ขออนุญาตสอบถามพี่ๆและเพื่อนๆนักปฏิบัติทุกท่านครับ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย rattanasak, 26 ธันวาคม 2017.

  1. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    อาการพวกนี้ ถ้าเราไปตามดู ตามรับรู้ มันจะไม่มีสิ้นสุด เราจะรู้สึกอย่างไร จะสูงออกไปนอกบ้าน นอกโลกใน อวกาศก็แล้วแต่ จะดิ่งลงเหมือนเป็นหลุมดำลงไปเรื่อยๆไม่มีสิ้นสุด อาการพวกนี้ ไม่ต้องไปตามเสวยอารมณ์ ครับ ให้กลับมาจดจ่ออยู่กับกรรมฐานที่เราภาวนา เจออาการอะไรก็แล้ว แต่ให้รับรู้ แล้วปล่อยวาง

    เราทำสมาธิ ต้องการให้ จิตสงบตั้งมั่น ครับ
    ไม่ได้ทำสมาธิเพื่อไปตามเสวยอารมณ์ไปตามดูเรื่องพวกนี้

    ถ้าจิตเราตั้งมั่น สงบจากนิวรณ์ 5 ลงไปถึงฐานของจิต จิตเราจะเป็น สมาธิ เป็นฌาน ครับ ถ้าผ่านตรงนี้ อาการพวกนี้ไปได้

    เมื่อไหร่ที่จิตเข้าสมาธิ ฌาน เมื่อไหร่ อาการพวกนี้ จะหายไปเอง

    นิวรณ์
    อุทธัจจะกุกกุจจะ
    วิจิกิจฉา
    ถ้าเรา ลังเลใจ สงสัย จิตไม่สงบ จะเป็นตัวขวาง ปฐมฌาน ครับ

    ดังนั้น ถ้า สิ่งสำคัญเลยคือ จิตต้องสงบจากนิวรณ์ 5 เป็นพื้นฐาน จิตตั้งมั่น อารมณ์หนึ่ง ไม่มีสอง ถึงจะเป็นสมาธิ ฌาน ครับ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 มกราคม 2018
  2. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    สมาธิแบบนี้ก็ยัวไม่ใช่สัมมาสมาธินะ
     
  3. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    จิตเป็นสมาธิ เมื่อไหร่ ก็ออกไป วิปัสสนากรรมฐาน ต่อสิครับ

    กรรมฐาน มี 2 สาย สมถะ และ วิปัสสนา

    แยกออกให้ออก
     
  4. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    สัมมาสมาธิ
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    14px-Pictogram_voting_wait_orange.svg.png
    ส่วนหนึ่งของ
    ศาสนาพุทธ

    20px-Dhamma_Cakra.svg.png สถานีย่อย

    150px-Dharmacakra_flag_%28Thailand%29.svg.png
    ประวัติศาสนาพุทธ

    ศาสดา
    พระโคตมพุทธเจ้า
    (พระพุทธเจ้า)

    จุดมุ่งหมาย
    นิพพาน
    พระรัตนตรัย
    พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์

    ความเชื่อและการปฏิบัติ
    ศีล (ศีลห้า) · ธรรม (เบญจธรรม)
    สมถะ · วิปัสสนา
    บทสวดมนต์และพระคาถา
    คัมภีร์และหนังสือ
    พระไตรปิฎก

    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก
    หลักธรรม
    ไตรลักษณ์ · อริยสัจ 4 · มรรค 8 · ปฏิจจสมุปบาท · มงคล 38
    นิกาย
    เถรวาท · มหายาน · วัชรยาน · เซน
    สังคมศาสนาพุทธ
    ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน
    การจาริกแสวงบุญ
    พุทธสังเวชนียสถาน ·
    การแสวงบุญในพุทธภูมิ
    ดูเพิ่มเติม
    อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ
    หมวดหมู่ศาสนาพุทธ

    สัมมาสมาธิ แปลว่า สมาธิชอบ คือความตั้งใจมั่นโดยถูกทาง โดยการที่กุศลจิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว (ความตั้งมั่นแห่งกุศลจิตในในอารมณ์อันใดอันหนึ่ง ไม่ฟุ้งซ่าน)เข้าถึง ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน และ จตุตถฌาน
     
