อาการต่างๆ ที่เกิดภายในใจคือจิต

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ธรรมแท้ว่าง, 5 มกราคม 2021.

  1. แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    เฮียที คับ ทำไม ฉันทะ ถึงเป็นตัวแรก ของ อิธิบาท 4
     
  2. Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    พิจารณาดูแล้ว เห็นว่ากริยามันเริ่มต้นจากแบบนั้นเป็นต้นไปครับ และนี่มันไม่น่าจะใช่วิสัยของสาวกภูมินะครับ ขนาดพระสารีบุตรท่านยังโดนดุเลย พอคิดไปแล้วก็ทำให้นึกถึงกลุ่มที่ไปเรียนอภิธรรม มันจะใช่วิสัยของท่านรื้อ
     
  3. แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    ผมเคยได้ยิน คำว่า ฉันทะ คือ รากเหง้า งั้นผมเลิกใส่ใจดีกว่า
     
  4. Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    ดีครับ อย่าไปมัวแยกแยะแบบนั้นจะดีกว่า ไม่ใช่วิสัยแน่ๆ
     
  5. ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,258
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762



    ธรรม 9 ประการ

    ธรรมทั้งปวง มีฉันทะเป็นรากเง้า
    มีมนสิการเป็นแดนเกิด
    มีผัสสะเป็นเครื่องให้กำเนิด
    รวมลงในเวทนา
    มีสมาธิเป็นหัวหน้า
    มีสติเป็นใหญ่
    มีปัญญาเป็นเยี่ยม
    มีวิมุติเป้นแก่นสาร
    มีนิพพานเป็นที่สุด
     
  6. ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,288
    ค่าพลัง:
    +12,620
    ฉันทะ คือรากเหง้าของผู้มีความเพียร
    ฉันทะ ไม่ใช่กิเลสตัณหา ไม่ใช่ ราคะ
    ถ้าขาดฉันทะ กองทัพตัณหาราคะ
    จะบุกโจมตีแน่ๆ 555
     
  7. ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,258
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    ทุกขสัญญา ก็คือ กายใจที่มันเคลื่อนมันไหวที่เกิดขึ้นมาแล้ว

    กายใจ คือตัวทุกข์ มันเคลื่อน มันไหว คือทุกข์เกิดขึ้น

    ทุกข์เกิดแล้ว จึงเอามากำหนดรู้ เรียกว่า ตามรู้ทัน

    ในความเป็นจริง มันไม่ได้รู้ทัน จึงเรียกว่า เอาสัญญา ที่มันเกิดขึ้นมาแล้วเป็นเครื่องฝึก

    จนกว่ามันจะรุ้เท่าทัน

    ในหมวด สติปัฏฐาน

    จึงเรียกว่า ตามรู้

    นุปัสนา แปล คือ ตามรู้ด้วยความเป็นจริง

    ทุกข์เคลื่อน ตามฝึก รู้ทัน จนกว่าจะรู้เท่าทัน

    ส่วนพุกกะพุง อย่าไปสนใจ พวก กิเลสอ้างทั้งนั้น



    ส่วนไอ้อาการ ที่มันหายไปๆมาๆ คุณ ควร กำหนดรู้ ในความอยากรู้ ที่มันหายไปหายมา เรียกเป้งๆ ก้ กำหนดรู้ สงสัย แต่ ในการกระทำไม่ต้องไปทำอะไร กำหนดรุ้ที่จิตเนืองๆ
    เรียกได้ ว่า รู้ว่าไม่รู้ก้กำหนดรู้ งงละเซ๊
     
  8. Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    ถ้าตีความไม่ดีก็อันตรายเหมือนกัน เหมือนปรามาสพระสัทธรรมไปโดยไม่รู้ตัว ฉันทะไม่ใช่จะมาบอกว่า เอาละนะฉันจะเริ่มมีฉันทะละนะอะไรแบบนี้ ฉันทะนี่ถ้ามี มีโดยปริยาย คือถ้าขยันหมั่นประกอบในเหตุสังเกตในผล นั่นคือมันมีฉันทะอยู่ในตัวอยู่แล้ว

