สัญโญชนทุกะ<O:p</O:p
ปฏิจจวาร<O:p</O:p
[๔๑๘]สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์<O:p</O:p
สีลพตปรามาสสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์<O:p</O:p
มานสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์<O:p</O:p
อาศัยกามราคสัญโญชน์ อิสสาสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยปฏิฆสัญโญชน์<O:p</O:p
มัจฉริยสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยปฏิฆสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์<O:p</O:p
อาศัยปฏิฆสัญโญชน์ ภวราคสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยมานสัญโญชน์<O:p</O:p
อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยภวราคสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยวิจิกิจฉาสัญโญชน์<O:p</O:p
ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยสัญโญชนธรรมทั้งหลาย<O:p</O:p
สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ<O:p</O:p
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกามราคสัญโญชน์<O:p</O:p
พึงผูกจักรนัย<O:p</O:p
ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ <O:p</O:p
ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ <O:p</O:p
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย<O:p</O:p
สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ สัญโญชนธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม<O:p</O:p
สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่<O:p
สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ ขันธ์ ๓ และสัญโญชนธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป<O:p</O:p
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
<O:p</O:p
สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์ และ<O:p</O:p
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย<O:p</O:p
พึงผูกจักรนัย<O:p</O:p
ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่<O:p</O:p
สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม <O:p</O:p
และสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม <O:p</O:p
และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ ขันธ์ ๓ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ และจิตตสมุฏฐานรูป<O:p</O:p
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และกามราคสัญโญชน์<O:p</O:p
พึงผูกจักรนัย<O:p</O:p
ในอารัมมณปัจจัย รูปไม่มี<O:p</O:p
อธิปติปัจจัย เหมือนกับ เหตุปัจจัย วิจิกิจฉาสัญโญชน์ไม่มี<O:p</O:p
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย<O:p</O:p
[๔๑๙]ในเหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๙<O:p</O:p
ในอารัมมณปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
ในอธิปติปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
ในอนันตรปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
ในปัจจัยทั้งปวงมี " ๙<O:p</O:p
ในวิปากปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
ในอาหารปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
ในอวิคตปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
[๔๒๐]สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยวิจิกิจฉาสัญโญชน์<O:p</O:p
ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรมเกิดขึ้น<O:p</O:p
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ <O:p</O:p
ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์<O:p</O:p
<O:p</O:p
สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
สัญโญชนธรรม อาศัยสัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น <O:p</O:p
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
คือ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยวิจิกิจฉาสัญโญชน์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ<O:p</O:p
เหมือนกับ อาสวโคจฉกะ<O:p</O:p
แม้ที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยทั้งหมด ก็พึงยกขึ้น<O:p</O:p
[๔๒๑]ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๔<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๙<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัยมี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัยมี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัยมี " ๓
<O:p</O:p
[๔๒๒]ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยกับเหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๓<O:p</O:p
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๙<O:p</O:p
พึงนับอย่างนี้ทั้งหมด
[๔๒๓]ในอารัมมณปัจจัย<O:p</O:pกับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๔<O:p</O:p
ในปัจจัยทั้งปวงกับ ฯลฯมี " ๔<O:p</O:p
ในวิปากปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๑<O:p</O:p
ในอาหารปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๔<O:p</O:p
ในมัคคปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๓<O:p
ในสัมปยุตตปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๔<O:p</O:p
ในอวิคตปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๔<O:p</O:p
สัญโญชนธรรม เกิดร่วมกับสัญโญชนธรรม ฯลฯ<O:p</O:p
<O:p</O:p
[MUSIC]http://audio.palungjit.org/attachment.php?attachmentid=61936[/MUSIC]
สัญโญชนทุกะ ปฏิจจวาร
ในห้อง 'พระไตรปิฎก เสียงอ่าน' ตั้งกระทู้โดย vilawan, 18 เมษายน 2011.