  5. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    การเพ่งลักขณูปนิชณานเรียกสมถะวิปัสนาครับ สมาธิอย่างอื่นเรียกสมถะอย่างเดียว
     
  6. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    สมถะ
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    ส่วนหนึ่งของ
    ศาสนาพุทธ

    20px-Dhamma_Cakra.svg.png สถานีย่อย

    150px-Dharmacakra_flag_%28Thailand%29.svg.png
    ประวัติศาสนาพุทธ

    ศาสดา
    พระโคตมพุทธเจ้า
    (พระพุทธเจ้า)

    จุดมุ่งหมาย
    นิพพาน
    พระรัตนตรัย
    พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์

    ความเชื่อและการปฏิบัติ
    ศีล (ศีลห้า) · ธรรม (เบญจธรรม)
    วิปัสสนา
    บทสวดมนต์และพระคาถา
    คัมภีร์และหนังสือ
    พระไตรปิฎก

    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก
    หลักธรรม
    ไตรลักษณ์ · อริยสัจ 4 · มรรค 8 · ปฏิจจสมุปบาท · มงคล 38
    นิกาย
    เถรวาท · มหายาน · วัชรยาน · เซน
    สังคมศาสนาพุทธ
    ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน
    การจาริกแสวงบุญ
    พุทธสังเวชนียสถาน ·
    การแสวงบุญในพุทธภูมิ
    ดูเพิ่มเติม
    อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ
    หมวดหมู่ศาสนาพุทธ
    สมถะ เป็นภาษาบาลี แปลว่า สงบ ในคัมภีร์มีใช้ใน 3 แบบ ดังนี้ :

    1. จิตตสมถะ - ความสงบระงับจากอกุศลนิวรณ์แห่งจิต ดู : สมถกรรมฐาน.
    2. อธิกรณสมถะ - วิธีการสงบระงับอธิกรณ์การทะเลาะมีเรื่องมีราวกันในหมู่สงฆ์ มี 7 อย่าง เรียก สัตตาธิกรณสมถะ.
    3. สัพพสังขารสมถะ ความสงบระงับสังขารทั้งปวง หมายถึง พระนิพพาน[1]
     
  7. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    วิปัสสนา
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน
    ส่วนหนึ่งของ
    ศาสนาพุทธ

    20px-Dhamma_Cakra.svg.png สถานีย่อย

    150px-Dharmacakra_flag_%28Thailand%29.svg.png
    ประวัติศาสนาพุทธ

    ศาสดา
    พระโคตมพุทธเจ้า
    (พระพุทธเจ้า)

    จุดมุ่งหมาย
    นิพพาน
    พระรัตนตรัย
    พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์

    ความเชื่อและการปฏิบัติ
    ศีล (ศีลห้า) · ธรรม (เบญจธรรม)
    สมถะ · วิปัสสนา
    บทสวดมนต์และพระคาถา
    คัมภีร์และหนังสือ
    พระไตรปิฎก

    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก
    หลักธรรม
    ไตรลักษณ์ · อริยสัจ 4 · มรรค 8 · ปฏิจจสมุปบาท · มงคล 38
    นิกาย
    เถรวาท · มหายาน · วัชรยาน · เซน
    สังคมศาสนาพุทธ
    ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน
    การจาริกแสวงบุญ
    พุทธสังเวชนียสถาน ·
    การแสวงบุญในพุทธภูมิ
    ดูเพิ่มเติม
    อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ
    หมวดหมู่ศาสนาพุทธ
    วิปัสสนา หมายถึง ความเห็นแจ้งในสังขารทั้งหลายว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่ใช่ตัวตน[1]

    สมถะและวิปัสสนาถือเป็นธรรมที่ควรเจริญ (ตามทสุตตรสูตร)[2] และเป็นธรรมฝ่ายวิชชา (ตามพาลวรรค)[3]
     
  8. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    และสมาธิอย่างอื่นที่เรียกอารัมณูปนิชณานนั้น กสิณต่างๆ ยังเป็นมิจฉาสมาธิครับ ใครฝึกมักออกนอกแนวไปมากไม่แน่อาจจะกลับมาไม่ได้นานทีเดียว เพราะอำนาจแห่งความเพลิน สมาธิแบบนั้น อริยบุคคลเขาฝึกกันครับ ส่วนคนที่ยังไม่เป็นอริยะไม่ควรฝึกครับ พอเข้าใจนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 มกราคม 2018
  9. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
    พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
    [​IMG]
    [​IMG]

