การบริจาคเลือด , ดวงตา , อวัยวะ , ร่างกาย ให้สภากาชาดไทย

ในห้อง 'ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์และสัตว์' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 มีนาคม 2006.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=10 width="100%" bgColor=#183478 border=0><TBODY><TR><TD width=615><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=6>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD rowSpan=4>[​IMG]</TD><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD colSpan=2>[​IMG]</TD><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=289> </TD></TR><TR><TD width=56>
    [​IMG]
    </TD><TD width=615>บริการดวงตา</TD><TD width=289> </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>กระจกตาแช่น้ำยา Optisol

    หลังจากผ่านกระบวนการจัดเก็บดวงตาแล้ว จะได้กระจกตาที่มีตาขาวติดโดยรอบประมาณ 2 - 3 มิลลิเมตร แช่อยู่ในภาชนะโปร่งใส บรรจุน้ำยา Optisol จำนวน 20 มิลลิลิตร ศูนย์ดวงตาจะนำกระจกตานี้เข้าเครื่องวิเคราะห์ นับจำนวน เซลล์หลังกระจกตาเพื่อชี้วัดสภาพความสมบูรณ์ของกระจกตา ควบคู่ไปกับการตรวจสภาพกระจกตาก่อนการตัดแช่น้ำยา Optisol รายละเอียดทั้งหลายจะถูกบันทึกไว้เป็นข้อมูลพร้อมที่จะส่งดวงตาให้จักษุแพทย์ที่ทำการ ขอจองดวงตาไว้ให้ผู้ป่วย การเก็บรักษาวิธีนี้สามารถ รักษาสภาพกระจกตาไว้ได้นานประมาณ 14 วัน แต่อย่างไรก็ตาม หากนำไปใช้ทำผ่าตัดปลูกถ่ายกระจกตาให้ผู้ป่วยได้เร็วเท่าใด ก็ยิ่งดี การนำดวงตาส่งให้จักษุแพทย์ศูนย์ดวงตาจะเป็นผู้จัดส่งให้ทั่วราชอาณาจักร
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตาขอเรียกเก็บค่าน้ำยา Optisol พร้อมทั้งภาชนะโปร่งใสบรรจุกระจกตาซึ่งสั่งนำเข้าจากต่างประเทศ จากผู้ป่วยในราคา 5,000.00 บาท ศูนย์ดวงตาจะออกใบเสร็จค่าน้ำยาให้ผู้ป่วยซึ่งสามารถนำไปเบิกจากสวัสดิการของราชการได้ แต่ถ้าผู้ป่วยรายใดสามารถจ่ายได้เพียงบางส่วนหรือไม่สามารถจ่ายได้ จักษุแพทย์จะต้องให้สังคมสงเคราะห์ของโรงพยาบาลนั้น ๆ เป็นผู้ออกหนังสือรับรองฐานะของผู้ป่วย.

    กระจกตาแช่ Glycerine

    ตามกระบวนการจัดเก็บดวงตา เมื่อแพทย์พบว่ากระจกตาของผู้บริจาคไม่สมบูรณ์พอที่จะนำไปใช้ปลูกถ่ายให้ผู้ป่วยได้ เช่น เพราะอายุของผู้บริจาคสูงมาก จำนวน Cell หลังกระจกตาน้อยเกินไป แพทย์ก็อาจตัดกระจกตาแช่ใน Glycerine เพื่อเก็บกระจกตาไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน การเก็บกระจกตาวิธีนี้ กระจกตาจะเหลือแต่เพียงโครงสร้าง เซลล์หลังกระจกตาจะถูกทำลายไป การนำไปใช้ ใช้สำหรับกรณีผู้ป่วยกระจกตาทะลุและไม่สามารถหากระจกตา ที่มีสภาพดีมาปลูกเปลี่ยนได้ ก็จำเป็นต้องใช้กระจกตา แช่ในGlycerine ไปใช้ทำการผ่าตัดเพื่อรักษาดวงตาของผู้ป่วยไว้ และเมื่อมีกระจกตาสภาพ ดีถ้าจะทำการผ่าตัดซ้ำอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้กรณีการเปลี่ยนกระจกตาเป็นบางชั้น (Lamellar Keratoplasty) หลังจากผ่านกระบวนการจัดเก็บดวงตาแล้ว จะได้กระจกตาที่มีตาขาวติดโดยรอบประมาณ 2 - 3 มิลลิเมตร
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตาคิดค่าการเตรียมกระจกตาแช่ Glocerime จากผู้ป่วยในราคา 500.00 บาท.

    ตาขาว

    หลังจากผ่านกระบวนการจัดเก็บดวงตาและแพทย์นำกระจกตาแช่ในน้ำยา OPTISOL เพื่อนำไปใช้ในการผ่าตัดปลูกถ่ายกระจกตาให้ผู้ป่วยแล้ว แพทย์จะนำส่วนตาขาวมาตัดเยื่อบุตา กล้ามเนื้อตา ประสาทตา นำแก้วตา น้ำวุ้น จอประสาทตาและยูเวียออกให้หมด ทำความสะอาดตาขาวด้วยผ้ากอซ แล้วเก็บรักษาโดยวิธี Silica Dessication, แช่ใน Zephiran Chloride Solution แล้วจุ่มใน Xylol, เก็บโดยใช้ 95% Glycerine และ Molecular Sieve ของSodium และ Calcium Aluminosilicates, แช่ใน Absolute Alcoshol หรืออาจเก็บแช่ใน 70% Alcohol ก็ได้ คุณสมบัติของตาขาว
    1. เป็นเนื้อเยื่อจากคนด้วยกันจึงทำให้มีการรับกันได้เมื่อนำไปใช้ผ่าตัดให้ผู้อื่น
    2. มีความแข็งแรงมาก ทำให้เหมาะในการใช้หมุนส่วนต่าง ๆ ของตา
    3. สามารถเก็บรักษาไว้ได้ง่ายและนาน และนำมาใช้ได้สะดวก
    4. ไม่มีปฏิกริยาต่อต้านหรือปฏิกริยาอื่น ๆ เนื้อเยื่อของผู้รับจะทนทานต่อตาขาวที่นำไปใส่ให้ได้ดี
    5. ตัดเป็นรูปร่างต่าง ๆ ได้ง่ายตามที่ต้องการ
    6. สามารถหาได้จากศูนย์ดวงตาเมื่อจะนำตาขาวไปใช้ในการทำผ่าตัด ให้นำตาขาวออกจากขวดน้ำยาที่เก็บ แล้วแช่ในน้ำเกลือ 5 - 10 นาที ตาขาวจะกลับเป็นสีขาว บิดงอได้ง่าย และกลับสู่สภาพเดิมเหมือนตอนแช่น้ำยาไว้ใหม่ ๆ จากนั้นนำมาแช่ในน้ำยาปฏิชีวนะอีก 5 - 10 นาที แล้วนำมาล้างด้วยน้ำเกลืออีกครั้งก็พร้อมที่จะนำไปใช้ได้
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตาคิดค่าจัดเตรียมตาขาวสำหรับใช้ในการรักษาโรคตา ราคาชิ้นละ 500.00 บาท.

