3ข้อสันนิษฐานเหตุ“หลุมยุบ”ในกัวเตมาลา

ในห้อง 'ข่าวทั่วไป' ตั้งกระทู้โดย titawan, 2 มิถุนายน 2010.

  1. titawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มกราคม 2008
    โพสต์:
    2,290
    ค่าพลัง:
    +5,139
    ช็อค หลุมยักษ์ในกัวเตมาลา-ดับ150


    พายุอธากาถล่มอเมริกากลาง ส่งผลให้ยอดผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นเฉียด 150 ราย และยังก่อให้เกิดหลุมยุบขนาดใหญ่ในกัวเตมาลาอีกด้วย
    พายุโซนร้อน "อกาธา" ที่พัดถล่มกัวเตมาลาและภูมิภาคอเมริกากลาง ตั้งแต่วันเสาร์ที่ผ่านมา ส่งผลให้ยอดผู้เสียชีวิตล่าสุด เพิ่มขึ้นเป็น 146 ราย โดยเป็นประชากรชาวกัวเตมาลา ถึง 123 ราย , ฮอนดูรัส 17 ราย และในเอลซัลวาดอร์ 9 ราย นอกจากนี้ยังมีผู้ได้รับบาดเจ็บรวมแล้วถึง 69 ราย และกว่า 90 คนยังคงสูญหาย
    โดยฝนที่กระหน่ำตกลงมาอย่างหนักจากอิทธิพลของพายุ "อกาธา" ซึ่งเป็นพายุโซนร้อนลูกแรกของฤดูเฮอริเคน ในภูมิภาคแปซิฟิกตะวันออกของปีนี้ ทำให้พื้นดินในเมืองกัวเตมาลาซิตี้ เมืองหลวงของกัวเตมาลายุบตัวลงเกิดเป็นหลุมขนาดใหญ่ ซึ่งขณะนี้เจ้าหน้าที่กำลังทำการสอบสวนเพื่อหาสาเหตุของปรากฏการณ์นี้ต่อไป
    ตามที่มีการบันทึกไว้ หลุมยุบเกิดจากพื้นผิวดินพังทลายจากน้ำที่ไหวเวียนอยู่ใต้ดิน ไปกัดเซาะชั้นหินตะกอนที่มีองค์ประกอบจำพวกคาร์บอเนต โดยในเดือนเมษายน ปี 2550 เคยเกิดปรากฏการณ์ในลักษณะคล้ายกันมาแล้วครั้งหนึ่ง ในพื้นที่อเมริกากลางจนส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตถึง 3 ราย







    ช็อค หลุมยักษ์ในกัวเตมาลา-ดับ150
     
  2. ษิตา ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    10,174
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,230
    ค่าพลัง:
    +34,657
    น่ากลัวจัง..~>_<~
     
  3. ษิตา ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    10,174
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,230
    ค่าพลัง:
    +34,657
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>3 ข้อสันนิษฐานเหตุ “หลุมยุบ” ในกัวเตมาลา</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>3 มิถุนายน 2553 09:53 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1></TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1></TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1></TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif></TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1></TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1></TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>หลุมยุบในกัวเตมาลาซึ่งเกิดตรงกลางสี่แยกพอดี นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ทราบกลไกที่ชัดเจนในการเกิด แต่สันนิษฐานว่าน่าจะเกิดชั้นหินปูน (ภาพประกอบทั้งหมดจากเอเอฟพี)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif></TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>หลายคนที่เห็นภาพ “หลุมยุบ” กลางสี่แยกในกัวเตมาลา อาจไม่เชื่อสายตาตัวเอง และสงสัยว่าเป็นภาพตัดต่อหรือไม่ แต่เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริงและเคยเกิดขึ้นมาแล้วเมื่อ 3 ปีก่อน โดยนักธรณีวิทยารั้วจามจุรีเผย 3 ข้อสันนิษฐานของปรากฏการณ์ แต่ให้น้ำหนักกรณีหลุมยุบ เนื่องจากชั้นใต้ดินเป็นหินปูนมากที่สุด

