐานในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้าเท่านั้นดีที่สุดเมื่อพระพุทธองค์ทรงปรินิพพานแล้วรับเอาพระกรรมฐานในสำนักพระมหาสาวก๘๐พระองค์ถ้าพระมหาสาวกทั้ง๘๐ปรินิพพานแล้วและเสาะหาจนได้กัลยาณมิตรแล้วให้ทำดังนี้ …”

    การมอบตัวต่อพระรัตน์ไตร นำเครื่องสักการะนอบน้อมบูชาพระรัตนไตร อันประกอบไปด้วย ธูป เทียน ข้าวตอก ดอกไม้ อย่างละ กระทง กล่าวคำบูชาพระรัตนไตร นิยมนำมาในวันพฤหัสบดี

    ทำวัตรจบแล้ว พระอาจารย์ผู้บอกพระกรรมฐาน เทศขึ้นธรรม (เทศขึ้นพระกรรมฐาน ตามพระคัมภีร์เทศของเก่า) จบ ตามแบบอย่างโบราณที่เคยประพฤติปฎิบัติมา เพื่อเป็นการปูพื้นฐาน และทำความเข้าใจ มีใจความย่อๆ ดังนี้ !

    เมื่อกล่าวถึงการสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ แล้วเกิดปีติ เกิดความสงบ(ยุคล) เป็นสุข มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ เป็นต้น

    การตั้งสมาธิ สำหรับพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ
    ผู้ไม่เคยเจริญสมาธิมาก่อนเลย
    ท่านให้เจริญภาวนา พระกรรมฐาน ที่มีอานุภาพน้อย(ปริตตารมณ์)
    ทำให้จิตสามารถยกขึ้นตั้งลงสู่สมาธิได้โดยง่าย เป็นขั้นๆไป
    ท่านให้เจริญภาวนาในห้องพระพุทธคุณอันมีใน
    พระปีติทั้ง ประการ
    พระยุคลธรรม ประการ
    พระสุขสมาธิ ประการ

    เมื่อจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิเบื้องต้นดีแล้ว จึงเจริญภาวนาสมาธิเบื้องสูงต่อไป
    ารเจริญภาวนาสมาธิเบื้องสูง ตั้งจิตหาประมาณมิได้
    ท่านให้เจริญพระกรรมฐานทีมี ปฏิภาคนิมิตร เรียงลำดับดังนี้ !

    ท่านให้เจริญภาวนา
    พระอานาปานสติกายคตาสติ
    กสิณสิบประการ
    และ อสุภสิบประการ
    การขึ้นองค์ฌาน ทำให้จิตเป็นมหิทตารมณ์

    ท่านให้ขึ้นองค์ฌานต่อจากอสุภกรรมฐาน เพราะอสุภกรรมฐาน องค์แห่งวิตกมีกำลังมาก จิตสามารถยกขึ้นสู่องค์ฌานได้โดยง่าย

    และท่านให้เจริญเอายัง ฌานปัญจกนัย คือฌานห้าประการ
    ฌานนี้ใช้สำหรับฝึกผู้ที่ยังไม่ชำนาญในองค์ฌาน จะได้กำหนดองค์ฌานแต่ละฌานได้ เมื่อชำนาญแล้ว จึงทำฌานปัญจกนัย ให้เป็นฌานจตุกนัย คือฌาน

    (จบรูปกรรมฐาน)

    ก่อนขึ้นห้องวิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ
    ท่านกำหนดให้เรียนเอายังอรูปกรรมฐานก่อนคือ
    อนุสสติ
    พรหมวิหาร
    รูปฌาน
    เพื่อให้จิตชำนาญแคล่วคล่องอยู่กับสภาวธรรม

    เมื่อยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนาภูมิแล้ว วิปัสสนาปัญญาญาณจะแก่กล้า
    การขึ้นสู่วิปัสสนาภูมิ ให้เจริญภาวนาเอายัง
    พระวิสุทธิ ประการ
    พระวิปัสสนาญาณสิบประการ
    ต่อด้วย พระโพธิปักขิยธรรมสามสิบเจ็ดประการ
    ต่อด้วยออกบัวบานพรหมวิหาร หรือเรียกว่า เมตตาเจโตวิมุตติ

    (จบวิธี และขั้นตอน การเจริญกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ของดั้งเดิม )

    ถ้าเหตุ ปัจจัยพร้อม การประพฤติปฎิบัติก็จะไปได้เร็ว
    แม้แต่บุคคลผู้มีอายุเพียงแปดขวบ


    คัดความจาก หนังสือพระประวัติสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรมหาเถรเจ้า (สุกไก่เถื่อน) ยุคกรุงรัตนโกสินทร์
    วัดราชสิทธารามวรวิหาร (วัดพลับ) อิสรภาพ ๒๓ กทม. ๑๐๖๐๐


    :cool::cool::cool:




     
  16. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ตำนานธารพระกร ของสมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน) สืบทอดมาจาก พระราหุลเถรเจ้า

    ตำนานธารพระกร
    สมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน)

    สืบทอดมาจาก
    พระราหุลเถรเจ้า
    องค์ต้นกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ฝ่ายเถรวาท

    [​IMG]



    เมื่อ ท่านพระราหุล มีพระชนมายุได้ ๓๑ พรรษา ๑๑ เป็นพระภิกษุผู้เถรแล้ว ขณะเมื่อพระองค์ท่านประทับนั่งบำเพ็ญสมณะธรรม อยู่ ณ ป่าอันธวัน นอกกรุงสาวัตถี สมัยนั้นเทวดาตนหนึ่ง นับเนื่องในหมู่พรหม ชั้นสุทธาวาส ได้มาสิงสถิตรอคอยท่านพระราหุลเถรอยู่ที่ต้นพระศรีมหาโพธิ์สถานที่ตรัสรู้ ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เทวดาอันนับเนื่อง ในหมู่พรหม ชั้นสุทธาวาส ได้ทราบด้วยใจแห่งตนว่า บารมีวิมุตติธรรม ของท่านพระราหุลเถรแก่กล้าแล้ว


