เกิดแก่เจ็บตายมาจากไหน? ปัพโตปมกถา พระธรรมเทศนาหลวงพ่อสดวัดปากน้ำ

ในห้อง 'พระไตรปิฎก' ตั้งกระทู้โดย หลับอยู่, 22 พฤษภาคม 2015.

  1. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +291
    <CENTER><BIG>อรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อุรควรรค</BIG> <CENTER class=D>ธนิยสูตร</CENTER></CENTER>





    <CENTER>อรรถกถาธนิยสูตร </CENTER>
    ลำดับนั้น นายธนิยะเห็นแล้วซึ่งธรรมกายของพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยปัญญาจักษุ ด้วยศรัทธาซึ่งตั้งมั่นแล้ว
    อันเกิดขึ้นแล้วในพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นมูลด้วยความเลื่อมใสที่ไม่คลอนแคลน ผ้้มีหทัยอันธรรมกายตักเตือนแล้ว
    คิดแล้วว่า นับตั้งแต่อเวจีเป็นที่สุดจนถึงภวัครพรหม เว้นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสีย คนอื่นใครเล่าจักบันลือสีหนาทที่มีกำลังเช่นนี้ได้ พระศาสดาของเราเสด็จมาแล้วหนอ ด้วยความดำริว่า เราตัดเครื่องผูกทั้งหลายได้แล้ว และการนอนในครรภ์ของเราไม่มี.
    ต่อจากนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเปล่งรัศมีแห่งพระกาย ซึ่งเป็นราวกะว่าแสงเรืองรองที่รดด้วยน้ำทองอันงดงามไปด้วยข่ายแห่งฉัพพัณณรังสี เข้าไปในบ้านของนายธนิยะ ด้วยประสงค์ว่า บัดนี้ เชิญท่านจงดูตามสบาย.
    http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=295
     
  2. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +291
    <CENTER><BIG>อรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อุรควรรค</BIG> <CENTER class=D>ธนิยสูตร</CENTER></CENTER>




    <CENTER>อรรถกถาธนิยสูตร </CENTER>

    ใน ๒ คาถานั้น พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
    เพราะเหตุที่นายธนิยะพร้อมกับบุตรและภรรยาได้เห็นธรรมกายของพระผู้มีพระ<WBR>ภาค<WBR>เจ้า<WBR>ด้วยการแทงตลอดอริยมรรค
    เห็นรูปกายของพระองค์ด้วยโลกุตรจักษุ
    และกลับได้สัทธาที่<WBR>เป็น<WBR>โลกิย<WBR>สัทธา ฉะนั้นเขาจึงกล่าวว่า เป็นลาภของข้าพระองค์ไม่น้อยหนอที่ข้าพระองค์ได้เห็นพระผู้มี<WBR>พระ<WBR>ภาค<WBR>เจ้า.
    คำว่า วต ในคำว่า ลาภา วต โน อนปฺปกา นั้น เป็นนิบาตใช้ในอรรถว่า ปลื้มใจ.
    บทว่า โน คือ ข้าพระองค์ทั้งหลาย. บทว่า อนปฺปกา ได้แก่ มาก.
    คำที่เหลือเข้าใจง่ายทั้งนั้น.
    ส่วนในคำว่า สรณํ ตํ อุเปม นี้ มีวินิจฉัยดังนี้ :-
    การถึงสรณะของนายธนิยะนั้นสำเร็จแล้วด้วยการบรรลุมรรคนั้นแล แม้ก็จริง ถึงกระนั้นในคำนั้น นายธนิยะนั้นถึงการตกลงทีเดียว บัดนี้เขากระทำการมอบตนด้วยวาจา.
    อีกอย่างหนึ่ง เขาเมื่อกระทำที่พึ่งด้วยการมอบตนให้ปรากฏด้วยสามารถแห่งมรรค และทำสรณะที่ไม่หวั่นไหวนั้น ให้ปรากฏด้วยวาจาแก่คนเหล่าอื่น จึงถึงสรณคมน์ด้วยการนอบน้อมด้วยมือ (อีก).