    หลุมยุบที่เกิดขึ้นในกัวเตมาลาหลังพายุโซนร้อนอากาธา (Agatha) มีความกว้างถึง 18 เมตรและลึกประมาณ 30 เมตร ซึ่งเนชันนัลจีโอกราฟิกรายงานความเห็นของ เจมส์ เคอร์เรนส์ (James Currens) นักอุทกธรณีวิทยา จากมหาวิทยาลัยเคนตัคกี (University of Kentucky) สหรัฐฯ ว่า ยังไม่ทราบกลไกที่เป็นสาเหตุของการยุบตัวครั้งนี้ และเมื่อปี 2007 เคยเกิดเหตุแผ่นดินยุบตัวในบริเวณใกล้เคียงกัน

    สำหรับเหตุการณ์ล่าสุดนี้ทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTV-ผู้จัดการออนไลน์ได้สอบถามไปยัง ผศ.ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล อาจารย์ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งตั้งข้อสันนิษฐานถึงการยุบตัวของแผ่นดินไว้ 3 กรณี ซึ่งมีกรณีฝนตกหนัก เนื่องจากพายุเป็นตัวกระตุ้นให้ดินยุบตัว โดยพายุครั้งนี้มีปริมาณน้ำฝนมาถึง 300 มิลลิลิตรต่อ 30 ชั่วโมง ขณะที่ปริมาณฝนปกติอยู่ที่ 100 มิลลิลิตรเท่านั้น

    กรณีแรก อาจเกิดเนื่องจากชั้นหินปูนใต้ดินถูกน้ำเซาะ จนเกิดโพรงและดินด้านบนอุ้มน้ำปริมาณมากจนยุบตัวลง ซึ่งกรณีเช่นนี้พบได้ในหลายจังหวัดของไทย เช่น จ.กาญจนบุรี ที่มีภูเขาหินจำนวนมาก และมีถ้ำน้ำลอดซึ่งเกิดการหินปูนถูกน้ำเซาะ วันดีคืนดีฝนละลายหินปูนจนทำให้ชั้นดินที่ปกคลุมชั้นหินปูนถล่มลงไป หรือ จ.พัทลุงและสตูล ที่เกิดแผ่นดินยุบตัวหลังฝนตกหนัก

    กรณีที่สอง เกิดจากชั้นดินอ่อนหรือชั้นดินใหม่ มีชั้นทราย เมื่อฝนตกจึงเกิดการกระจุกตัวของน้ำฝนที่ซึมสู่ใต้ดินอย่างรวดเร็ว ทำให้ดินยุบตัว ซึ่งกรณีนี้เคยเกิดที่เมืองไทยบริเวณ ถ.สุขุมวิทของพัทยา เนื่องจากมีชั้นดินเป็นชั้นทราย และกรณีสุดท้ายคือชั้นใต้ดินมีชั้นเกลือ เมื่อชั้นเกลือละลายจะเกิดหลุมยุบ พบกรณีนี้แถวภาคอีสานของไทย เช่น จ.นครราชสีมา เป็นต้น

    จากการสันนิษฐานเบื้องต้น ผศ.ดร.ธนวัฒน์กล่าวว่า กรณีดินยุบตัวที่กัวเตมาลาน่าจะเป็น 2 กรณีมากกว่า และไม่น่าจะเกิดจากชั้นเกลือใต้ดินถูกละลาย โดยดูจากสภาพธรณีคร่าวๆ และบริเวณที่เกิดยังมีภูเขาไฟระเบิดเยอะ บริเวณดังกล่าวจึงไม่น่าจะมีหินเกลือ (Rock salt) ซึ่งส่วนใหญ่มักเกิดพร้อมๆ กับหินทราย (Sand stone) ในยุคมีโซโซอิค (Mesozoic) แต่จะพบในจีน สหรัฐฯ หรือ จ.นครราชสีมาของไทยมากกว่า