    [7] ฌาน 2 (การเพ่ง, การเพ่งพินิจด้วยจิตที่เป็นสมาธิแน่วแน่ - meditation; scrutiny; examination)
    1. อารัมมณูปนิชฌาน (การเพ่งอารมณ์ ได้แก่ สมาบัติ 8 คือ รูปฌาน 4 และ อรูปฌาน 4 - object-scrutinizing Jhana)
    2. ลักขณูปนิชฌาน (การเพ่งลักษณะ ได้แก่ วิปัสสนา มรรค และผล - characteristic-examining Jhana)

    วิปัสสนา ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะพินิจสังขารโดยไตรลักษณ์
    มรรค ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะยังกิจแห่งวิปัสสนานั้นให้สำเร็จ
    ผล ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะเพ่งนิพพานอันมีลักษณะเป็นสุญญตะ อนิมิตตะ และอัปปณิหิตะ อย่างหนึ่ง และเพราะเห็นลักษณะอันเป็นสัจจภาวะของนิพพาน อย่างหนึ่ง
    ฌานที่แบ่งเป็น 2 อย่างนี้ มีมาในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา.
     
  10. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    คนสอนเรื่องสมาธิที่แตกต่างไปจากลักขณูปนิชฌาน บุคคลนั้นยังไม่เข้าถึงแก่นอริยสัจครับ
     
  11. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    กรรมฐาน สี่สิบ ของพระพุทธเจ้า

    กรรมฐาน 40 วิธี

    แบ่งออกเป็น 7 หมวด ดังนี้


    หมวดกสิน ๑๐
    เป็นการทำสมาธิด้วยวิธีการเพ่ง


    ๑. ปฐวีกสิน เพ่งธาตุดิน
    ๒. อาโปกสิณ เพ่งธาตุน้ำ
    ๓. เตโชกสิณ เพ่งไฟ
    ๔. วาโยกสิน เพ่งลม
    ๕. นีลกสิน เพ่งสีเขียว
    ๖. ปีตกสิน เพ่งสีเหลือง
    ๗. โลหิตกสิณ เพ่งสีแดง
    ๘. โอฑาตกสิณ เพ่งสีขาว
    ๙. อาโลกกสิณ เพ่งแสงสว่าง
    ๑๐. อากาศกสิณ เพ่งอากาศ



    หมวดอสุภกรรมฐาน ๑๐


    ๑๑. อุทธุมาตกอสุภ ร่างกายของคนและสัตว์ที่ตายไปแล้ว นับแต่วันตายเป็นต้นไป มีร่างกายบวมขึ้น พองไปด้วยลม ขึ้นอืด
    ๑๒. วินีลกอสุภ วีนีลกะ แปลว่า สีเขียว
    เป็นร่างกายที่มีสีเขียว สีแดง สีขาว คละปนระคนกัน คือ มีสีแดงในที่มีเนื้อมาก มีสีขาวในที่มีน้ำเหลืองน้ำหนองมาก มีสีเขียวในที่มีผ้าคลุมไว้ ฉะนั้นตามร่างกายของผู้ตาย จึงมีสีเขียวมาก
    ๑๓. วิปุพพกอสุภกรรมฐาน เป็นซากศพที่มีน้ำเหลืองไหลอยู่เป็นปกติ
    ๑๔. วิฉิททกอสุภ คือซากศพที่มีร่างกายขาดเป็นสองท่อนในท่ามกลางกาย
    ๑๕. วิกขายิตกอสุภ เป็นร่างกายของซากศพที่ถูกยื้อแย่งกัดกิน
    ๑๖. วิกขิตตกอสุภ เป็นซากศพที่ถูกทอดทิ้งไว้จนส่วนต่าง ๆ กระจัดกระจาย มีมือ แขน ขา ศีรษะ กระจัดพลัดพรากออกไปคนละทาง
    ๑๗. หตวิกขิตตกอสุภ คือ ซากศพที่ถูกสับฟันเป็นท่อนน้อยและท่อนใหญ่
    ๑๘. โลหิตกอสุภ คือ ซากศพที่มีเลือดไหลออกเป็นปกติ
    ๑๙. ปุฬุวกอสุภ คือ ซากศพที่เต็มไปด้วยตัวหนอนคลานกินอยู่
    ๒๐. อัฏฐิกอสุภ คือ ซากศพที่มีแต่กระดูก