    สมัยนั้นแล ธารพระกร คู่พระบารมีธรรม คู่พระกรรมฐานมัชฌิมา เป็นบุญศิริ ของท่านพระราหุลเถร ได้เกิดขึ้น แก่เต็มที่แล้ว ณ ป่าอันธวัน ในดงไม้ไผ่ยอดตาล เทวดา อันนับเนื่องในหมู่พรหม ชั้นสุทธาวาส ที่สิงสถิตรอคอย ท่านพระราหุลเถรอยู่ ณ ต้นพระศรีมหาโพธิ์นั้น ได้เข้าไปหา ท่านพระราหุลเถรเจ้า แล้วเผดียงว่า ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้าผู้เจริญ ข้าพระองค์เป็นเทพดา สิงสถิตอยู่ ณ ควงไม้พระศรีมหาโพธิ์ สถานที่ตรัสรู้ของพระบรมครู บัดนี้ ธารพระกร คู่พระบารมี คู่พระกรรมฐานมัชฌิมา เป็นบุญศิริ ของท่านพระราหุลเถร ได้เกิดขึ้น แก่กล้าแล้ว ข้าพระองค์ขออาราธนา ท่านพระราหุล ผู้เจริญไปยังดงไม้ไผ่ยอดตาลนำเอาไม้ธารพระกร ที่ดงไผ่ยอดตาล ในป่าอันธวันนั้นเถิด


    ท่านพระราหุลเถร ได้ดำเนินไปที่ดงไผ่ยอดตาลตามคำทูลเชิญนั้น ครั้นแล้วเทวดาตนนั้น แสดงให้ท่านพระราหุลเถรทราบว่า ธารพระกรไผ่ยอดตาลอยู่ที่ต้นไผ่ยอดตาลนี้ เป็นต้นที่แก่สูงที่สุดใน ดงนี้ขณะนั้นท่านพระราหุลเถร มีความปริวิตกว่า จะตัดต้นไผ่ยอดตาลอย่างไร เพลานั้นเทวดาตนนั้นทราบความปริวิตกของท่านพระราหุลเถรแล้ว จึงดลใจให้ คนตัดฟืนในป่าที่ใกล้กันนั้น มาที่ป่าไผ่ยอดตาลแห่งนี้ ครั้นคนตัดฟืนอันเทวดาดลใจมาถึงที่แห่งนี้แล้ว เห็นท่านพระราหุลเถร ทราบอาการของพระเถรว่า ต้องการ ลำไผ่ยอดตาลนั้น จึงตัดมาถวายท่านพระราหุลเถร ประมาณหนึ่งวาคุต โดยการตัดครั้งเดียว ตัดแล้วเทวดาผู้สิงสถิตประจำต้นไผ่ยอดตาล เจ็ดตนก็มา สิงสถิตประจำอยู่ ที่ไม้ธารพระกรนั้น เพื่อบำเพ็ญอุณหิสวิชยธรรมต่อไป


    และไม้ธารพระกรไผ่ยอดตาลนี้ได้เป็นไม้ที่ทรงอานุภาพมาก ด้วยอานุภาพแห่งเทวดา และอานุภาพแห่งพระเถรเจ้าครั้นเทวดามาสิงสถิตที่ไม้เท้านี้แล้ว เทวดาจะสมาทานศีลอันหมดจด ประพฤติอุณหิสวิชัยธรรมอันสุจริต ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำนั้น เทวดาจะมีความสุขตลอดกาล และ อายุของเทวดานั้นย่อมเจริญ เพราะได้ประพฤติธรรม ปฏิบัติธรรม กับพระสงฆ์องค์นั้น


    เรื่องมีอยู่ว่า ต้นไผ่ยอดตาลนั้น มีลักษณะเหมือนต้นตาลทั้งหมด แต่มีขนาดเล็กโคนต้นเท่าต้นแขน สูงประมาณ เก้าศอก ลำต้นมีลายคล้ายข้อไผ่ สูงชะลูด ใบและก้านใบ เหมือนก้านใบตาล ออกช่อ ดอกผลเหมือนงวงตาล ผลเหมือนผลตาล แต่มีขนาดเล็กกว่า ดอกมีห้ากลีบสีขาวหม่น ต้นไผ่ยอดตาลนี้มีอายุยืน เป็นพันๆปี เป็นไม้เนื้อแข็ง


    ครั้นท่านพระราหุลเถรเจ้า ได้ธารพระกร ไผ่ยอดตาลคู่บารมีแล้ว ก็ดำเนินกลับไปบำเพ็ญสมณะธรรมต่อ ณ ป่าอันธวัน เมืองสาวัตถี ไม้ธารพระกรไผ่ยอดตาลนี้เปรียบด้วย รัตนะเจ็ดประการ ประจำพระองค์ของพระเจ้าจักรพรรดิ หรือเปรียบด้วยเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ของพระเจ้าแผ่นดิน