    เยื่อหุ้มรก Amniotie Humbrane

    เยื่อหุ้มรกเป็นส่วนเยื่อบางใสที่หุ้มห่อทารกและน้ำคร่ำ เมื่อเด็กอยู่ในครรภ์มารดาภายหลังเมื่อเด็กคลอดออกมา เยื่อหุ้มรกก็จะเหลือค้างติดกับรก และออกมาเมื่อรกคลอด ปกติเป็นส่วนที่มักจะทิ้งไปพร้อมกับรก เนื่องจากไม่ได้นำใช้ประโยชน์ ส่วนประกอบในเยื่อหุ้มรกมี 2 ส่วน ได้แก่ส่วนของเซลล์และแผ่นฐานรองรับเซลล์ ที่เรียกว่า basement membrane และส่วนของเนื้อเยื่อผูกพันที่อยู่กันอย่างหลวม ๆ และมีสารหลายอย่างละลายอยู่ข้างใน
    ในสมัยก่อน มีการนำเอาเยื่อหุ้มรกมาใช้ทางการแพทย์หลายอย่าง เช่น นำมาผ่าตัดในช่องท้อง ใช้ปกปิดแผล ที่เกิดที่ผิวหนังจากไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก ใช้เป็นเนื้อเยื่อทดแทนเนื้อเยื่อที่ขาดหายไป ทั้งนี้เนื่อจากพบคุณสมบัติที่สำคัญของเยื่อหุ้มรกคือ สามารถลดอาการปวด การอักเสบและลดปริมาณเส้นเลือดผิดปกติที่งอกเข้ามา ช่วยสมานแผลให้หายเร็ว
    โรคทางตาอะไรบ้างที่ใช้เยื่อหุ้มรกรักษาได้
    ในทางจักษุวิทยา มีโรคกลุ่มหนึ่งที่เป็นปัญหาในการรักษาของจักษุแพทย์มาโดยตลอด โรคกลุ่มนี้คือโรคของผิวดวงตา ที่เรียกว่า ocular surface disease โรคชนิดนี้จะทำให้เกิด แผลเรื้อรังของกระจกตา ตามมาด้วยเกิดแผลเป็น มีเส้นเลือดใหม่งอกเข้าไปในกระจกตา ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บ ระคายเคืองตาเรื้อรัง และแผลเป็นที่เกิดขึ้นก็ทำให้การมองเห็นน้อยลงเรื่อย ๆ ในสมัยก่อน การรักษาก็มักจะเป็นการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา ซึ่งสามารถทำให้กระจกตาใสขึ้นและมองเห็นขึ้น แต่เป็นอยู่ได้ในช่วงสั้น ๆ เนื่องจากโรคเองไม่ได้รับการแก้ไขที่สาเหตุ ก็จะกลับเป็นแผลเป็นขึ้นมาใหม่ นอกจากนั้น เส้นเลือดที่งอกเข้าไปในกระจกตาก็จะนำเอาภูมิคุ้มกันร่างกายเข้าไปต่อต้านกระจกตาที่เปลี่ยนใหม่ทำให้เกิดกระจกตาบวมขึ้น และผู้ป่วยกลับไปมองไม่เห็นเหมือนเก่า ตัวอย่างของโรคประเภทนี้ได้แก่ โรคกระจกตาขุ่นที่เกิดตามหลัง สารเคมีเข้าตา ถูกของร้อน การอักเสบจากการแพ้ยาอย่างรุนแรง การใช้คอนแทคเลนส์ การติดเชื้อของกระจกตา เป็นต้น
    วิวัฒนาการปัจจุบัน ทำให้การค้นพบว่า เมื่อนำเยื่อหุ้มรกไปผ่าตัดลงบนตาของผู้ป่วยโรคผิวดวงตามีผลช่วยในการสมานแผล ลดการอักเสบ ผิวดวงตากลับมาใสขึ้น ปราศจากเส้นเลือด ช่วยให้ผู้ป่วยกลับมามองเห็นได้ดีขึ้น ในผู้ป่วยบางราย กระจกตาอาจใสขึ้นได้โดยไม่ต้องผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตาใหม่ และ ในรายที่ต้องผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา ก็จะทำให้สภาพของดวงตาสงบลงเพิ่มความสำเร็จในการผ่าตัดได้ดียิ่งขึ้น เยื้อหุ้มรกยังสามารถใช้เป็นเนื้อเยื่อทดแทน ในการผ่าตัดโรคบางชนิด เช่น ต้อเนื้อ การใช้เยื่อหุ้มรกก็จะช่วยลดการเกิดต้อเนื้อซ้ำเมื่อเทียบกับการผ่าตัดแบบลอกออกธรรมดา
    ในอนาคต จักษุแพทย์กำลังทำการวิจัยเพื่อศึกษาประโยชน์ใหม่ ๆ ที่จะได้จากการนำเยื่อหุ้มรกไปใช้
    จะติดต่อขอรับเยื่อหุ้มรกได้ที่ไหน
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทย เป็นผู้จัดเตรียมเยื่อหุ้มรกและสามารถจะให้บริการไปยังโรงพยาบาลทั่วประเทศโดยบริการใหม่นี้ ก็จะให้ความสะดวกแก่ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางตา ศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทยคิดค่าน้ำยาแช่ เยื่อหุ้มรกในราคาขวดละ 500.00 บาท
    ส่วนในรายที่ต้องการให้จัดส่งถึงที่จะคิดค่าจัดส่งเพิ่มขึ้นตามระยะทางและวิธีการจัดส่ง.


    </TD></TR><TR><TD width=56>
    </TD><TD width=615>กรุณาติดต่อ>> ศูนย์ดวงตา</TD><TD width=289> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=10 width="100%" bgColor=#183478 border=0><TBODY><TR><TD width=615><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=6>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD rowSpan=4>[​IMG]</TD><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD colSpan=2>[​IMG]</TD><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=289> </TD></TR><TR><TD width=56>
    [​IMG]
    </TD><TD width=615>บริการดวงตา</TD><TD width=289> </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>กระจกตาแช่น้ำยา Optisol

    หลังจากผ่านกระบวนการจัดเก็บดวงตาแล้ว จะได้กระจกตาที่มีตาขาวติดโดยรอบประมาณ 2 - 3 มิลลิเมตร แช่อยู่ในภาชนะโปร่งใส บรรจุน้ำยา Optisol จำนวน 20 มิลลิลิตร ศูนย์ดวงตาจะนำกระจกตานี้เข้าเครื่องวิเคราะห์ นับจำนวน เซลล์หลังกระจกตาเพื่อชี้วัดสภาพความสมบูรณ์ของกระจกตา ควบคู่ไปกับการตรวจสภาพกระจกตาก่อนการตัดแช่น้ำยา Optisol รายละเอียดทั้งหลายจะถูกบันทึกไว้เป็นข้อมูลพร้อมที่จะส่งดวงตาให้จักษุแพทย์ที่ทำการ ขอจองดวงตาไว้ให้ผู้ป่วย การเก็บรักษาวิธีนี้สามารถ รักษาสภาพกระจกตาไว้ได้นานประมาณ 14 วัน แต่อย่างไรก็ตาม หากนำไปใช้ทำผ่าตัดปลูกถ่ายกระจกตาให้ผู้ป่วยได้เร็วเท่าใด ก็ยิ่งดี การนำดวงตาส่งให้จักษุแพทย์ศูนย์ดวงตาจะเป็นผู้จัดส่งให้ทั่วราชอาณาจักร
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตาขอเรียกเก็บค่าน้ำยา Optisol พร้อมทั้งภาชนะโปร่งใสบรรจุกระจกตาซึ่งสั่งนำเข้าจากต่างประเทศ จากผู้ป่วยในราคา 5,000.00 บาท ศูนย์ดวงตาจะออกใบเสร็จค่าน้ำยาให้ผู้ป่วยซึ่งสามารถนำไปเบิกจากสวัสดิการของราชการได้ แต่ถ้าผู้ป่วยรายใดสามารถจ่ายได้เพียงบางส่วนหรือไม่สามารถจ่ายได้ จักษุแพทย์จะต้องให้สังคมสงเคราะห์ของโรงพยาบาลนั้น ๆ เป็นผู้ออกหนังสือรับรองฐานะของผู้ป่วย.