-
สัญโญชนธรรม : ธรรมกิเลสที่ร้อยรัดผูกมัดใจ
สังโยชน ๑๐
สํโยเชนฺติ พนฺธนฺตีติ สํโยชนานิ ฯ ธรรมเหล่าใดย่อมผูกสัตว์ทั้งหลายไว้ ธรรมเหล่านั้นชื่อว่า สังโยชน
ทูรคตสฺสาปี อากฑฺฒนโต นิสฺสริตํ อปฺปทานวเสน พนฺธนํ สํโยชนํ ฯ การผูกสัตว์ให้ติดอยู่ในวัฏฏทุกข์ ด้วยอำนาจไม่ให้ออกไปจากทุกข์ในวัฏฏะ โดยเหตุ ที่คร่าหรือดึงสัตว์ที่อยู่ในที่ไกลให้ลงมา นั้นชื่อว่า สังโยชน
สัตว์ทั้งหลายที่ถูกเชือก คือ สังโยชน ผูกคอไว้ในกามคุณทั้ง ๕ ซึ่งเปรียบ ด้วยเรือนจำ จึงไม่สามารถที่จะไปไหนได้เลย
สังโยชน หรือ สัญโญชน มี ๒ นัย คือ ตามนัยแห่งพระอภิธรรมและ ตามนัยแห่งพระสูตร ต่างก็มีจำนวนนัยละ ๑๐ ประการเท่ากัน เหมือนกันบ้าง ต่างกันบ้าง ดังต่อไปนี้
สังโยชนตามนัยแห่งพระอภิธรรม
๑. กามราคสังโยชน โลภเจตสิกที่ในโลภมูลจิต ๘
๒. ภวราคสังโยชน โลภเจตสิกที่ในทิฏฐิวิปปยุตต ๔
๓. ปฏิฆสังโยชน โลภเจตสิกที่ในทิฏฐิวิปปยุตต ๔
๔. มานสังโยชน มานเจตสิกที่ในทิฏฐิวิปปยุตต ๔
๕. ทิฏฐิสังโยชน ทิฏฐิเจตสิกในทิฏฐิสัมปยุตต ๔
๖. สีลัพพตปรามาสสังโยชน ทิฏฐิเจตสิกที่ในทิฏฐิสัมปยุตต ๔
๗. วิจิกิจฉาสังโยชน วิจิกิจฉาเจตสิกที่ในวิจิกิจฉาจิต
๘. อิสสาสังโยชน อิสสาเจตสิกที่ในโทสมูลจิต ๒
๙. มัจฉริยสังโยชน มัจฉริยเจตสิกที่ในโทสมูลจิต ๒
๑๐. อวิชชาสังโยชน โมหเจตสิกที่ในอกุสลจิต ๑๒
สังโยชนตามนัยแห่งพระสูตร
๑. กามราคสังโยชน โลภเจตสิกที่ในโลภมูลจิต ๘
๒. รูปราคสังโยชน โลภเจตสิกที่ในทิฏฐิวิปปยุตต ๔
๓. อรูปราคสังโยชน โทสเจตสิกที่ในโทสมูลจิต ๒
๔. ปฏิฆสังโยชน โทสเจตสิกที่ในโทสมูลจิต ๒
๕. มานสังโยชน มานเจตสิกที่ในทิฏฐิวิปปยุตต ๔
๖. ทิฏฐิสังโยชน ทิฏฐิเจตสิกในทิฏฐิสัมปยุตต ๔
๗. สีลัพพตปรามาสสังโยชน ทิฏฐิเจตสิกที่ในทิฏฐิสัมปยุตต ๔
๘. วิจิกิจฉาสังโยชน วิจิกิจฉาเจตสิกที่ในวิจิกิจฉาจิต
๙. อุทธัจจสังโยชน อุทธัจจเจตสิกที่ในอกุสลจิต ๑๒
๑๐. อวิชชาสังโยชน โมหเจตสิกที่ในอกุสลจิต ๑๒
รวมสังโยชนตามนัยแห่งพระอภิธรรม มีองค์ธรรม ๘ คือ
-โลภเจตสิก
-โทสเจตสิก
-มานเจตสิก
-ทิฏฐิเจตสิก
-วิจิกิจฉาเจตสิก
-อิสสาเจตสิก
-มัจฉริยเจตสิก และ
-โมหเจตสิก
รวมสังโยชนตามนัยแห่งพระสูตร นั้นมี องค์ธรรมเพียง ๗ คือ
-โลภเจตสิก
-โทสเจตสิก
-มานเจตสิก
-ทิฏฐิเจตสิก
-วิจิกิจฉาเจตสิก
-อุทธัจจเจตสิก และ
-โมหเจตสิก
เมื่อรวมองค์ธรรมของสังโยชน ตามนัยแห่งพระอภิธรรม และตามนัยแห่ง พระสูตรเข้าด้วยกันแล้ว ก็ได้องค์ธรรม ๙ คือ โลภเจตสิก โทสเจตสิก มานเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก วิจิกิจฉาเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก อุทธัจจเจตสิก และ โมหเจตสิก
กราบมหาอนุโมทนาบุญ คุณบี นะคะ
ด้วยความระลึกถึงเสมอ จ้า
กราบขอบพระคุณที่มาข้อมูล และภาพ เพื่อการศึกษาร่วมกันค่ะ ...
สังโยชน ๑๐ เวบลานธรรมจักร และ ภาพพระ / ผังภาพวงจร