    ส่วนไม้ธารพระกร ไผ่ยอดตาลของ ท่านพระราหุลเถร หรือของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย แสดงถึงบารมีธรรมของพระอริยะเจ้าแต่ละองค์ และนับเป็นบุญศิริ ซึ่งประเสริฐกว่า แก้วเจ็ดประการ ของพระเจ้าจักรพรรดิ หรือเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ของพระราชา หรือของพระเจ้าแผ่นดิน เพราะพระอริยะเจ้าเป็นผู้พ้นจากโลกิยะธรรมทั้งปวง พระอริยะเจ้าที่จะได้ ไม้เท้าเบิกไพร ไผ่ยอดตาล ต้องเป็นผู้มีจักรธรรม ๔ ประการคือ ๑.ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในถิ่นประเทศอันสมควร ๒. สัปปุริสูปัสสยะ สมาคมกับคนดี มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ สิ่งสำคัญประการสุดท้ายคือ ๔ ปุพเพกตปุญญตา ได้กระทำความดีไว้แต่ปางก่อน จึงจะได้จักรรัตนะ คือไม้เท้าเบิกไพร ไผ่ยอดตาลบุญศิริประกอบพระบารมีธรรมนี้



    [​IMG]

    พระอริยะเจ้า เครื่องประกอบบารมีธรรม ๑. ธารพระกรไผ่ยอดตาล

    พระเจ้าจักรพรรดิ รัตนะเจ็ดประการ ๑.ช้างแก้ว ๒.ม้าแก้ว ๓.นางแก้ว ๔.ขุนคลังแก้ว ๕.ขุนพลแก้ว ๖.จักรแก้ว ๗.แก้วมณี

    พระราชาธิราช เบญจราชกกุธภัณฑ์ ๑.พระมหาพิชัยมงกุฏ ๒.พระแสงขรรค์ชัยศรี ๓. ธารพระกร ๔.วาลวิชนี ๕.ฉลองพระบาท

    แก้ว หมายถึง ของดี ของเลิศ หรือของมีค่าเมื่อท่านพระราหุลเถรเจ้าเข้านิพพานแล้ว ครั้งปฐมสังคายนา ธารพระกรแก้ว ไผ่ยอดตาลก็ตกทอดมาถึง พระโกลิกะเถรเจ้า สัทธิวิหาริก ของท่านพระราหุลเถร ในดินแดนชมพูทวีปครั้นถึงทุติยสังคายนา พุทธกาลล่วงแล้วได้ ๑๐๐ ปี ธารพระกร ไผ่ยอดตาลพระราหุลเถรเจ้า ก็ตกมาถึง พระมัลลิกะเถระเจ้า แห่งชมพูทวีปกาลต่อมาธารพระกรไผ่ยอดตาล ของพระราหุลเถรเจ้า ตกทอดมาถึง พระโสนันตะเถรเจ้า สัทธิวิหาริก ของพระมัลลิกเถรเจ้าครั้นถึงตติยสังคายนา พุทธกาลล่วงแล้วได้ ๒๑๘ ปี ธารพระกรของพระราหุลเถรเจ้าก็ตกมาถึง พระโมคคัลลีบุตรติสสเถรเจ้า แห่งชมพูทวีปกาลต่อมาธารพระกรไผ่ยอดตาล ของพระราหุลเถรเจ้า ตกทอดมาถึงพระมหินทเถร แห่งลังกาทวีป (ประเทศศรีลังกา) พระราชโอรส ของพระเจ้าอโศกมหาราช กาลต่อมาธารพระกรไผ่ยอดตาล ของพระราหุลเถรเจ้า ตกทอดมาถึง พระจิตตกะเถรเจ้า แห่งลังกาทวีป กาลต่อมาธารพระกรไผ่ยอดตาล ของพระราหุลเถรเจ้า ตกทอดมาถึง พระอุบาลีเถรเจ้า องค์แรก แห่งลังกาทวีป

    พุทธกาล ล่วงแล้วได้ประมาณ ๓๖๐ ปี ตรงกับรัชสมัยของพระเจ้าเอฬารทมีฬแห่งลังกาทวีป มีคณะสงฆ์ลังกา เดินทางมา ยังดินแดนสุวรรณภูมิสามพระองค์คือพระสัญญปะเถรเจ้า๑ พระจิรสะเถรเจ้า๑ พระมัคคีเถรเจ้า ๑ เดินทางโดยทางเรือ ครั้งนั้นพระสัญญปะเถรเจ้า เป็นหัวหน้าคณะ และคณะพระสงฆ์ลังกาได้นำไม้เท้าไผ่ยอดตาล อันเป็นของพระราหุลเถรเจ้า ซึ่งตกทอดมาจนถึงพระอุบาลีเถรเจ้า แห่งเกาะลังกา มามอบถวาย พระราชสามีรามมหาเถรเจ้า (เพชร) โดยพระอุบาลีเถรเจ้า พระมหาเถร แห่งลังกา มีบัญชาให้ คณะของพระสัญญปะเถรเจ้า นำมามอบถวายพระราชสามีรามมหาเถรเจ้า (เพชร) ณ วัดท้าวอู่ทอง เมืองสุวรรณสังข์ (อู่ทอง) เหตุจะเป็นดินแดนที่รุ่งเรือง ของพระพุทธศาสนาต่อไปในกาลภายหน้า อีกทั้งพระราชสามีรามมหาเถรเจ้า ได้เป็นศิษย์ ศึกษาพระกรรมฐานจากพระอุบาลีเถรเจ้าด้วย