    กระจกตาแช่ Glycerine

    ตามกระบวนการจัดเก็บดวงตา เมื่อแพทย์พบว่ากระจกตาของผู้บริจาคไม่สมบูรณ์พอที่จะนำไปใช้ปลูกถ่ายให้ผู้ป่วยได้ เช่น เพราะอายุของผู้บริจาคสูงมาก จำนวน Cell หลังกระจกตาน้อยเกินไป แพทย์ก็อาจตัดกระจกตาแช่ใน Glycerine เพื่อเก็บกระจกตาไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน การเก็บกระจกตาวิธีนี้ กระจกตาจะเหลือแต่เพียงโครงสร้าง เซลล์หลังกระจกตาจะถูกทำลายไป การนำไปใช้ ใช้สำหรับกรณีผู้ป่วยกระจกตาทะลุและไม่สามารถหากระจกตา ที่มีสภาพดีมาปลูกเปลี่ยนได้ ก็จำเป็นต้องใช้กระจกตา แช่ในGlycerine ไปใช้ทำการผ่าตัดเพื่อรักษาดวงตาของผู้ป่วยไว้ และเมื่อมีกระจกตาสภาพ ดีถ้าจะทำการผ่าตัดซ้ำอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้กรณีการเปลี่ยนกระจกตาเป็นบางชั้น (Lamellar Keratoplasty) หลังจากผ่านกระบวนการจัดเก็บดวงตาแล้ว จะได้กระจกตาที่มีตาขาวติดโดยรอบประมาณ 2 - 3 มิลลิเมตร
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตาคิดค่าการเตรียมกระจกตาแช่ Glocerime จากผู้ป่วยในราคา 500.00 บาท.

    ตาขาว

    หลังจากผ่านกระบวนการจัดเก็บดวงตาและแพทย์นำกระจกตาแช่ในน้ำยา OPTISOL เพื่อนำไปใช้ในการผ่าตัดปลูกถ่ายกระจกตาให้ผู้ป่วยแล้ว แพทย์จะนำส่วนตาขาวมาตัดเยื่อบุตา กล้ามเนื้อตา ประสาทตา นำแก้วตา น้ำวุ้น จอประสาทตาและยูเวียออกให้หมด ทำความสะอาดตาขาวด้วยผ้ากอซ แล้วเก็บรักษาโดยวิธี Silica Dessication, แช่ใน Zephiran Chloride Solution แล้วจุ่มใน Xylol, เก็บโดยใช้ 95% Glycerine และ Molecular Sieve ของSodium และ Calcium Aluminosilicates, แช่ใน Absolute Alcoshol หรืออาจเก็บแช่ใน 70% Alcohol ก็ได้ คุณสมบัติของตาขาว
    1. เป็นเนื้อเยื่อจากคนด้วยกันจึงทำให้มีการรับกันได้เมื่อนำไปใช้ผ่าตัดให้ผู้อื่น
    2. มีความแข็งแรงมาก ทำให้เหมาะในการใช้หมุนส่วนต่าง ๆ ของตา
    3. สามารถเก็บรักษาไว้ได้ง่ายและนาน และนำมาใช้ได้สะดวก
    4. ไม่มีปฏิกริยาต่อต้านหรือปฏิกริยาอื่น ๆ เนื้อเยื่อของผู้รับจะทนทานต่อตาขาวที่นำไปใส่ให้ได้ดี
    5. ตัดเป็นรูปร่างต่าง ๆ ได้ง่ายตามที่ต้องการ
    6. สามารถหาได้จากศูนย์ดวงตาเมื่อจะนำตาขาวไปใช้ในการทำผ่าตัด ให้นำตาขาวออกจากขวดน้ำยาที่เก็บ แล้วแช่ในน้ำเกลือ 5 - 10 นาที ตาขาวจะกลับเป็นสีขาว บิดงอได้ง่าย และกลับสู่สภาพเดิมเหมือนตอนแช่น้ำยาไว้ใหม่ ๆ จากนั้นนำมาแช่ในน้ำยาปฏิชีวนะอีก 5 - 10 นาที แล้วนำมาล้างด้วยน้ำเกลืออีกครั้งก็พร้อมที่จะนำไปใช้ได้
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตาคิดค่าจัดเตรียมตาขาวสำหรับใช้ในการรักษาโรคตา ราคาชิ้นละ 500.00 บาท.

    เยื่อหุ้มรก Amniotie Humbrane

    เยื่อหุ้มรกเป็นส่วนเยื่อบางใสที่หุ้มห่อทารกและน้ำคร่ำ เมื่อเด็กอยู่ในครรภ์มารดาภายหลังเมื่อเด็กคลอดออกมา เยื่อหุ้มรกก็จะเหลือค้างติดกับรก และออกมาเมื่อรกคลอด ปกติเป็นส่วนที่มักจะทิ้งไปพร้อมกับรก เนื่องจากไม่ได้นำใช้ประโยชน์ ส่วนประกอบในเยื่อหุ้มรกมี 2 ส่วน ได้แก่ส่วนของเซลล์และแผ่นฐานรองรับเซลล์ ที่เรียกว่า basement membrane และส่วนของเนื้อเยื่อผูกพันที่อยู่กันอย่างหลวม ๆ และมีสารหลายอย่างละลายอยู่ข้างใน
    ในสมัยก่อน มีการนำเอาเยื่อหุ้มรกมาใช้ทางการแพทย์หลายอย่าง เช่น นำมาผ่าตัดในช่องท้อง ใช้ปกปิดแผล ที่เกิดที่ผิวหนังจากไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก ใช้เป็นเนื้อเยื่อทดแทนเนื้อเยื่อที่ขาดหายไป ทั้งนี้เนื่อจากพบคุณสมบัติที่สำคัญของเยื่อหุ้มรกคือ สามารถลดอาการปวด การอักเสบและลดปริมาณเส้นเลือดผิดปกติที่งอกเข้ามา ช่วยสมานแผลให้หายเร็ว
    โรคทางตาอะไรบ้างที่ใช้เยื่อหุ้มรกรักษาได้
    ในทางจักษุวิทยา มีโรคกลุ่มหนึ่งที่เป็นปัญหาในการรักษาของจักษุแพทย์มาโดยตลอด โรคกลุ่มนี้คือโรคของผิวดวงตา ที่เรียกว่า ocular surface disease โรคชนิดนี้จะทำให้เกิด แผลเรื้อรังของกระจกตา ตามมาด้วยเกิดแผลเป็น มีเส้นเลือดใหม่งอกเข้าไปในกระจกตา ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บ ระคายเคืองตาเรื้อรัง และแผลเป็นที่เกิดขึ้นก็ทำให้การมองเห็นน้อยลงเรื่อย ๆ ในสมัยก่อน การรักษาก็มักจะเป็นการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา ซึ่งสามารถทำให้กระจกตาใสขึ้นและมองเห็นขึ้น แต่เป็นอยู่ได้ในช่วงสั้น ๆ เนื่องจากโรคเองไม่ได้รับการแก้ไขที่สาเหตุ ก็จะกลับเป็นแผลเป็นขึ้นมาใหม่ นอกจากนั้น เส้นเลือดที่งอกเข้าไปในกระจกตาก็จะนำเอาภูมิคุ้มกันร่างกายเข้าไปต่อต้านกระจกตาที่เปลี่ยนใหม่ทำให้เกิดกระจกตาบวมขึ้น และผู้ป่วยกลับไปมองไม่เห็นเหมือนเก่า ตัวอย่างของโรคประเภทนี้ได้แก่ โรคกระจกตาขุ่นที่เกิดตามหลัง สารเคมีเข้าตา ถูกของร้อน การอักเสบจากการแพ้ยาอย่างรุนแรง การใช้คอนแทคเลนส์ การติดเชื้อของกระจกตา เป็นต้น
    วิวัฒนาการปัจจุบัน ทำให้การค้นพบว่า เมื่อนำเยื่อหุ้มรกไปผ่าตัดลงบนตาของผู้ป่วยโรคผิวดวงตามีผลช่วยในการสมานแผล ลดการอักเสบ ผิวดวงตากลับมาใสขึ้น ปราศจากเส้นเลือด ช่วยให้ผู้ป่วยกลับมามองเห็นได้ดีขึ้น ในผู้ป่วยบางราย กระจกตาอาจใสขึ้นได้โดยไม่ต้องผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตาใหม่ และ ในรายที่ต้องผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา ก็จะทำให้สภาพของดวงตาสงบลงเพิ่มความสำเร็จในการผ่าตัดได้ดียิ่งขึ้น เยื้อหุ้มรกยังสามารถใช้เป็นเนื้อเยื่อทดแทน ในการผ่าตัดโรคบางชนิด เช่น ต้อเนื้อ การใช้เยื่อหุ้มรกก็จะช่วยลดการเกิดต้อเนื้อซ้ำเมื่อเทียบกับการผ่าตัดแบบลอกออกธรรมดา
    ในอนาคต จักษุแพทย์กำลังทำการวิจัยเพื่อศึกษาประโยชน์ใหม่ ๆ ที่จะได้จากการนำเยื่อหุ้มรกไปใช้
    จะติดต่อขอรับเยื่อหุ้มรกได้ที่ไหน
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทย เป็นผู้จัดเตรียมเยื่อหุ้มรกและสามารถจะให้บริการไปยังโรงพยาบาลทั่วประเทศโดยบริการใหม่นี้ ก็จะให้ความสะดวกแก่ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางตา ศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทยคิดค่าน้ำยาแช่ เยื่อหุ้มรกในราคาขวดละ 500.00 บาท
    ส่วนในรายที่ต้องการให้จัดส่งถึงที่จะคิดค่าจัดส่งเพิ่มขึ้นตามระยะทางและวิธีการจัดส่ง.</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=10 width="100%" bgColor=#183478 border=0><TBODY><TR><TD width=615><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=6>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD rowSpan=4>[​IMG]</TD><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD colSpan=2>[​IMG]</TD><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=289> </TD></TR><TR><TD width=56>
    [​IMG]
    </TD><TD width=615>บริการดวงตา</TD><TD width=289> </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>กระจกตาแช่น้ำยา Optisol