    อย่างไรก็ดี นักธรณีวิทยาของไทยให้น้ำหนักการเกิดดินยุบตัวครั้งนี้กับข้อสันนิษฐานว่า เกิดจากชั้นหินปูนถูกละลายมากกว่า อีกทั้งบริเวณดังกล่าวยังเคยเกิดหลุมยุบมาแล้ว และจากการพิจารณาภาพหลุมยุบผ่านสื่อพบว่ามีชั้นดินปิดทับอยู่ประมาณ 10 เมตร และชั้นหินไม่เก่ามากซึ่งกำลังตรวจสอบว่าเป็นชั้นหินปูนหรือไม่ พร้อมๆ กับการค้นหาแผ่นที่ทางธรณีวิทยาซึ่งจะบอกได้ชัดเจนขึ้นว่าเกิดการยุบตัวจากชั้นหินปูนหรือไม่ แต่การตรวจสอบที่ชัดเจนจริงๆ ต้องลงไปสำรวจยังพื้นที่เกิดเหตุ

    สำหรับหลุมยุบที่เกิดขึ้นนี้ ผศ.ดร.ธนวัฒน์กล่าวว่า มีโอกาสขยายวงยุบตัวเพิ่ม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากธารน้ำใต้ดิน และการที่ฝนตกหนักจะยิ่งเสริมให้ดินยุบตัวได้มากขึ้น เนื่องจากชั้นดินอุ้มน้ำมากทำให้น้ำหนักเพิ่มและถล่มลง โดยส่วนใหญ่น้ำมักเป็นตัวเร่งให้เกิดหลุมยุบ และหลุมยุบทุกกรณีเกิดจากฝนตกหนัก ยกเว้นหลุมยุบจากการพุ่งชนของอุกกาบาตซึ่งเป็นหลุมยุบอีกประเภทหนึ่งที่ไม่มีน้ำมาเกี่ยวข้อง ในกรณีของอุกกาบาตนั้นทำให้เกิดหลุมยุบที่สหรัฐฯ กว้างถึง 2 ตารางกิโลเมตร

    ทั้งนี้ 80-90% ของหลุมยุบมักเกิดจากชั้นหินปูน โดยลักษณะของหลุมยุบมักเป็นวงกลมแต่ไม่แน่นอนเสมอไป และ ผศ.ดร.ธนวัฒน์ ระบุด้วยว่า การสร้างสิ่งก่อสร้างใดๆ ควรต้องตรวจสอบด้วยว่า ตั้งอยู่บนพื้นดินที่มีชั้นหินปูนอยู่หรือไม่ ซึ่งเมืองไทยมีแผ่นที่ธรณีวิทยาที่ระบุว่าบริเวณใดบ้างมีชั้นหินปูน สำหรับการตรวจสอบชั้นหินปูนนั้นทำได้ด้วยเทคนิคทางธรณีฟิสิกส์ ด้วยการยิงกระแสไฟฟ้าลงดิน หากกระแสไฟฟ้าผ่านไม่ได้แสดงว่าชั้นใต้ดินมีโพลงอยู่


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right height=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=baseline><TD vAlign=top width=21 height=19></TD><TD class=hit align=left height=19>ข่าวที่เกี่ยวข้อง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19></TD><TD align=left height=19>ยอดตาย “อากาธา” พุ่งเกือบ 150 เกิดหลุมลึกกลางเมืองหลวงกัวเตมาลา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    Science - Manager Online
     
  4. sinyorrae เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มกราคม 2010
    โพสต์:
    132
    ค่าพลัง:
    +424
    ดุจหลุมดำ น่ากลัวมาก
     
  5. kittanan002 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    10
    ค่าพลัง:
    +7
    น่ากลัวจังเลยครับ...rabbit_run_away
     
  6. SP6580 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    518
    ค่าพลัง:
    +1,550
    เหมือนธรณีสูบเลย สูบลงนรก
     
  7. ปรมัตถบารมี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    667
    ค่าพลัง:
    +3,449
  8. สันต์โสภา สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    52
    ค่าพลัง:
    +16
    สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ ก็เป็นไปแล้ว ที่ไม่เคยเห็นก็ได็เห็น:'(
     
  9. เด็กยุคใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +334
    ไอ้ที่จะมาเกิดใหม่ แปลกๆ มีอีกเพียบ เอาเถอะ

    นักวิชาการก็ดีครับ เก็บไว้เป็นสถิติ เพื่อให้คนรุ่นหลังตระหนักในชีวิต

    รอดูต่อไป...
     

แชร์หน้านี้