    กาลล่วงถึง สมัยศรีทวารวดี พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า (ไข) พระองค์ท่านทรงไปบำเพ็ญสมณะธรรม ในป่านอกกำแพงเมืองศรีทวารวดี อันเคยเป็นที่ตั้ง วัดท้าวอู่ทอง ซึ่งบัดนี้เป็นป่ารกร้าง เงียบสงบ พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า (ไข) พระองค์ท่านได้พบ ไม้เท้าเบิกไพร ไผ่ยอดตาล ของพระอุบาลีเถรเจ้า แห่งลังกา ซึ่งได้มอบให้ไว้แก่ พระราชสามีรามมหาเถรเจ้า (เพชร) แห่งวัดท้าวอู่ทอง ในครั้งนั้น ท่านได้พบไม้เท้า ที่ป่าอันเคยเป็นที่ตั้ง วัดท้าวอู่ทอง ท่านได้นำ ไม้เท้าไผ่ยอดตาล กลับมาบูชาไว้ ณ วัดศรีสุวรรณ เมืองศรีทวารวดี เพราะเป็นไม้เท้าเบิกไพร ต้นพระกรรมฐานมัชฌิมา ส่วนพระองค์ท่านเอง ใช้ไม้เท้าเบิกไพรที่ได้รับสืบทอดมาแต่ครั้ง พระอุตระเถรเจ้า ต่อๆกันมา

    ครั้น ถึงปลายสมัยศรีทวารวดี ไม้เท้าไผ่ยอดตาลของท่านพระราหุลเถรเจ้า ก็ตกทอดมาถึง พ่อเจ้าแพร (ผู้ปกครองวัด) แห่งวัดดงตาล เมืองบ้านคูเมือง (สิงห์บุรี)ถึงสมัยสุโขทัย ไม้เท้าไผ่ยอดตาล ของท่านพระราหุลเถรเจ้า ได้ตกทอดมาถึงพระญาณสุวรรณมหาเถรเจ้า (สิงห์) แห่งวัดมหาธาตุ เมืองสุโขทัย สมัยพระเจ้าประกันติราชสมัยพญาลิไท ไม้เท้าไผ่ยอดตาลของท่านพระราหุลเถรเจ้า ได้ประดิษฐานอยู่ ณแท่นบูชา ตรงพระพักตร์ ของพระศรีศากยะมุนี ในพระวิหาร วัดมหาธาตุ


    ครั้นปลายสมัยกรุงสุโขทัย ได้มีบุคคล นำไม้เท้าไผ่ยอดตาล ของท่านพระราหุลเถรเจ้า ออกไปจากวิหารพระศรีศากยะมุนี กาลต่อมาชายผู้นั้นเกิดเสียสติ นำไม้เท้าไปไว้ในป่าเมืองสุโขทัย ณ ถ้ำแห่งหนึ่งถึงสมัยอโยธยา ท่านขรัวตาเฒ่า ชื่น วัดสามไห เมืองอโยธยา ได้รุกขมูลไป ณ ถ้ำแห่งนั้น ในป่าเมืองสุโขทัย ได้พบไม้เท้าไผ่ยอดตาล ของท่านพระราหุลเถรเจ้า เทวดาประจำไม้เท้านั้น ได้บอกเรื่องราวทั้งหมดให้ท่านทราบ


    สมัยกรุงศรีอยุธยา ไม้เท้าไผ่ยอดตาลของท่านพระราหุลเถรเจ้า ได้ตกทอดมาถึงพระพนรัตน (รอด) แห่งวัดป่าแก้ว กรุงศรีอยุธยา ถึงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาไม้เท้านี้ได้หายสาบสูญไป


    สมัยรัตน โกสินทร์ ไม้เท้าไผ่ยอดตาลของท่านพระราหุลเถรเจ้า ได้ตกทอดมาถึงสมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน) วัดราชสิทธาราม กรุงเทพ การไปพบไม้เท้าของท่านนั้น มีเรื่องที่ควรทราบ ดังต่อไปนี้


    ครั้งกรุง ศรีอยุธยา ยังเป็นราชธานีอยู่ พระอาจารย์สุก (สมเด็จพระสังฆราช ไก่เถื่อน) ได้ออกบำเพ็ญธุดงค์ทุกปี ครั้งหนึ่งท่านรอนแรมธุดงค์ มาด้วยวิชชา ถึงป่าเมืองอุตรดิตถ์ เดินทางมุ่งไปสู่ เขตป่าดงพญาเย็น อันเป็นที่พำนัก ของพระอาจารย์ด้วง พระอาจารย์ด้วง พระองค์นี้ สมเด็จพระสังฆราช ไก่เถื่อน ทรงเคยพบท่านในสมาธินิมิต ท่านได้บอกให้พระอาจารย์สุก ไปพบท่าน ณ ดงพญาเย็น เมืองอุตรดิตถ์พระองค์ท่านเข้าเขตดงพญาเย็นแล้ว หวลระลึกนึกถึงนามพระอาจารย์ด้วง ได้ดำเนินไปเห็นเป็นป่าทึบ หนาวเย็นมากเต็มไปด้วยหมอกหนา พระอาจารย์สุก ทราบด้วยวารจิตว่า พระอาจารย์ด้วง ท่านพำนักอยู่ในดงพญาเย็นนี้ เพราะเป็นแดนผาสุขวิหารของท่าน พระองค์ท่าน ดำเนินไป เห็นร่างพระภิกษุเถรรูปหนึ่ง ยืนถือไม้เท้าสีดำนิลอยู่ทรงเห็นร่างนั้นรางๆ เพราะหมอกหนาทึบมาก จึงดำเนินเข้าไปใกล้ เห็นว่าร่างพระภิกษุเถรรูปนั้นโปร่งใส