    หลังจากผ่านกระบวนการจัดเก็บดวงตาแล้ว จะได้กระจกตาที่มีตาขาวติดโดยรอบประมาณ 2 - 3 มิลลิเมตร แช่อยู่ในภาชนะโปร่งใส บรรจุน้ำยา Optisol จำนวน 20 มิลลิลิตร ศูนย์ดวงตาจะนำกระจกตานี้เข้าเครื่องวิเคราะห์ นับจำนวน เซลล์หลังกระจกตาเพื่อชี้วัดสภาพความสมบูรณ์ของกระจกตา ควบคู่ไปกับการตรวจสภาพกระจกตาก่อนการตัดแช่น้ำยา Optisol รายละเอียดทั้งหลายจะถูกบันทึกไว้เป็นข้อมูลพร้อมที่จะส่งดวงตาให้จักษุแพทย์ที่ทำการ ขอจองดวงตาไว้ให้ผู้ป่วย การเก็บรักษาวิธีนี้สามารถ รักษาสภาพกระจกตาไว้ได้นานประมาณ 14 วัน แต่อย่างไรก็ตาม หากนำไปใช้ทำผ่าตัดปลูกถ่ายกระจกตาให้ผู้ป่วยได้เร็วเท่าใด ก็ยิ่งดี การนำดวงตาส่งให้จักษุแพทย์ศูนย์ดวงตาจะเป็นผู้จัดส่งให้ทั่วราชอาณาจักร
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตาขอเรียกเก็บค่าน้ำยา Optisol พร้อมทั้งภาชนะโปร่งใสบรรจุกระจกตาซึ่งสั่งนำเข้าจากต่างประเทศ จากผู้ป่วยในราคา 5,000.00 บาท ศูนย์ดวงตาจะออกใบเสร็จค่าน้ำยาให้ผู้ป่วยซึ่งสามารถนำไปเบิกจากสวัสดิการของราชการได้ แต่ถ้าผู้ป่วยรายใดสามารถจ่ายได้เพียงบางส่วนหรือไม่สามารถจ่ายได้ จักษุแพทย์จะต้องให้สังคมสงเคราะห์ของโรงพยาบาลนั้น ๆ เป็นผู้ออกหนังสือรับรองฐานะของผู้ป่วย.

    กระจกตาแช่ Glycerine

    ตามกระบวนการจัดเก็บดวงตา เมื่อแพทย์พบว่ากระจกตาของผู้บริจาคไม่สมบูรณ์พอที่จะนำไปใช้ปลูกถ่ายให้ผู้ป่วยได้ เช่น เพราะอายุของผู้บริจาคสูงมาก จำนวน Cell หลังกระจกตาน้อยเกินไป แพทย์ก็อาจตัดกระจกตาแช่ใน Glycerine เพื่อเก็บกระจกตาไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน การเก็บกระจกตาวิธีนี้ กระจกตาจะเหลือแต่เพียงโครงสร้าง เซลล์หลังกระจกตาจะถูกทำลายไป การนำไปใช้ ใช้สำหรับกรณีผู้ป่วยกระจกตาทะลุและไม่สามารถหากระจกตา ที่มีสภาพดีมาปลูกเปลี่ยนได้ ก็จำเป็นต้องใช้กระจกตา แช่ในGlycerine ไปใช้ทำการผ่าตัดเพื่อรักษาดวงตาของผู้ป่วยไว้ และเมื่อมีกระจกตาสภาพ ดีถ้าจะทำการผ่าตัดซ้ำอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้กรณีการเปลี่ยนกระจกตาเป็นบางชั้น (Lamellar Keratoplasty) หลังจากผ่านกระบวนการจัดเก็บดวงตาแล้ว จะได้กระจกตาที่มีตาขาวติดโดยรอบประมาณ 2 - 3 มิลลิเมตร
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตาคิดค่าการเตรียมกระจกตาแช่ Glocerime จากผู้ป่วยในราคา 500.00 บาท.

    ตาขาว

    หลังจากผ่านกระบวนการจัดเก็บดวงตาและแพทย์นำกระจกตาแช่ในน้ำยา OPTISOL เพื่อนำไปใช้ในการผ่าตัดปลูกถ่ายกระจกตาให้ผู้ป่วยแล้ว แพทย์จะนำส่วนตาขาวมาตัดเยื่อบุตา กล้ามเนื้อตา ประสาทตา นำแก้วตา น้ำวุ้น จอประสาทตาและยูเวียออกให้หมด ทำความสะอาดตาขาวด้วยผ้ากอซ แล้วเก็บรักษาโดยวิธี Silica Dessication, แช่ใน Zephiran Chloride Solution แล้วจุ่มใน Xylol, เก็บโดยใช้ 95% Glycerine และ Molecular Sieve ของSodium และ Calcium Aluminosilicates, แช่ใน Absolute Alcoshol หรืออาจเก็บแช่ใน 70% Alcohol ก็ได้ คุณสมบัติของตาขาว
    1. เป็นเนื้อเยื่อจากคนด้วยกันจึงทำให้มีการรับกันได้เมื่อนำไปใช้ผ่าตัดให้ผู้อื่น
    2. มีความแข็งแรงมาก ทำให้เหมาะในการใช้หมุนส่วนต่าง ๆ ของตา
    3. สามารถเก็บรักษาไว้ได้ง่ายและนาน และนำมาใช้ได้สะดวก
    4. ไม่มีปฏิกริยาต่อต้านหรือปฏิกริยาอื่น ๆ เนื้อเยื่อของผู้รับจะทนทานต่อตาขาวที่นำไปใส่ให้ได้ดี
    5. ตัดเป็นรูปร่างต่าง ๆ ได้ง่ายตามที่ต้องการ
    6. สามารถหาได้จากศูนย์ดวงตาเมื่อจะนำตาขาวไปใช้ในการทำผ่าตัด ให้นำตาขาวออกจากขวดน้ำยาที่เก็บ แล้วแช่ในน้ำเกลือ 5 - 10 นาที ตาขาวจะกลับเป็นสีขาว บิดงอได้ง่าย และกลับสู่สภาพเดิมเหมือนตอนแช่น้ำยาไว้ใหม่ ๆ จากนั้นนำมาแช่ในน้ำยาปฏิชีวนะอีก 5 - 10 นาที แล้วนำมาล้างด้วยน้ำเกลืออีกครั้งก็พร้อมที่จะนำไปใช้ได้
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตาคิดค่าจัดเตรียมตาขาวสำหรับใช้ในการรักษาโรคตา ราคาชิ้นละ 500.00 บาท.