    อนุสสติกรรมฐาน ๑๐
    อนุสสติ แปลว่า ตามระลึกถึง เมื่อเลือกปฏิบัติให้พอเหมาะแก่จริต จะได้ผลเป็นสมาธิมีอารมณ์ ตั้งมั่นได้รวดเร็ว

    ๒๑. พุทธานุสสติกรรมฐาน ระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์
    ๒๒. ธัมมานุสสติกรรมฐาน ระลึกถึงคุณพระธรรมเป็นอารมณ์
    ๒๓. สังฆานุสสติกรรมฐาน ระลึกถึงคุณพระสงฆ์เป็นอารมณ์
    ๒๔. สีลานุสสติกรรมฐาน ระลึกถึงคุณศีลเป็นอารมณ์
    ๒๕. จาคานุสสติกรรมฐาน ระลึกถึงผลของการบริจาคเป็นอารมณ์
    ๒๖. เทวตานุสสติเป็นกรรมฐาน ระลึกถึงความดีของเทวดาเป็นอารมณ์
    ๒๗. มรณานุสสติกรรมฐาน ระลึกถึงความตายเป็นอารมณ์
    ๒๘. กายคตานุสสติกรรมฐาน เหมาะแก่ผู้ที่หนักไปในจาคะจริต
    ๒๙. อานาปานานุสสติกรรมฐาน เหมาะแก่ผู้ที่หนักไปในโมหะ และวิตกจริต
    ๓๐. อุปสมานุสสติกรรมฐาน ระลึกความสุขในพระนิพพานเป็นอารมณ์



    หมวดอาหาเรปฏิกูลสัญญา

    ๓๑. อาหาเรปฏิกูลสัญญา เพ่งอาหารให้เห็นเป็นของน่าเกลียด บริโภคเพื่อบำรุงร่างกาย ไม่บริโภคเพื่อสนองกิเลส

    [​IMG]หมวดจตุธาตุววัฏฐาน

    ๓๒. จตุธาตุววัฏฐาน ๔ พิจารณาร่างกายประกอบด้วยธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ



    หมวดพรหมวิหาร ๔
    พรหมวิหาร แปลว่า ธรรมเป็นที่อยู่ของพรหม พรหมแปลว่าประเสริฐ
    พรหมวิหาร ๔ จึงแปลว่า คุณธรรม ๔ ประการ ที่ทำให้ผู้ประพฤติปฏิบัติเป็นผู้ประเสริฐ ได้แก่


    ๓๓. เมตตา คุมอารมณ์ไว้ตลอดวัน ให้มีความรัก อันเนื่องด้วยความปรารถนาดี ไม่มีอารมณ์เนื่องด้วยกามารมณ์ เมตตาสงเคราะห์ผู้อื่นให้พ้นทุกข์
    ๓๔. กรุณา ความสงสารปรานี มีประสงค์จะสงเคราะห์แก่ทั้งคนและสัตว์
    ๓๕. มุทิตา มีจิตชื่นบาน พลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี ไม่มีจิตริษยาเจือปน
    ๓๖. อุเบกขา มีอารมณ์เป็นกลางวางเฉย



    มวดอรูปฌาณ ๔
    เป็นการปล่อยอารมณ์ ไม่ยึดถืออะไร มีผลทำให้จิตว่าง มีอารมณ์เป็นสุขประณีต ในฌานที่ได้ ผู้จะเจริญอรูปฌาณ ๔ ต้องเจริญฌานในกสินให้ได้ฌาณ ๔ เสียก่อน แล้วจึงเจริญอรูปฌาณจนจิตเป็นอุเบกขารมณ์