    ถ้าเอามาพูดในทำนองเป็นตัวเป็นตนขึ้นมา แล้วพอบอกว่าอย่าไปสนใจฉันทะที่เป็นตัวเป็นตนแบบนั้น แล้วกลายเป็นว่า กล่าวเป็นทำนองประชด งั้นกรูเลิกสนใจดีกว่า ก็จะกลายเป็นเผลอไปปรามาสธรรม อันนี้ต้องระวัง ผมแค่เตือนเฉยๆ ผมว่าเหตุการณ์ลักษณะนี้มีเยอะ นั่นแหละมันจะเป็นวิบากลากให้เนิ่นช้าออกไป หนักกว่านั้นก็คือปิดมรรคผลกันเลยทีเดียว ระวังกันหน่อยครับ
     
  9. ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,258
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    บริกรรม ก้คือ ความคิดนี่ละครับ

    จิต ต้องรู้ ความคิดอัตโนมัติอยู่แล้ว
    เพราะมัน มีสภาพรู้อย่างเดียว
    อะไรเกิดขึ้นมันก้รู้

    แต่ว่า จิตมันไม่รู้ตัว ว่ามันกำลังคิด
    หรือมันไม่รู้ตัวเอง ว่ามันกำลังรู้ความคิด

    การทวนกระแสไปหาที่เหตุ หรือที่ต้นตอมัน
    ก็คือ ฝึก ตามรู้ทัน ในตัวมันเอง
    ก้เอา ความคิด นี่ละครับ มาเป็นเครื่องฝึก

    ความคิดเกิดขึ้น กลายเป็นสัญญาไปแล้ว
    เป็นตัวทุกขสัญญาไปแล้ว จึงเอามา ฝึก ตามรู้ทัน

    เมื่อมันรู้ทัน จิตมันจึง จะรู้ตัวเอง ว่ามันกำลังคิด
    หรือ กำลังรู้ความคิด เนี๊ยะ ตรงนี้ จะเป็นปริเฉท ของรุปนาม
     
  10. maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,907
    ค่าพลัง:
    +2,252
    ตัณหาลูกสาวพยามาร ต่างกับ ฉันทะ ตรงไหน

    อภิธรรม นั้นไม่ยาก
    ยาก เพราะไม่ปฏิบัติ

    ตัณหา กับ ฉันทะ เป็น ปัจจัยแห่ง ภพ ทั้งคู่

    แต่ กรรมใหม่ที่ยังไม่เคยเกิดไปทำให้เกิด เรียก ตัณหา

    ส่วน กรรมวจรที่เคยเวียนไปเกิด หลายป๊ปหลายแซปหายสอย
    ส่วนนี้ เมื่อภาวนาจะเกิด บุพเพวาสานุสติขึ้นมา 80อสงไขย

    ทำให้ ภพน้อย ภพใหญ่ ที่เคยเกิด ปรากฏขึ้นเป็น สัญญา

    ภพไหนพึงเคยเสวยวิบากมาไม่นาน ( หาก กรรมตัดรอน
    จากภพนั้นลงมาเกอะ ก็จะ กลับไปเกิด ภพนั้น เสวยผล
    บุญาภิสังขารนั้นต่อแน่ๆ หนีไม่ได้ สใส่ก.ทำเอาไว้เอง)
    ก็จะกลายเป็น ธรรมฉันทะ ซึ่งเป็น เวรกรรม เป็นการให้
    ผลของเวรกรรม แม้นจะเป็น ฉันทะ ก็ต้องกำหนดรู้

    ดังนั้น

    หากภาวนาแล้ว ไม่บรรลุธรรม อย่างน้อย สัญญาที่เป็น
    ปุญญาภิสังขาร จะมาปรากฏ สมควรแก่ธรรม ไม่ใช่
    ประกอบขึ้นใหม่ ก็อนุโลมให้กลับไป ภพเหล่านั้น
    ( แต่ไม่ควรเอา ภพ พรหม ..ซึ่งแก้ด้วย "กำหนดรู้รอบ"
    ก็จะ ปุลงมาเป็น เทวดา ก็จะภาวนาต่อได้ หากไปเจอ
    พระที่เก่งเจโตปริญญาณ ผ่านมา หากไม่มี ก็ตายหยังเขียด
    รอพุทธันดรหน้า ) [ สัญญาสูตร จะให้หน่วงเพื่อไปภพนั้นๆ
    แต่ พระสูตรน่าจะแปลผิด จริงๆ คือ ให้ ทราบอาการหน่วง
    ที่จะไปภพนั้น ..ซึ่งจะได้ นิพพาน ใน ขณะจิตสุดท้าย ]