    เยื่อหุ้มรก Amniotie Humbrane

    เยื่อหุ้มรกเป็นส่วนเยื่อบางใสที่หุ้มห่อทารกและน้ำคร่ำ เมื่อเด็กอยู่ในครรภ์มารดาภายหลังเมื่อเด็กคลอดออกมา เยื่อหุ้มรกก็จะเหลือค้างติดกับรก และออกมาเมื่อรกคลอด ปกติเป็นส่วนที่มักจะทิ้งไปพร้อมกับรก เนื่องจากไม่ได้นำใช้ประโยชน์ ส่วนประกอบในเยื่อหุ้มรกมี 2 ส่วน ได้แก่ส่วนของเซลล์และแผ่นฐานรองรับเซลล์ ที่เรียกว่า basement membrane และส่วนของเนื้อเยื่อผูกพันที่อยู่กันอย่างหลวม ๆ และมีสารหลายอย่างละลายอยู่ข้างใน
    ในสมัยก่อน มีการนำเอาเยื่อหุ้มรกมาใช้ทางการแพทย์หลายอย่าง เช่น นำมาผ่าตัดในช่องท้อง ใช้ปกปิดแผล ที่เกิดที่ผิวหนังจากไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก ใช้เป็นเนื้อเยื่อทดแทนเนื้อเยื่อที่ขาดหายไป ทั้งนี้เนื่อจากพบคุณสมบัติที่สำคัญของเยื่อหุ้มรกคือ สามารถลดอาการปวด การอักเสบและลดปริมาณเส้นเลือดผิดปกติที่งอกเข้ามา ช่วยสมานแผลให้หายเร็ว
    โรคทางตาอะไรบ้างที่ใช้เยื่อหุ้มรกรักษาได้
    ในทางจักษุวิทยา มีโรคกลุ่มหนึ่งที่เป็นปัญหาในการรักษาของจักษุแพทย์มาโดยตลอด โรคกลุ่มนี้คือโรคของผิวดวงตา ที่เรียกว่า ocular surface disease โรคชนิดนี้จะทำให้เกิด แผลเรื้อรังของกระจกตา ตามมาด้วยเกิดแผลเป็น มีเส้นเลือดใหม่งอกเข้าไปในกระจกตา ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บ ระคายเคืองตาเรื้อรัง และแผลเป็นที่เกิดขึ้นก็ทำให้การมองเห็นน้อยลงเรื่อย ๆ ในสมัยก่อน การรักษาก็มักจะเป็นการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา ซึ่งสามารถทำให้กระจกตาใสขึ้นและมองเห็นขึ้น แต่เป็นอยู่ได้ในช่วงสั้น ๆ เนื่องจากโรคเองไม่ได้รับการแก้ไขที่สาเหตุ ก็จะกลับเป็นแผลเป็นขึ้นมาใหม่ นอกจากนั้น เส้นเลือดที่งอกเข้าไปในกระจกตาก็จะนำเอาภูมิคุ้มกันร่างกายเข้าไปต่อต้านกระจกตาที่เปลี่ยนใหม่ทำให้เกิดกระจกตาบวมขึ้น และผู้ป่วยกลับไปมองไม่เห็นเหมือนเก่า ตัวอย่างของโรคประเภทนี้ได้แก่ โรคกระจกตาขุ่นที่เกิดตามหลัง สารเคมีเข้าตา ถูกของร้อน การอักเสบจากการแพ้ยาอย่างรุนแรง การใช้คอนแทคเลนส์ การติดเชื้อของกระจกตา เป็นต้น
    วิวัฒนาการปัจจุบัน ทำให้การค้นพบว่า เมื่อนำเยื่อหุ้มรกไปผ่าตัดลงบนตาของผู้ป่วยโรคผิวดวงตามีผลช่วยในการสมานแผล ลดการอักเสบ ผิวดวงตากลับมาใสขึ้น ปราศจากเส้นเลือด ช่วยให้ผู้ป่วยกลับมามองเห็นได้ดีขึ้น ในผู้ป่วยบางราย กระจกตาอาจใสขึ้นได้โดยไม่ต้องผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตาใหม่ และ ในรายที่ต้องผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา ก็จะทำให้สภาพของดวงตาสงบลงเพิ่มความสำเร็จในการผ่าตัดได้ดียิ่งขึ้น เยื้อหุ้มรกยังสามารถใช้เป็นเนื้อเยื่อทดแทน ในการผ่าตัดโรคบางชนิด เช่น ต้อเนื้อ การใช้เยื่อหุ้มรกก็จะช่วยลดการเกิดต้อเนื้อซ้ำเมื่อเทียบกับการผ่าตัดแบบลอกออกธรรมดา
    ในอนาคต จักษุแพทย์กำลังทำการวิจัยเพื่อศึกษาประโยชน์ใหม่ ๆ ที่จะได้จากการนำเยื่อหุ้มรกไปใช้
    จะติดต่อขอรับเยื่อหุ้มรกได้ที่ไหน
    ปัจจุบันศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทย เป็นผู้จัดเตรียมเยื่อหุ้มรกและสามารถจะให้บริการไปยังโรงพยาบาลทั่วประเทศโดยบริการใหม่นี้ ก็จะให้ความสะดวกแก่ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางตา ศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทยคิดค่าน้ำยาแช่ เยื่อหุ้มรกในราคาขวดละ 500.00 บาท
    ส่วนในรายที่ต้องการให้จัดส่งถึงที่จะคิดค่าจัดส่งเพิ่มขึ้นตามระยะทางและวิธีการจัดส่ง.

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=10 width="100%" bgColor=#183478 border=0><TBODY><TR><TD width=615><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=6>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD rowSpan=4>[​IMG]</TD><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD colSpan=2>[​IMG]</TD><TD rowSpan=5>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=289> </TD></TR><TR><TD width=56>
    [​IMG]
    </TD><TD width=615>บริการดวงตา</TD><TD width=289> </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=3>การจ่ายดวงตาอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม

    เมื่อศูนย์ดวงตาได้รับแบบฟอร์มการขอรับดวงตาจากศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย ซึ่งจักษุแพทย์ตามโรงพยาบาลต่าง ๆ เป็นผู้ส่งเข้ามาเพื่อขอจองดวงตาให้ผู้ป่วย ศูนย์ดวงตาจะพิจารณาแยกผู้ป่วยเป็นลักษณะต่าง ๆ แยกใบขอจองดวงตาเป็น 6 แฟ้ม (F) แต่ละแฟ้มเรียงตามลำดับที่ศูนย์ฯได้รับใบจอง ดังนี้ <DD>ผู้ป่วยต้องการดวงตาด่วนมาก หมายถึง ผู้ป่วยโรคกระจกตาซึ่งจำเป็นต้องรับการเปลี่ยนกระจกตาด่วนหรือฉุกเฉิน ได้แก่ ภาวะกระจกตาทะลุ ไม่ว่าจากสาเหตุใด เช่น การติดเชื้อ การอักเสบ เป็นต้น <DD>ผู้ป่วยต้องการดวงตาด่วน หมายถึง ผู้ป่วยซึ่งเป็นโรคกระจกตาที่จำเป็นต้องรับการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตาตามการจัดลำดับทั่วไปเหมือนผู้ป่วยในประเภทที่ 4 แต่เกิดมีภาวะแทรกซ้อนบางอย่างขึ้นซึ่งหากรอนานจะมีผลเสียต่อสายตาอย่างถาวร จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดเร็วขึ้นกว่าเดิม ภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ได้แก่ เกิดต้อหินร่วมด้วย หรือเกิดต้อกระจกสุกเต็มที่ เป็นต้น <DD>ผู้ป่วยสายตาพิการทั้ง 2 ข้าง หมายถึง ผู้ป่วยที่มีโรคทางตาทั้ง 2 ข้าง ทำให้มองไม่เห็นและไม่สามารถดำเนินชีวิตประจำวันเป็นปกติได้ <DD>ผู้ป่วยที่ต้องการดวงตาไม่ด่วน หมายถึง ผู้ป่วยที่เป็นโรคกระจกตาเพียงข้างใดข้างหนึ่งแต่ยังมีตาอีกหนึ่งข้างมองเห็นได้ดี สามารถช่วยเหลือตนเอง และดำเนินชีวิตเป็นปกติได้ <DD>ผู้ป่วยเด็ก เป็นการจัดลำดับของผู้ป่วยเด็ก ซึ่งมีอายุน้อยกว่า 15 ปี <DD>ผู้ป่วยโรคขอบตาดำ เป็นการจัดลำดับของผู้ป่วยซึ่งต้องการรับผ่าตัดโดยใช้เพียงส่วน LIMBUS ของกระจกตานำมาเปลี่ยนให้เท่านั้น ได้แก่ ผู้ป่วยโรคบางชนิดที่มีข้อบ่งชี้ในการทำผ่าตัดวิธีนี้ เช่นโรคกระจกตาถูกสารเคมี กรด ด่าง เป็นต้น เมื่อศูนย์ดวงตาเก็บดวงตาได้และผ่านกระบวนการต่าง ๆ แล้ว แพทย์ผู้อำนวยการจะพิจารณาว่าดวงตาที่เก็บได้นั้น สมควรใช้กับผู้ป่วยในแฟ้ม(F)ใด ก็จะจ่ายให้ผู้ป่วยตามคิวในแฟ้มนั้นการพิจารณาจะคำนึงถึงความเท่าเทียมและเป็นธรรมที่สุด.
    </DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันที่ 05 เมษายน พ.ศ. 2549 ปีที่ 15 ฉบับที่ 5606​