    พระภิกษุอริยะเถราจารย์ ได้กล่าวทักพระอาจารย์สุก ขึ้นก่อนว่ามาถึงแล้วหรือ จากนั้นพระอาจารย์สุก ก็ก้มลงกราบ พระอาจารย์ด้วง พระอาจารย์ด้วง สนทนากับพระอาจารย์สุกว่า อิทธิวิธญาณ การย่นระยะทางของท่าน ดีแล้ว สำเร็จแล้ว ให้ใช้ให้เป็นประโยชน์ จำเป็นจึงใช้ และกล่าวต่อไปอีกว่าอย่าไปติดในอิทธิฤทธิ์ อันเป็นโลกิยะธรรม เพราะมันไม่เที่ยง (เวลานั้นพระอาจารย์สุก ยังไม่บรรลุโลกุตระธรรม) จะทำให้เกิดทุกข์ จงทำจิตให้เป็นสุข ทุกๆเวลา ให้นึกถึงความสุข คือนึกถึงบุญกุศล นึกถึงการช่วยคน นึกถึงสิ่งอันดีงาม จิตจะเป็นสุขเนืองๆอย่างนี้ ไม่เกาะเกี่ยววัตถุ จะไปสู่พระนิพพาน คำสอนนี้เพื่อเกื้อกูล บุคคลผู้เกิดในภายหลัง จะได้ไม่หลงติดโลกธรรมพระอาจารย์ด้วง กล่าวต่อไปอีกว่า ต่อไปท่านจะได้พบ พระอริยเถราจารย์อีกหลายพระองค์ จะสอนท่านในรายละเอียด วิธีการของการเข้าสุขสัญญา ลหุสัญญา และชี้นำให้ไปเอาสิ่งของต่างๆ สำหรับพระเถราจารย์ ผู้สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา และสืบทอดพระพุทธศาสนา


    พระอาจารย์ด้วง กล่าวต่อไปอีกว่า กรุงศรีอยุธยา อีกไม่นานจะล่มสลาย เป็นไปตามหลัก พระไตรลักษณ์ และท่านจะเป็นผู้สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา สืบต่อไปในอาณาจักรหน้า (กรุงรัตนโกสินทร์) ขอให้ท่าน ทบทวนพระกรรมฐาน พระบาลีมูลกัจจายน์ เพราะท่านจะต้องสอนในเรื่องเหล่านี้ บางครั้งพระอาจารย์สุก ไม่เห็นร่างโปร่งใสของท่าน เห็นแต่จีวร และไม้เท้า เนื่องจากท่านเจริญ อากาสกสิณ พระอาจารย์ด้วงท่านกล่าวต่อไปว่า ร่างกายและไม้เท้า ที่ท่านเห็นอยู่นี้ เกิดจากอิทธิวิธญาณ การเข้าสุขสัญญา ลหุสัญญา ร่างจริงของข้าฯไม่มีแล้ว แต่ข้าฯอธิษฐานกายทิพย์อยู่ไว้คอยท่า ผู้มีบุญมารับช่วง พระกรรมฐานมัชฌิมา และไม้เท้าเบิกไพร ขององค์ต้นพระกรรมฐานนี้ ไม้เท้าของจริงอยู่ที่ถ้ำข้างหน้าโน้น มีกายทิพย์พระฤาษีอริยะเฝ้าอยู่รอผู้มีบุญมารับช่วงเอาไป ในถ้ำนั้นมีไม้เท้าคู่บารมีของ ปารมาจารย์อยู่ถึง ๔ อัน ในถ้ำนั้นมืดมาก ข้าฯ จะสอนอาโลกกสิณให้ เพื่อเป็นแสงสว่างนำทางท่านเข้าไปเอาไม้เท้าในถ้ำ


    เนื่อง จากพระอาจารย์สุก ท่านผ่านกสิณ สิบประการมาแล้ว ท่านสามารถในอาโลกกสิณ พระอาจารย์ด้วงจึงสอนวิธีการใช้อาโลกกสิณ เข้าไปในที่มืดต่อมาพระอริยเถราจารย์ (ด้วง) ได้สอนพระอาจารย์สุก ให้เข้า ฌานโลกุดร๑๙โดยให้ตั้งที่นาภี ๑๐ องค์ภาวนา ตั้งที่ระหว่างคิ้ว ๙ องค์ภาวนา ตั้งที่หทัย ๑ องค์ ให้ภาวนาว่า โลกุตตรัง จิตตัง ฌานังพระอริยเถราจารย์ (ด้วง) กล่าวต่อไปว่า ฌานโลกุดรนี้ เป็นที่เกิดแห่งปัญญา เป็นที่บรรลุธรรม เป็นที่สิ้นสุดแห่งวัฏฏะทุกข์ได้ ใช้อธิฐาน ได้ต่างๆ