    ซารุป

    ระวังให้ดี พวกที่บอกว่า นักวิปัสสนา กระแดะ ห้าม
    ให้ตัณหา ..... แล้ว แนะนำให้เอา ตัณหา นำ

    ฮี้ ฮี้ ฮี้ ฮี้

    เสร็จ ลุ เสา พยามาร แอ แฮ สองสลึง
     
  11. ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,258
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    นั่นแหล่ะ หมูไหม้ ต้ม เป็นเหตุ
     
  12. หมูไม้ละ5 # shawty, set me free

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มีนาคม 2016
    โพสต์:
    1,659
    ค่าพลัง:
    +1,626
    ที่อธิบายจนยาวเกินไป
    ตั้งใจทำให้เห็นว่า
    "เราปล่อยวางจิต" หรือ "จิตปล่อยวางเรา"
    กันแน่ครับ

    ที่ใช้คำว่า "จิตเดิมแท้" แทนใช้คำว่านิพพาน
    เป็นความตั้งใจของผมในการสื่อ
    เพื่อให้ได้มองว่านิพพานอยู่ในนี้
    ไม่ใช่ที่ไหนไกล

    ที่จริง
    จะใช้คำว่าอะไร จิตเดิมแท้ จิตพุทธะ
    จิตเดิม จิตหลุดพ้น จิตวิมุติ
    จิตบริสุทธิ์ ธรรมธาตุ นิพพานธาตุ
    จิตหนึ่ง ธรรมชาติหนึ่ง หรือสิ่งหนึ่ง
    ก็คือ สื่อถึงสิ่งเดียวกัน คือ "นิพพาน"

    นิพพาน หรือ ที่ผมเลือกใช้คำว่า จิตเดิมแท้ แทน
    ที่จริงมันเป็นธรรมชาติ ที่ว่าง ไร้รูปนาม
    ไร้กิเลส ตัณหา อุปปาทาน ไร้การปรุงแต่งใดๆ
    ผมนิยามไว้เท่านี้

    มันไม่ใช่อะไรที่เป็นรูปนาม
    หรือจิตเป็นดวงๆ อย่างที่คุณทีบูนคิดครับ

    ในส่วนของอริยสัจ ก็มีการกล่าวถึงแล้ว
    ถ้าจะลองสังเกตุให้ดี
    มีแทรกอยู่ในนั้น หรือแม้แต่เรื่องสักกายะทิฐิ
    ก็มี ลองพิจารณาดูครับ

    ธรรมบทเดียว คนอ่านร้อยคน
    ก็เห็นต่างกัน เป็นร้อยแบบ
    เข้าใจว่าเป็นธรรมดา
    ที่จะไม่เข้าใจตรงกันทั้งหมดครับ
     
  13. ล่อนจ้อน ยถาวารี ตถาการี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤศจิกายน 2020
    โพสต์:
    4,665
    ค่าพลัง:
    +2,579
    อะไรมันจะมั่นใจขนาดนั้นครับ
     
  14. ล่อนจ้อน ยถาวารี ตถาการี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤศจิกายน 2020
    โพสต์:
    4,665
    ค่าพลัง:
    +2,579
    การตอบ"ฐิติภูตัง"เป็นไปได้ทั้งรูปธรรมและนามธรรม
    ฐีติภูตัง นั้นควรต้องแยกคำทั้งสองออกจากกัน