    ร่วมบริจาคอวัยวะ สร้างปาฏิหาริย์ชีวิตใหม่


    [​IMG]ในชีวิตของคนเรา คงไม่มีใครต้องการอยู่คนเดียวโดยปราศจากครอบครัว และบุคคลที่ตนรัก แต่บางครั้งบางชีวิตก็ต้องพบเจอกับปัญหาที่ทำให้พลัดพรากจากกันไป บางคนอาจจากกันเพียงชั่วคราว แต่บางคนโชคร้ายต้องจากกันอย่างถาวร แต่ความโหดร้ายก็ไม่ได้ย่างกรายไปสู่ทุกคนเสมอไป ในความโชคร้ายเราอาจเป็นผู้หนึ่งที่ได้รับสิ่งที่ประเสริฐที่สุดในชีวิต และเป็นปาฏิหาริย์ที่น้อยคนจะได้รับ

    น.พ.วิศิษฏ์ ฐิตวัฒน์ ผู้อำนวยการศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย เผยว่า การรักษาผู้ป่วยที่อวัยวะสำคัญเสื่อมสภาพด้วยการปลูกถ่ายอวัยวะ เป็นความก้าวหน้าทางการแพทย์ที่ช่วยให้ผู้ป่วยที่สิ้นหวังในชีวิตได้มีโอกาสพบกับชีวิตใหม่อีกครั้งหนึ่ง แต่กว่าจะปลูกถ่ายอวัยวะสำเร็จลงได้นั้น ต้องอาศัยปัจจัยต่างๆ มากมาย ทั้งการประสานงานที่มีประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การบริหารจัดการที่ดี

    ปัจจัยสำคัญที่สุดคือการได้มาซึ่งอวัยวะบริจาคจากผู้ป่วยสมองตาย ได้แก่ผู้ป่วยที่แกนสมองถูกทำลายโดยสิ้นเชิงและถาวรไม่สามารถรักษาให้กลับคืนมาได้ ถือได้ว่าเสียชีวิตแล้ว แต่ด้วยความไม่เข้าใจ ความเชื่อของญาติผู้เสียชีวิตสมองตาย การขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะของแพทย์และพยาบาล รวมทั้งสาธารณชนทั่วไป ทำให้การบริจาคอวัยวะในประเทศไทยยังมีน้อยมาก จึงเกิดปัญหาการขาดแคลนอวัยวะบริจาคขึ้น

    ศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อรอคอยรับน้ำใจที่มนุษย์มีต่อมนุษย์ด้วยกันเพื่อให้ทุกคนได้ทำความดีแม้ในยามที่ชีวิตสิ้นสูญไปแล้ว โดยเริ่มดำเนินการเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2537 และได้รับพระราชทานพระราชานุญาตให้วันที่ 2 เมษายน ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นวันก่อตั้งศูนย์รับบริจาคอวัยวะฯ <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=right border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    อัษฏา พานิชสกุล, พิยดา อัครเศรณี, เบญจวรรณ ชาญชัยชนะพันธ์, อัศมา ธีรเชษฐมงคล, กมลรัตน์ ชัยวัฒนไชยและน.ท.ทินกร พันธุ์กระวี

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    12 ปีที่ผ่านมา ถือว่าประสบผลสำเร็จด้วยดี ได้รับบริจาคอวัยวะจากผู้เสียชีวิตสมองตายมากขึ้น รวมทั้งมีผู้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะเพิ่มขึ้นด้วย แต่เมื่อเปรียบเทียบกับความต้องการอวัยวะสำหรับปลูกถ่ายแล้ว ปัญหาการขาดแคลนอวัยวะยังเป็นปัญหาใหญ่ แต่เชื่อว่าด้วยความร่วมมือของทุกฝ่ายจะช่วยให้สามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคไปได้ และทำให้การบริจาคอวัยวะเป็นสิ่งที่สังคมตระหนักและให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่

    สำหรับผู้ที่มีจิตกุศลที่แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ (1 ก.พ.2537 - 31 ม.ค.2549) มี 385,655 คน มีผู้เสียชีวิตที่บริจาคอวัยวะ 652 คน มีผู้ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะโดยการจัดสรรของศูนย์รับบริจาคอวัยวะฯ จำนวน 2,304 คน แยกเป็นไต 1,170 คน ตับ 196 คน หัวใจ 60 คน หัวใจ-ปอด 22 คน ปอด 32 คน ไต-ตับ 3 คน ลิ้นหัวใจ 279 คน กระดูก 35 คน เส้นเลือด 3 คน และผิวหนัง 1 คน และดวงตาโดยมอบให้ศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทยจัดสรรอีก 503 ดวง

    นางเบญจวรรณ ชาญชัยชนะพันธ์ อายุ 42 ปี ผู้ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะไต ถ่ายทอดให้ฟังว่า เคยป่วยด้วยโรคไตอักเสบเรื้อรัง ต้องฟอกเลือดอยู่ปีกว่าแต่อาการก็ไม่ดีขึ้น ที่สำคัญค่าใช้จ่ายสูง แต่ละเดือนต้องใช้เงินเป็นหมื่นในการฟอกเลือดโดยยังไม่รวมค่ายาอื่นๆ และยังต้องเลี้ยงดูลูกอีก 2 คนตามลำพัง ตอนนั้นขายของอยู่ที่ตลาดสดบางกะปิ เมื่ออาการหนักก็ต้องหยุด ค่าใช้จ่ายต่างๆ ต้องกู้ยืมมาจนเป็นหนี้สินจนถึงทุกวันนี้ แต่เมื่อได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะแล้วก็เหมือนชีวิตเปลี่ยนไปมาก สภาพร่างกายปรับตัวดีขึ้นเป็นลำดับ จนตอนนี้ปกติดีแล้ว สามารถทำงานได้ ผ่านมา 1 ปีกว่าแล้วที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ รู้สึกว่าตัวเองโชคดีเหมือนได้เกิดใหม่อีกรอบ สิ่งที่จะทดแทนให้กับผู้ที่บริจาคอวัยวะให้เราได้ก็คือตอนนี้ก็จะทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้เขา