    ๓๗. อากาสานัญจายตนะ ถือ อากาศเป็นอารมณ์ จนวงอากาศเกิดเป็นนิมิตย่อใหญ่เล็กได้ ทรงจิตรักษาอากาศไว้ กำหนดใจว่าอากาศหาที่สุดมิได้ จนจิตเป็นอุเบกขารมณ์
    ๓๘. วิญญาณัญจายตนะ กำหนดวิญญาณหาที่สุดมิได้ ทิ้งอากาศและรูปทั้งหมด ต้องการจิตเท่านั้น จนจิตเป็นอุเบกขารมณ์
    ๓๙. อากิญจัญญายตนะ กำหนดความไม่มีอะไรเลย อากาศไม่มี วิญญาณก็ไม่มี ถ้ามีอะไรสักหน่อยหนึ่งก็เป็นเหตุของภยันตราย ไม่ยึดถืออะไรจนจิตตั้งเป็นอุเบกขารมณ์
    ๔๐. เนวสัญญานาสัญญายตนะ ทำความรู้สึกตัวเสมอว่า ทั้งที่มีสัญญาอยู่ก็ทำเหมือนไม่มี ไม่รับอารมณ์ใด ๆ จะหนาว ร้อนก็รู้แต่ไม่ดิ้นรนกระวนกระวาย ปล่อยตามเรื่อง เปลื้องความสนใจใด ๆ ออกจนสิ้น จนจิตเป็นอุเบกขารมณ์
     
  12. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    สำนักคุณ มีกรรมฐาน 40 ของพระพุทธเจ้า หรือเปล่าครับ

    เอาแค่นี่ละ
     
  13. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    สมาธิแบบอารัมณูปนิชฌานนั้นพวกฤษีเขาฝึกกันครับ เป็นที่เนิ่นช้ามาก เพราะชาตินี้ฝึกก็อาจจะไม่ได้เลย จะเสียเวลาทำไม ฝึกเพ่งลักขณูปนิชฌานเลยได้ที้งสมถะและวิปัสนาไม่มีทางเสียเลยแม้แต่น้อย
     
  14. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    https://f.ptcdn.info/728/045/000/1473052976-2016090511-o.jpg

    [​IMG]
     
  15. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    กรรมฐานอื่นๆกสินอะไรนั้น ก็เสียเวลา ผู้ฉลาดจะเสียเวลาทำไม ที่พระองค์ต้องแสดงไว้เพราะมันก็เป็นทางที่มาสู่ความหลุดพ้นได้เท่านั้นเองท่านจึงปฎิเสธไม่ได้กับการสะสมของบุคคลนั้นๆมา แต่นะวันนี้ไม่มีใครรู้ว่าใครสะสมอะไรมาท่านควรแนะนำสิ่งที่เลิศที่พระองค์แสดงยกย่องไม่เสียเวลา ไม่มีทางหลุดจากอริยมรรคได้เลยคือ อานาปานสติครับ ดั่งที่พระองค์ตรัส อันชลเหล่าใดไม่บริโภคกายคตาสติอันชนเหล่านั้น ชื่อว่าอมตะหลงลืม
     
  16. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    ท่านเองยังไม่เข้าใจธรรมะที่ถูกต้องในองค์ จึงเอานั้นนิดนั้นหน่อยมาปนเปกัน แยกแยะไม่ออกอะไรดีจริง
     
  17. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    ลักขณูปนิชฌานนั้นคือองค์สัมมาสมาธิโดยตรง บรรลุได้โดยพลันเป็นเห็นไตรลักษณะมีปัญญาพร้อมครับ อย่างอื่นของไม่ดีนัก
     
  18. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    หวังว่าคงเข้าใจนะครับ จะได้ไม่เสียเวลา
     
  19. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819

    เจโตวิมุตติ หมายถึงพระอรหันต์ผู้ที่ได้ฌานด้วย ( ผู้ที่ได้ฌานเรียกว่า ฌานลาภีบุคคล )
    การได้ฌานก็สามารถได้มาด้วย ๒ ประการ คือ
    ก. เป็นผู้เจริญสมถภาวนาจนได้ฌาน เช่นนี้เรียกว่า ปฏิปทาสิทธิฌาน ได้ฌานด้วยการปฏิบัติ แล้วก็มาเจริญวิปัสสนา ภาวนาตามลำดับ จนบรรลุพระอรหันต์

    ตามนี้
     
  20. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    ก็นี่แหล่ะที่ว่าปัญญาวิมุติ เจโตวิมุต ต้องลักขณูปนิชฌานเท่านั้น ที่เรียกแบบนี้ อย่างอื่นไม่ใช่ครับ รับประกัน เพราะนี่ได้ทั้ง2อย่างเลย
     

แชร์หน้านี้

Loading...