    เพื่อสะดวกแก่การอธิบาย คำว่า ฐิติ แปลว่า ตั้งอยู่ (อุปาทะ+ฐีติ+ภังคะ) เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
    (คำว่าตั้งอยู่จะอยู่ในระหว่างกลาง)
    เปรียบพระอาทิตย์โผล่ขึ้นจากขอบฟ้า ได้แก่ (อุปาทะ) เมื่อต่อจากนั้นพระอาทิตย์
    ก็เคลื่อนไปเรื่อยๆแต่ยังไม่ตก ได้แก่(ฐีติ) และเมื่อพระอาทิตย์ตกคือมืด ได้แก่ (ภังคะ)
    ที่ยกมาให้ดูก็เพื่อจะให้เห็นว่าฐีติตั้งอยู่ตรงไหน

    ที่นี้ก็มาว่าถึงคำว่า "ภูตัง" ก็คือ ภูต หรือ มหาภูตรูปทั้ง ๔ ไแก่ ดิน น้ำ ไฟ ลม
    ซึ่งเป็นฐานเป็นที่ตั้งของอุปาทายรูป ๒๔ ฉะนั้นคำว่า "ฐีติภูตัง" มหาภูตรูปตั้งขึ้น ก็มีอุปาทายรูป
    ตั้งขึ้นด้วยตามสมควรแก่เหตุ แต่ก็ไม่ได้ตั้งขึ้นแล้วตั้งโด่เด่อย่างนั้น

    ย่อมมีการเปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามความสามารถของ มหาภูตรูป
    หรือตามความสามารถของ ดิน น้ำ ไฟ ลม คือเปลี่ยนเป็นร้อนบ้าง เปลี่ยนเป็นเย็นบ้าง
    เปลี่ยนเป็นแข็งบ้าง เป็นอ่อนบ้างดังนี้ คือจะไม่อยู่นิ่งเฉย จนกว่าจะถึงภังคะคือ ดับ

    สรุปความตรงนี้ได้แก่การตั้งขึ้นของมหาภูตรูป ๔ นั่นเอง อันนี้ไม่ได้อธิบายไปในทางนามธรรม
    ไปก็อบเค้ามาครับไม่รู้จักชื่อ
    (ลุงหมาน)
     
  15. ล่อนจ้อน ยถาวารี ตถาการี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤศจิกายน 2020
    โพสต์:
    4,665
    ค่าพลัง:
    +2,579
    Worth it
    เดาได้ประมาณนี้จิตเดิมแท้เป็นที่ตั้งของมหาภูติรูป4
     
  16. หมูไม้ละ5 # shawty, set me free

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มีนาคม 2016
    โพสต์:
    1,659
    ค่าพลัง:
    +1,626
    ก๊อปมาเข้าใจว่าอะไร ลองอธิบายครับ
     
  17. หมูไม้ละ5 # shawty, set me free

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มีนาคม 2016
    โพสต์:
    1,659
    ค่าพลัง:
    +1,626
    "จิตเดิมแท้" แค่คำๆนึง
    ที่ต้องการสื่อคือนิพพานครับ

    นิพพานเป็นที่ตั้ง มหาภูติรูป4 หรือเปล่าครับ
     
  18. ล่อนจ้อน ยถาวารี ตถาการี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤศจิกายน 2020
    โพสต์:
    4,665
    ค่าพลัง:
    +2,579
    จิตเดิมไม่ใช่นิพพานครับบ้านไหนเคย
    นิพพานคือการดับของกายเวทนาจิตธรรม
    อยู่ในของการดับสี่อย่างนี้ถึงพออธิบายว่านิพพานได้ครับ
     
  19. หมูไม้ละ5 # shawty, set me free

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มีนาคม 2016
    โพสต์:
    1,659
    ค่าพลัง:
    +1,626
    นิพพานไม่ใช่การดับ กาย เวทนา จิต ธรรม สิครับ
     
  20. ล่อนจ้อน ยถาวารี ตถาการี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤศจิกายน 2020
    โพสต์:
    4,665
    ค่าพลัง:
    +2,579
    นิพพานบ้านผมเป็นแบบนี้อ่า
    ลองหานิพพานสูตรมาเทียบดูครับ
    จะอธิบายทางนี้นะผมว่า55
     

แชร์หน้านี้