    พระ อาจารย์สุก เดินทางไปถ้ำ ในป่าดงพญาเย็น ท่านถึงปากถ้ำ จึงเจริญอาโลกกสิณ เป็นแสงสว่างนำเข้าไปในถ้ำ เดินไปถึงซอกถ้ำ พบกายทิพย์ของฤาษีอริยะเฝ้าอยู่(เห็นด้วยสมาธิ) พระฤาษีอริยะท่านกล่าวกับพระอาจารย์สุกว่า ผู้สืบทอดของบูรพาจารย์มาถึงแล้วท่านจึงชี้ไปที่ไม้เท้าของปารมาจารย์สี่อัน ซึ่งวางอยู่บนแท่น บัดนี้มีผลึกหินปกคลุมอยู่ เนื่องจากน้ำในถ้ำหยดลงมาทับถม กลายเป็นผลึกหินทับถมอยู่ จึงแลดูเหมือนไม้เท้านี้อยู่ในหิน เพราะไม้เท้านี้มีอายุประมาณ ๒๓๐๐ ปีเศษ ไม้เท้าก็จะกลายเป็นหินอยู่แล้วพระฤาษีอริยาจารย์ที่เฝ้าไม้เท้านี้ ได้บอกให้พระอาจารย์สุก อธิฐาน ดึงไม้เท้า ๔ อันนี้ออกมาจากผลึกหิน พระองค์ท่านก็ดึงออกมาได้ด้วยอธิฐานบารมีของพระองค์ท่านด้วยจะเป็นผู้สืบพระ ศาสนาต่อไป ในอาณาจักรหน้า พระฤาษีอริยาจารย์กล่าวว่า ในไม้เท้าสี่อันนี้ อันหนึ่งเป็น ธารพระกรไผ่ยอดตาล ของท่านพระราหุลเถรเจ้า ตกทอดมาแต่โบราณกาล ให้พระองค์ท่านเอาไว้ใช้ก่อน ต่อไปท่านจะมีไม้เท้าคู่บารมีของท่านเอง อีก ๓ อันท่านจะพบพระสัทธิวิหาริกคู่บารมี สัทธิวิหาริกองค์ไหนควรครอบครองไม้เท้าเบิกไพร อันไหนให้ท่านมอบให้ไป ต่อมาพระอาจารย์สุก จึงได้ทราบนามของ พระฤาษีอริยาจารย์ว่าคือ พระฤาษีอัปปผลาภะ เมื่อพระอาจารย์สุก ได้ไมเท้ามาแล้ว ท่านก็เอาไม้เท้า๓ อันมัดมากับ รัดประคตอก ส่วนไม้เท้า ไผ่ยอดตาล ของท่านพระราหุลเถรเจ้า ท่านใช้ถือเบิกไพร ย่นระยะทาง กลับมา วัดท่าหอย ท่านได้เอาไม้เท้าของสำคัญมาเก็บไว้ โดยไม่มีใครรู้ แล้วท่านก็ออกป่าไปใหม่


    หลังจากพระอาจารย์สุกท่านได้อิทธิวิธญาณแล้ว ปีหนึ่งๆ ท่านออกรุกขมูลหลายครั้ง ไปเร็ว มาเร็ว เมื่อไม่มีเหตุการณ์อะไร ที่วัดท่าหอย หรือเหตุการในป่าที่พระอริยาจารย์เรียกท่านไป ท่านจะไม่ใช้อิทธิวิธญาณ พระองค์ท่านจะเดินไปธรรมดา สะสมบารมี เมื่อพระองค์ท่าน กลับมาวัดท่าหอยแล้ว พระภิกษุ สามเณร และบรรดาญาติโยมแลเห็นพระองค์ท่านเป็นเพียงพระสงฆ์ธรรมดาเท่านั้น เพราะพระองค์ท่าน ไม่แสดงอะไรให้ ผู้คนทั้งหลายเห็นพระอาจารย์สุก ท่านไม่ต้องแสวงหาพระอาจารย์ แต่จะมีพระอาจารย์คอยให้ท่านพบ เพราะท่านจะต้องเป็นผู้สืบพระศาสนาต่อไป

    ต่อมาเมื่อพระ อาจารย์สุก มาจำพรรษาที่วัดราชสิทธาราม (พลับ) กรุงเทพแล้วท่านได้ใช้ไม้เท้า ไผ่ยอดตาล ของท่านพระราหุลเถรเจ้า ถือประจำกายในวัดเสมอๆ เมื่อพระองค์ท่านสิ้นพระชนม์แล้ว ไม้เท้าเบิกไพร ไผ่ยอดตาลก็ตกมาถึงทายาท พระอาจารย์กรรมฐานของท่าน ดังนี้
    ๑.พระวินัยรักขิต (ฮั่น)
    ๒.ท่านเจ้าคุณหอไตร (ชิต)
    ๓.พระครูวินัยธรรมกัน
    ๔.พระญาณสังวร (ด้วง)
    ๕.พระญาณสังวร (บุญ)
    ๖.พระญาณโยคาภิรัต (มี)
    ๗.พระสังวรานุวงศ์เถร (เมฆ)
    ๘.พระสังวรานุวงเถร (เอี่ยม)
    ๙.พระสังวรานุวงศ์ (ชุ่ม)
    ๑๐.พระครูสังวรสมาธิวัตร (แป๊ะ)
    ๑๑.พระครูญาณสิทธิ (เชื้อ)
    ๑๒.พระครูปัญญาวุธคุณ (สำอาง ปัญญาวุโธ น.ธ.โท)


    ส่วน ใหญ่พระอาจารย์กรรมฐาน รุ่นหลังๆ ไม่ได้ใช้ไม้เท้าไผ่ยอดตาลของพระราหุลเถรเจ้า เพียงประดิษฐานไว้บนแท่นบูชาหน้าพระประธานฯ ปัจจุบันไม้เท้าไผ่ยอดตาลนี้ พระครูสังฆรักษ์วีระ ฐานวีโร ได้เก็บอนุรักษ์ และจัดไว้เป็นพิพิธภัณฑ์ ณ อาคารคณะ ๕ วัดราชสิทธาราม จัดเป็นบริโภคเจดีย์ เพื่อให้สาธุชน กราบไหว้บูชาต่อไปกล่าวว่า ไม้เท้าเบิกไพรไผ่ยอดตาล ของพระสาวก แต่ละองค์ ถือเป็นอายุของพระพุทธศาสนา เป็นของสืบทอดต่อๆมา จนกว่าจะสิ้นอายุศาสนา ของพระพุทธโคดม


