<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เครื่องปรุงขนมไทย
[/FONT]
</TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]<TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="WIDTH: 25%" width="25%">ใบเตย </TD><TD>ให้สีเขียว และกลิ่นหอม
โดยโขลกให้ละเอียดคั้นน้ำแล้วกรองเอากากออก</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ดอกมะลิ</TD><TD>ใช้ลอยน้ำ โดยล้างดอกมะลิให้สะอาดแล้วลอยน้ำไว้ในตอนเย็น พอรุ่งเช้าจึงนำดอกมะลิออก จะทำให้น้ำหอมหรือจะอบขนมทั้งดอกโดยใส่ในขนมแล้วปิดฝาไว้ก็ได้</TD></TR><TR><TD>ดอกกุหลาบ</TD><TD>แกะกลีบ
แล้วใส่ลงบนขนมปิดฝา</TD></TR><TR><TD>ดอกกระดังงา</TD><TD>ต้องลนไฟเสียก่อน
แล้วฉีกกลีบละ
2-3
ชั้นใส่ในขนมปิดฝาไว้</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ดอกอัญชัน</TD><TD>ใช้ดอกแช่ในน้ำร้อน
จะได้สีน้ำเงินอมฟ้า
ถ้าบีบมะนาวลงไปจะเปลี่ยนเป็นสีม่วง</TD></TR><TR><TD vAlign=top>เทียนอบ</TD><TD>จุดไฟให้เทียนลุกแล้วดับให้มีควันมากๆ ใส่ลงในขนม ปิดฝาภาชนะให้ควันอยู่ในนั้น</TD></TR><TR><TD vAlign=top>น้ำปูนใส</TD><TD>ทำจากปูนแดงที่รับประทานกับหมากประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำสะอาด
ประมาณ 4-5 ถ้วย ตั้งให้ตกตะกอนมีคุณสมบัติช่วยให้ส่วนผสมกรอบขึ้นและทำให้เนื้อผลไม้ที่จะเชื่อมเนื้อเหนียวขึ้น</TD></TR><TR><TD vAlign=top>งาคั่ว</TD><TD>ก่อนคั่วควรเลือกเอาสิ่งที่ไม่ต้องการออกแล้วนำไปล้างในกระชอน ผึ่งให้สะเด็ดน้ำ
เอาใส่กระทะตั้งไฟอ่อนๆ ตลอดเวลาจนงาเป็นสีเหลืองสวยเทใส่ถาด ผึ่งให้เย็นเก็บใส่ภาชนะที่มีฝาปิด</TD></TR><TR><TD vAlign=top>มะพร้าว</TD><TD>ใช้มะพร้าวแก่จัด
ขูดแล้วคั้นให้ได้เป็นกะทิ
มี
2
ลักษณะคือ
มะพร้าวขูด
ดำจะเป็นมะพร้าวที่ขูดทั้งผิวเปลือกดำส่วนมะพร้าวขูดขาวต้องปอกเปลือก
ผิวดำออกให้หมดจึงนำไปขูดเมื่อคั้นเป็นกะทิจะได้กะทิขาวสวย</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ทองคำเปลว</TD><TD>เป็นชนิดเดียวกับที่ใช้ปิดทองพระพุทธรูปใช้เพื่อให้เกิดความสวยงามมีค่าขึ้น
นิยมตัดเป็นชิ้นเล็กๆ
ปะหน้าขนมเช่น จ่ามงกุฎ ทองเอก</TD></TR><TR><TD vAlign=top>สาคู</TD><TD>มี 2 ขนาด
คือเม็ดเล็กและเม็ดใหญ่ใช้ประกอบอาหารแตกต่างกันออกไปสาคูเม็ดเล็กใช้ทำสาคูไส้หมู สาคูเปียก หมกมณี ส่วนสาคูเม็ดใหญ่ใช้ทำสามแช่ สาคูบัวลอย</TD></TR><TR><TD>น้ำตาลปีก</TD><TD>หรือน้ำตาลเมืองเพชร ใช้ทำน้ำกะทิลอดช่องขนมหม้อแกง</TD></TR><TR><TD>น้ำตาลทรายขาว</TD><TD>นิยมทำน้ำเชื่อม ที่ต้องการความใสเช่น น้ำเชื่อม ไข่แมงดา ทองหยิบ</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ข้าวเม่า</TD><TD>เป็นข้าวที่เปลือกนอกเริ่มเหลือง ยังไม่แข็งพอที่จะเป็นข้าวสาร จึงเก็บเกี่ยว
เมล็ดมาคั่วและพรมน้ำเกลือ เมื่อเมล็ดข้าวสุกดีแล้ว ใส่ลงในครกตำข้าวโขลก
จนเมล็ดข้าวแบบทั่วกัน
</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ข้าวเม่าราง</TD><TD>เมื่อโขลกข้าวเม่าจนเมล็ดแบบดีแล้ว นำใส่กระทะใหญ่ ๆ
คั่วให้พองกรอบอีก
ทีหนึ่งแล้วฝัดแกลบและรำออก</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ข้าวกล้อง</TD><TD>คือข้าวที่ขัดสีไม่มาก สีไม่ขาว มีวิตามินและเกลือแร่มากเป็นข้าวเจ้า</TD></TR><TR><TD vAlign=top>แป้งข้าวเจ้า</TD><TD>เมื่อทำให้สุกโดยวิธีกวน
เมื่อเย็นแล้วจะแข็ง
วิธีทำให้นิ่มคือใส่น้ำมันพืชลงนิด
หน่อยในส่วนผสมแป้งแล้วจึงกวน</TD></TR><TR><TD vAlign=top>แป้งเท้ายายม่อม</TD><TD> ใช้แทนแป้งมันได้ให้คุณสมบัติเช่นเดียวกัน คือ เหนียวใสทำให้ส่วนผสมขึ้นเงา</TD></TR><TR><TD vAlign=top>แป้งถั่ว</TD><TD>มีคุณสมบัติทำให้ขนมแข็งอยู่ตัวร่วนไม่ติดภาชนะ จึงควรผสมกับแป้งข้าวเจ้า</TD></TR><TR><TD vAlign=top>แป้งข้าวโพด</TD><TD> คุณสมบัติช่วยให้อาหารข้นเหนียวนุ่มแต่ไม่เหนียวเท่าแป้งมัน ถ้าใช้แป้งผสม
น้ำต้องค่อย ๆ
เทน้ำใส่แป้งทีละน้อยแป้งจะไม่เป็นเม็ด</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ข้ามเหนียวดำ,ขาว</TD><TD>คุณสมบัติคล้ายกัน
แต่ข้าวเหนียวดำมีความเหนียวน้อยกว่าและเวลาทำขนมจะ
สีดำ
ถ้าเป็นแป้งข้าวเหนียวดำต้องผสมข้าวเหนียวขาว ขนมจะนุ่มและสีไม่ดำ
เกินไป</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วุ้นชนิดเส้น</TD><TD>มีลักษณะเหมือนเชือกฟางขาวใสเส้นยาว เมื่อจะใช้ล้างด้วยน้ำสะอาดแล้วนำไป
ต้มในน้ำ
แล้วจึงเติมน้ำตาล</TD></TR></TBODY></TABLE>[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>ที่มา
โหระพา.คอม