    น.ส.อัศมา ธีรเชษฐมงคล อายุ 52 ปี บอกว่า เป็นโรคไตมาตั้งแต่อายุ 20 ปี ที่ผ่านมาฟอกเลือดมานาน 5 ปี สัปดาห์ละ 2 ครั้งรวมค่าใช้จ่ายแล้ว 5 หมื่นกว่าบาทต่อเดือน ผ่านชีวิตเกือบตายมาถึง 2 ครั้งเพราะมีอาการน้ำท่วมปอด หายใจไม่ออก แต่หลังจากได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะไตเมื่อปี 43 แล้วอาการก็ดีขึ้นจนรู้สึกแข็งแรงตามปกติ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รู้สึกซาบซึ้งมากกับผู้ที่ได้บริจาคอวัยวะให้ผู้อื่นเพราะถ้าไม่มีเขาก็ไม่มีเรา ทำให้เราคิดได้ว่าเมื่อสามารถทำอะไรที่ตอบแทนสังคมได้ก็จะทำ เชื่อว่าการบริจาคอวัยวะถือเป็นการทำบุญที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแล้ว เมื่อเราเคยได้เป็นผู้รับก็คิดที่จะเป็นผู้ให้ต่อไป อนาคตก็หวังที่จะบริจาคอวัยวะด้วยรวมถึงตอนนี้ก็ได้พยายามเชิญชวนคนอื่นๆด้วย โดยเฉพาะอวัยวะอื่นอย่าง หัวใจ ตับ ปอด ที่ยังมีความต้องการสูงและผู้ป่วยต้องทนทุกข์ทรมาน บางรายรอไม่ไหวเพราะยังไม่มีอวัยวะจนต้องจากไป แต่ผู้ป่วยไตถือว่ายังโชคดีกว่าที่ระหว่างรอยังสามารถรักษาด้วยวิธีอื่นไปก่อนได้

    น.ท.ทินกร พันธุ์กระวี อายุ 88 ปี ผู้ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะลิ้นหัวใจเมื่อ 2 ปีก่อน บอกว่า ก่อนหน้านี้มีหินปูนมาเกาะลิ้นหัวใจก็เคยเปลี่ยนหัวใจมาแล้ว 1 ครั้งโดยตอนนั้นใช้ลิ้นหมูซึ่งแพทย์สั่งมาจากต่างประเทศ จนปลายปี 46 ก็มีอาการลิ้นหัวใจทำงานไม่เต็มที่ประกอบกับช่วงนั้นที่คลังอวัยวะมีหัวใจขนาดพอเหมาะกับเราพอดีหมอจึงตัดสินใจทำให้ ขณะนี้ร่างกายก็แข็งแรงดีแต่ต้องออกกำลังกายสม่ำเสมอซึ่งรู้สึกซาบซึ้งน้ำใจของคนที่บริจาคอย่างมาก ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือตรงนี้คงแย่มาก ที่ผ่านมาก็เน้นเรื่องทำบุญมากขึ้นทั้งการทำบุญให้คนที่ช่วยเราและการช่วยเหลือสังคมโดยให้ทุนการศึกษาและบริจาคเงินให้กับโรงพยาบาลต่างๆ

    นางกมลรัตน์ ชัยวัฒนไชย ผู้ได้รับการปลูกถ่ายอวัยะทั้งตับและไต กล่าวว่า เคยเปลี่ยนไตเมื่อปี 47 แต่ภายหลังมีปัญหาเส้นเลือดโป่งในสมองจนตาปิดไปข้างหนึ่งและต้องผ่าสมองจากนั้นก็มีอาการตับแข็งร่วมด้วย หมอจึงเปลี่ยนทั้งตับและไตพร้อมกัน ซึ่งถือว่าเป็นรายแรกของเอเชียที่ทำสำเร็จ รู้สึกว่าชีวิตที่มีอยู่ทุกวันนี้มันยิ่งกว่าเกิดใหม่ ถ้าเราไม่ได้อวัยวะจากคนที่ช่วยบริจาคในตอนนั้น ตอนนี้ชีวิตเราก็คงไม่มีแล้ว ซึ่งความเชื่อที่ว่าหากบริจาคอวัยวะแล้วเกิดชาติหน้าจะมีอวัยวะไม่ครบนั้นถือว่าไม่เป็นความจริงเพราะในเมื่อเราได้ทำบุญที่ยิ่งใหญ่มากผลบุญก็จะทำให้ชีวิตเราดีแน่นอน

    ปัจจุบันมีผู้ป่วยที่ยังรอการปลูกถ่ายอวัยวะอยู่อีก 1,838 คน ดังนั้น ศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย จึงยังคงรอคอยน้ำใจจากเพื่อนมนุษย์ด้วยกันอยู่ตลอดเวลา

    สำหรับผู้ที่ต้องการแสดงความจำนงบริจาคอวัยวะ ติดต่อได้ที่โทรศัพท์หมายเลข 1666 และ 0-2256-4045-6 เพื่อแจ้งชื่อและที่อยู่ให้เจ้าหน้าที่ส่งแบบฟอร์มผู้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะไปให้ท่านถึงบ้านโดยทางไปรษณีย์ หรือหากท่านสะดวกเดินทางมาเองที่ ศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย อาคารเทิดพระเกียรติสมเด็จพระญาณสังวรฯ ชั้น 5 ถนนอังรีดูนังต์ ปทุมวัน กรุงเทพฯ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เมื่อเช้านี้(11 เมย.49) ผมได้รับเมล์ ขอความช่วยเหลือ ผมก็เลยขอนำมาแจ้งในกระทู้นี้นะครับ

    Subject: FW: ช่วยส่งต่อ ด่วนมาก ๆ

    ช่วยส่งต่อ
    > > > > > ด่วนมาก ๆ
    > > > > >>
    > > > > >>
    > > > > >>
    > > > > >>
    > > > > >>
    > > > > >> >อย่าเพิ่งลบเมล์นะช่วยกัน forward หน่อยนะ
    > > > > >> >พี่สาวผมมีอาการ ครรภ์เป็นพิษน่อย
    > > > > >> >หลังจากที่ตัดสินใจผ่าตัดเอาเด็กออกอย่างเร่งด่วน
    > > > > >> >ปรากฎว่าลูกแข็งแรง แต่ไขสันหลังของแม่ไม่ผลิตเลือด
    > > > > > อยากจะขอบริจากเลือดกรุ๊ปต
    > > > > >> >A ด่วนมากๆ
    > > > > >> >ซึ่งคน 10 คน ที่บริจากเลือด จะสามารถผลิดเลือดได้เพียง 1 ถุง
    > เท่านั้น
    > > > > >> >ขอขอบคุณทุกๆคนที่สร้างโอกาสให้เด็กน้อยได้เห็นหน้าแม่
    > > > > >> >บริจาคได้ที่ คลังเลือด ร.พ.จุฬา เพื่อนางสาวจรรยา
    > > > > >> >ตันคงจำรัสกุลร
    > > > > >> >มีข้อสงสัยโทร ถามได้ที่ ( 01)822-8111 หรือ ( 01 831-3990
    > > > > >> >ช่วย forward ต่อไปให้ผู้ที่ท่านคิดว่าสามารถบริจาคได้ด้วย
    > > > > >> >
    > > > > >> >ขอบคุณมากๆ ครับ
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post117732 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="FONT-WEIGHT: normal">[​IMG] 11-09-2005, 01:17 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="FONT-WEIGHT: normal" align=right> #1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 width=175>Palmnaraks<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_117732", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: เมื่อวานนี้ 11:52 AM
    วันที่สมัคร: Feb 2005
    สถานที่: เป็นสมาชิกปากจัด
    อายุ: 21
    ข้อความ: 902 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    Thanks: 1,431
    Thanked 1,079 Times in 221 Posts <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 217[​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_117732><!-- icon and title -->บริจาคดวงตาชาติหน้าจะตาบอด
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->....คัดจากหนังสือหลวงปู่หล้า เขมปตฺโต ตอบปัญหาธรรมะ...