    ----------------------------------------------------------------------

    คัดความจาก หนังสือพระประวัติสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรมหาเถรเจ้า (สุกไก่เถื่อน) ยุคกรุงรัตนโกสินทร์
    วัดราชสิทธารามวรวิหาร (วัดพลับ) อิสรภาพ ๒๓ กทม. ๑๐๖๐๐



    :cool::cool::cool:





     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มิถุนายน 2011
  17. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ตำนานการบังเกิดแห่งธารพระกรแก้ว และผ้าบังสกุล

    ตำนานธารพระกรแก้วพระพุทธเจ้า
    (ตกทอดมาถึง สมเด็จพระสังฆราช ไก่เถื่อน)
    และ การบังเกิดแห่งธารพระกรแก้ว และผ้าบังสกุล

    พระครูสิทธิสังวร (วีระ)รวบรวม เรียบเรียง





    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=229 align=center><TBODY><TR><TD width=227 align=middle>




    </TD></TR><TR><TD height=35 vAlign=top align=middle>



    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=583 align=center height=17><TBODY><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0px; LINE-HEIGHT: 20px; PADDING-LEFT: 4px; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 5px" class=black12normal vAlign=top width=352 align=left>ครั้งหนึ่ง พระบรมศาสดา เสด็จอยู่ในสำนักอุรุเวลกัสสปะ เพื่อคลายทิฏฐิ ครั้งนั้นได้มีบุรุษ นำเอาศพของนางปุณณะทาสีมาทิ้งไว้ที่ อามสุสาน ป่าช้าผีดิบ ในป่าอุรุเวลา เสนานิคม


    ครั้งนั้น พระบรมศาสดา ทรงดำริที่จะ ทำผ้าสังฆาฏิ ลำดับนั้น ท้าวสักกะเทวราช ทรงทราบความดำริ ใน พระทัย ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยพระทัย ของพระองค์แล้ว จึงทรงนำไม้ธาร พระกรไผ่ยอดตาล จากดงไผ่ยอดตาล ออกมาจากป่าใกล้ สำนักอุรุเวลกัสสปแล้วได้ทูลพระบรมศาสดาว่า

    พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระองค์ขอถวายไม้ ธารพระกรแก้ว ไผ่ยอดตาลนี้ แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อใช้พิจารณาผ้า มหาบังสุกุล พระบรมศาสดาได้ไม้ธารพระกรแล้ว ทรงเสด็จไปยังอามสุสานป่าช้าผีดิบ อันเป็นที่ทิ้งศพนางปุณณะทาสี เป็นเวลา ๗ วันแล้วที่ศพนางปุณณะทาสีอยู่ในอามสุสาน ป่าช้าผีดิบนี้ ศพนั้นเน่าแฟะแล้ว คลาคล่ำไปด้วยหมู่หนอน ส่งกลิ่นเหม็นตลบ เมื่อพระบรมศาสดาถึงป่าช้าผีดิบ

    พระบรมศาสดาทรงเข้าไปประทับยืนใกล้ศพนางปุณณะทาสี พระหัตถ์ซ้ายของพระบรมศาสดา ถือไม้ธารพระกรแก้ว ไผ่ยอดตาล(ไม้เท้าพระพุทธเจ้า) ปลายไม้ธารพระกรแก้ว ยืดยาวไปยันศพนางปุณณะทาสี พระหัตถ์ขวาของพระบรมศาสดายื่นไปข้างหน้า ทรงพิจารณาอสุภสัญญาแล้วทรงชักผ้ามหาบังสุกุล ขณะนั้นมหาปฐพีได้ไหวถึงน้ำลองแผ่นดิน



    </TD><TD vAlign=top width=229 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=229 align=center><TBODY><TR><TD width=227 align=middle>[​IMG]



    </TD></TR><TR><TD height=35 vAlign=top align=middle>ภาพธารพระกรแก้ว
    (ไม้เท้าพระพุทธเจ้า)
    อายุประมาณ ๒๕๐๐ ปี
    ณ พิพิธภัณฑ์กรรมฐาน
    สมเด็จพระสังฆราช ไก่ เถื่อน
    วัดพลับ








    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0px; LINE-HEIGHT: 18px; PADDING-LEFT: 4px; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 5px" class=black12normal vAlign=top colSpan=2 align=left>

    พระบรมศาสดา ทรงถือเอาผ้า ที่เขาคลุมร่างนางปุณณะทาสี ที่เขาทิ้งแล้ว มาเป็นผ้ามหาบังสุกุล พระบรมศาสดา ทรงสลัดสัตว์เล็กๆ ประมาณหนึ่งตุมพะ แล้วทรงถือเอาผ้ามหาบังสุกุลออกมาจากป่าช้า ทรงทำกิจที่ทำได้ยากแล้ว

    แต่นั้นมาอามสุสาน ป่าช้าผีดิบ ป่าอุรุเวลาเสนานิคม ก็ไม่มีผู้ใดนำเอา ซากศพไปทิ้งอีก ด้วยเหล่าเทวดา และเหล่านาคปิดบัง คุ้มครองสถานที่นี้ไว้ เพราะไม่สมควรที่จะทิ้งซากศพใครอีก เนื่องจากเป็นภูมิสถานมงคล อันสมควรแก่ พระศาสดา เท่านั้น บรรดาวิญญาณ ที่อยู่ในป่าช้าผีดิบ ทั้งปวง เมื่อพระศาสดา ทรงพิจารณา ผ้ามหาบังสุกุลแล้ว ต่างก็พากันไปจุติในสุคติภูมิกันทั้งสิ้น ...อ่านต่อ