    http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=295
     
  3. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +291
    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
    อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต</CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER></CENTER>
    </PRE>

    <CENTER>กัณหมรรคสูตร</CENTER>
    </PRE>

    [๑๔๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่เป็นมรรคาดำและธรรมที่
    </PRE>เป็นมรรคาขาวแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เป็นมรรคาดำเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่เป็นมรรคาดำ


    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่เป็นมรรคาขาวเป็นไฉน สัมมาทิฐิฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่เป็นมรรคาขาว ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๒</CENTER>
     
  4. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +291
    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑
    ขุททกนิกาย มหานิทเทส</CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" vspace="0" hspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    <CENTER></CENTER>


    </PRE>

    [๙๔๖]


    </PRE>

    ผู้ให้สัตว์ตาย


    </PRE>

    ผู้มีกรรมดำ


    </PRE>

    เป็น"ผู้ใหญ่"


    </PRE>
    ผู้ให้สัตว์ถึงความตาย


    </PRE>

    ผู้ไม่ให้สัตว์พ้นไป


    </PRE>

    ผู้เป็นเผ่าพันธ์แห่งผุ้ประมาท


    </PRE>

    ชื่อว่าผู้มีกรรมดำ


    </PRE>

    ในคำว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.


    </PRE>

    คำว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิการว่านี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.


    </PRE>

    คำว่า พึงละ บรรเทา ทำให้สิ้นไป ให้ถึงความไม่มีด้วยมนสิการว่า


    </PRE>

    นี่เป็นฝักฝ่ายผู้มีกรรมดำ


    </PRE>

    เป็นฝักฝ่ายมาร


    </PRE>

    เป็นบ่วงมาร


    </PRE>

    เป็นเบ็ดมาร


    </PRE>

    เป็นเหยื่อมาร


    </PRE>

    เป็นวิสัยมาร


    </PRE>

    เป็นเครื่องให้เดือดร้อนของมาร


    </PRE>

    เป็นอาหารมาร


    </PRE>

    เป็นเครื่องผูกของมาร


    </PRE>

    แม้ด้วยเหตุอย่างนี้ ดังนี้ จึงชื่อว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.อีกอย่างหนึ่ง พึงละ บรรเทา ทำให้สิ้นไป ให้ความไม่มี ด้วยมนสิการว่า


    </PRE>

    นี่เป็นฝักฝ่ายผู้มีกรรมดำ


    </PRE>

    เป็นฝักฝ่ายมาร


    </PRE>

    เป็นฝักฝ่ายอกุศล


    </PRE>

    เป็นเครื่องให้เกิดทุกข์


    </PRE>

    เป็นสภาพมีวิบากเป็นทุกข์


    </PRE>

    เป็นเหตุให้เป็นไปในนรก


    </PRE>

    เป็นเหตุให้เป็นไปในกำเนิดดิรัจฉาน


    </PRE>

    เป็นเหตุให้เป็นไปในเปรตวิสัย


    </PRE>

    แม้ด้วยเหตุอย่างนี้ ดังนี้ จึงชื่อว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิกาว่า


    </PRE>

    นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.


    </PRE>

    เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า ภิกษุไม่พึงทำความเป็นขโมย ไม่พึงพูดเท็จ พึงแผ่เมตตาไปยังสัตว์ทั้งที่ สะดุ้งและผู้มั่นคง เมื่อใด ภิกษุพึงรู้ความขุ่นใจ เมื่อนั้น พึงบรรเทา เสียด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ


    </PRE><CENTER></CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ บรรทัดที่ ๑๑๒๔๘ - ๑๑๒๖๒. หน้าที่ ๔๗๒.
    http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=29&A=11248&Z=11262&pagebreak=0
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กรกฎาคม 2015

แชร์หน้านี้

Loading...