    </TD></TR></TBODY></TABLE>​



    ----------------------------------------------------------------------

    คัดความจาก หนังสือพระประวัติสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรมหาเถรเจ้า (สุกไก่เถื่อน) ยุคกรุงรัตนโกสินทร์ วัดราชสิทธารามวรวิหาร (วัดพลับ) อิสรภาพ ๒๓ กทม. ๑๐๖๐๐







    :cool::cool::cool:








    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 มิถุนายน 2011
  18. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ทุกอย่างขอบารมีพระพุทธเจ้า

    วิชากัมมัฏฐาน และคำสอนสมเด็จฯ สุก ไก่เถื่อน

    ๑.วิชาบังคับธาตุขันธ์
    ให้บังคับจากรูปกายทิพย์ ให้เปลี่ยนอริยาบทต่างๆ เช่น ยืน เป็นนั่ง เป็นนอน เป็นเดิน ทำให้กายทิพย์เป็นเด็ก เป็นหนุ่ม เป็นแก่
    ประโยชน์ของวิชาบังคับธาตุขันธ์ ยกสมาธิจิตให้สูงขึ้น จิตมีอานุภาพมากขึ้น

    ๒.วิชาแยกธาตุขันธ์
    แยกธาตุน้ำก่อน แยกธาตุดิน แยกธาตุไฟ แยกธาตุลม ไม่มีกายมีแต่ธาตุเท่านั้น
    มีประโยชน์ ใช้ทางมรรค ผล จิตขาดจากการยึดมั่นถือมั่น ในรูปกาย

    ๓.วิชาคุมจิตคุมธาตุ
    ช้สมาธิขั้นเอกัคตาจิต คุมจิตตัวเอง คุมธาตุทั้ง ๔ ของตัวเอง
    ประโยชน์ ทำให้มีสติมีสมาธิเข็มแข็ง


    (ยอดวิชาของสมเด็จฯ สุก ไก่เถื่อน ยังมีต่ออีกมาก.....)

    :cool::cool::cool:









     
  19. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ยอดวิชาของสมเด็จฯ สุก ไก่เถื่อน (2)

    วิชา ธาตุปีติ ยุคล สุข


    ๑.ธาตุปีติ ยุคล สุข รวมกัน
    เรียกว่าธาตุธรรมกาย ใช้ทำเป็นพื้นฐานแห่งอภิญญา จิตแก่กล้าใช้ตติยฌาน(สุข)ได้เลย ถ้ายังไม่แก่กล้าใช้ถึงจตุถะอรูปฌาน ถอยมา ตติยฌาน(สุข)

    ๒.ธาตุปีติอย่างเดียว เรียกว่า ธาตุปีติวิมุติธรรม
    ทำให้กิเลสทั้งปวงหลุด พิจารณาโดยวิธี บริกัมว่า นิพพาน

    ๓.ธาตุธาตุยุคลหก เรียกว่า ธาตุกายอมตะ
    ประโยชน์ใช้ทำจิตให้สงบจากกิเลส พิจารณาว่า สงบ

    ๔. ธาตุสุขสมาธิ เรียกว่าธาตุ สุขนิโรธธัม
    ประโยชน์ ทางสุขอยู่ในความว่าง เอาพระนิพพานเป็นอารมณ์

    ธาตุปีติทั้งห้า (ธาตุเทวดา) ใช้ได้ทุกอย่างแล้วแต่จิต
    ธาตุยุคล(ธาตุพรหม) ใช้ทางเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
    ธาตุสุข(ธาตุพระพุทธเจ้า) ธาตุกายสุข จิตสุข มีธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ ทำจิตเป็นสุข สยบกิเลส ธาตุ อุปจารพุทธานุสติ ใช้สยบมารทั้งภายนอก ภายใน ใช้สยบภายในภายนอก


    (ยอดวิชาของสมเด็จฯ สุก ไก่เถื่อน ยังมีต่ออีกมาก.....)


    :cool::cool::cool:




     
  20. นะมัตถุ โพธิยา

    นะมัตถุ โพธิยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    618
    ค่าพลัง:
    +2,268
    ยอดวิชาของสมเด็จฯ สุก ไก่เถื่อน (3)

    วิชาทำฤทธิ์

    อธิษฐานตั้งธาตุ ห้าดวง ดิน น้ำ ไฟ ลม วิญญาณธาตุ ให้ทำลายธาตุ น้ำ ทำลายธาตุ ไฟ ทำลายธาตุดิน ทำลายธาตุลม เหลือวิญญาณธาตุ ก่อนทำให้อธิฐานเอาฤทธิ์ก่อน

    -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

    ธาตุภูสิโต
    (ธาตุยิ่งใหญ่)


    ๑.ชุมนุมธาตุว่า เอหิปถวีพรหมา เอหิเตโชอินทรา เอหิวาโยนรายนะ เอหิอาโบอิสสรัง ว่าสามหน ธาตุทั้งสี่มาตั้งที่หทัยประเทศ

    ๒. เรียกภูตเข้าตัวธาตุ ว่าสามหน จตุรภูตา เอหิสมาคมะ ธาตุทั้งสี่ ปรากฏที่สะดือ

    ๓. เรียกภูตเข้าตัวธาตุ เตโช วาโย อาโบ ปถวี กสินะ นะโมพุทธายุ ภินทะติ นะพุทธัง นะปัจจักขามิ นะสิริ พันธนัง ธาเรมิ ให้ว่าสามหน เป่าเข้าตัวภูตมิออก ธาตุทั้ง ๔ ที่สะดือ มารวมที่หทัย


    (ยอดวิชาของสมเด็จฯ สุก ไก่เถื่อน ยังมีต่ออีกมาก.....)



    :cool::cool::cool:





     

แชร์หน้านี้

Loading...