    คำถาม
    1. ผู้ที่บริจาคดวงตาให้กับโรงพยาบาลมีอานิสงส์ไหม
    2. เมื่อบริจาคดวงตา ถ้าเป็นบุญบารมี จะเป็นปัจจัยให้ได้ดวงตาเห็นธรรมได้หรือเปล่า
    3. จะเป็นอานิสงส์ให้ได้ถึงฌานสมาบัติได้ไหมสุดท้ายพระนิพพานด้วย
    4. สมมติผู้บริจาคมีศรัทธา บริจาคมอบให้โรงพยาบาลแล้ว อยู่มาอีกเป็นสิบปีจึงสิ้นชีวิต ลูกหลานเกิดเบี้ยว
    หรือไม่ยอมบอกให้หมอมาเอาดวงตา หรือลูกหลานลืมไม่ได้นึกถึงจึงไม่ได้เรียกหมอมาเอาดวงตา
    กรณีเช่นนี้ผู้ตาย หรือผู้บริจาคจะได้บุญ หรืออานิสงส์ไหม
    5. มีผู้คนเขาพูดว่าให้ดวงตาเขาไปแล้ว เมื่อไปเกิดชาติหน้าภพหน้าจะเป็นคนพิการ หรือไม่
    6. บางคนก็ว่าสละดวงตาไปแล้วเป็นวิญญาณก็ดี หรือเป็นผี และไปเกิดในภพสัมภเวสีจะไม่มีลูกตา
    ดวงตา จริงหรือไม่
    7. เมื่อหมอเอาดวงตาไปแล้วใส่ให้ผู้อื่นเกิดใช้ไม่ได้ และดวงตานั้นเกิดเสียหาย หรือหมอทำผิดพลาด
    ด้วยเหตุใดๆ ก็ดี จนดวงตาที่เอาไปนั้นใช้ไม่ได้ เหตุการณ์เช่นนี้ผู้สละดวงตาจะได้อานิสงส์ไหม
    8. ผู้ที่บริจาคร่างกายให้โรงพยาบาล เพื่อให้บรรดาหมอ และพยาบาลไปเรียนหรือศึกษาจะได้อานิสงส์
    ผลบุญหรือไม่อย่างไรเมื่อสิ้นชีวิตแล้ว และชาติเบื้องหน้า
    9. เมื่อบริจาคดวงตา และร่างกายให้โรงพยาบาลโดยได้ทำการจดชื่อลงชื่อมอบให้แล้วกลับมาบ้านจะ
    นิมนต์พระสงฆ์มาทำบุญบ้าน แล้วกรวดน้ำแผ่ส่วนกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร และสัตว์ผู้บริจาคได้
    ทำเอาไว้กับสัตว์นั้นจะได้ หรือไม่ จะถูกต้องหรือไม่
    10. ถ้าถูกต้องทำได้ และถ้าทำบุญกรวดน้ำ ที่ได้บริจาคดวงตา หรือร่างกายไปแล้วภายหลังลูกหลานหรือ
    หมอโรงพยาบาลเกิดทำผิดพลาด หรือลืมไป ไม่ได้เอาดวงตาร่างกายไปทำประโยชน์ดังที่ผู้บริจาค
    ตั้งใจไว้ เมื่อผู้นั้นได้สิ้นชีวิตไปแล้ว เช่นนี้จะเป็นเวรเป็นกรรมเป็นบาปแก่ผู้บริจาค และลูกหลาน
    ต่อไปหรือไม่ประการใด เพราะกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลแล้ว
    11. กระผมอยากทราบว่า สมัยพระพุทธโคดม ท่านยังทรงพระชนม์อยู่พระอรหันต์ที่เป็นภิกษุณีองค์
    แรกคือใคร มีพระนามว่ากระไรครับ

    คำตอบ
    1. ผู้บริจาคดวงตาให้กับโรงพยาบาล มีอานิสงส์มาก
    2. เมื่อบริจาคดวงตาแล้วจะได้กุศลเป็นส่วนไหนนั้น มันก็ขึ้นอยู่กับผู้ปรารถนานายกอุทาหรณ์ เช่น
    นางอุบลวรรณถวายดอกบัวต่อพระปัจเจกฯ แล้วก็ปรารถนาว่า ข้าพเจ้าเกิดมาในภพใดชาติใด
    ขอให้สีกายเหมือนดอกบัว และก็ได้รับผลอย่างนั้นจริง จนได้ชื่อว่าอุบลวรรณานั่นเอง
    คำว่าอุบลแปลว่าดอกบัว คำว่าวรรณาแปลว่าผิพรรณ สีกายเหมือนดอกบัวอยู่ห้าร้อยชาติติดๆ กัน ดังนี้
    ส่วนที่จะได้ดวงตาเห็นธรรม หรือไม่นั้นก็ต้องอธิษฐานว่า " ขอให้ข้าพเจ้าได้ดวงตาเห็น
    ธรรม " อย่างนี้ก็จะได้จริงสมคำดังปรารถนาดังผลทาน
    3. จะเป็นอานิสงส์ให้ได้ถึงฌาน หรือไม่นั้น มันก็ขึ้นกับคำปรารถนาดังกล่าวแล้วนั้นเองตลอดทั้ง
    พระนิพพานด้วย
    4. ในกรณีที่ตกลงบริจาคไว้แล้วไม่ได้พลิกคืนก็เท่ากับว่าบริจาคแล้ว ก็ต้องได้บุญซิ
    5. ให้ดวงตาเขาไปแล้ว เกิดชาติหน้าไม่พิการ เพราะเชื่อผลศีลผลทาน เพราะผลศีลผลทานไม่ทำให้คน
    มีรูปขี้เหร่
    6. และผู้ที่ไปเกิดไม่มีดวงตานั้น เป็นผู้มีบุพกรรมแต่ชาติก่อนเป็นต้นว่าได้ทำตาให้เขาบอดเป็นต้น
    เช่นพระจักขุบาลเป็นพระอรหันต์ตาบอด เพราะได้ไปวางยาให้เขาตาบอด เพราะโกรธว่าเขา
    ไม่ให้ค่ารักษา ที่เรารักษาตาให้หายแล้ว อันนี้พูดย่อเต็มที ในชีวประวัติของพระจักขุบาลยืดยาวนัก
    7. เมื่อหมอเอาตาไปแล้วใส่ให้ผู้อื่นเกิดใช้ไม่ได้ หรือดวงนั้นเกิดเสียหาย หรือหมอทำผิดพลาดใดๆ
    ก็ดีจนดวงตาที่เอาไปนั้นใช้ไม่ได้ เหตุการณ์เช่นนี้ผู้สละดวงตาก็ได้ผลตามเดิม เพราะจิตใจไม่ได้
    พลิกคืนว่าจะไม่ให้
    8. ผู้ที่ทานร่างกายให้โรงพยาบาลเพื่อให้บรรดาหมอ และพยาบาลไปเรียน หรือศึกษาก็ต้องได้บุญ
    เต็มส่วนของเจตนานั้นๆ
    9. เมื่อบริจาคดวงตา และร่างกายให้โรงพยาบาลโดยไปทำการจดชื่อลงชื่อมอบให้แล้วมาบ้าน
    นิมนต์พระมาทำบุญ แล้วกรวดน้ำให้เจ้ากรรมนายเวร และสัตว์ที่ผู้บริจาคได้ทำเอาไว้กับ
    สัตว์ จะได้หรือไม่นั้นก็ยังเป็นปัญหาอยู่มาก เขาจะได้รับ หรือไม่ได้รับก็เป็นการเสี่ยงบุญ
    เพราะเขาเป็นสัตว์ดิรัจฉาน ถ้าหากว่าเขาเป็นเปรตสัมภเวสีเขาจึงจะได้รับ ส่วนเขาจะได้รับ
    หรือไม่นั้นผลของบุญมาหาเราตามเดิม ถึงแม้เขาจะจองเวรเราอยู่ก็ตามผลบุญส่วนนั้น
    ก็ต้องมาหาเราอยู่ ในบาลีจึงยืนยันว่า " ปัตติทานมัย " บุญสำเร็จด้วยการให้บุญ ดังนี้…
    10. ถ้าเราบริจาคแล้ว ผู้อยู่ข้างหลังไม่ทำตามคำสั่งเสีย ก็เป็นความผิดของเขา แต่เราได้บุญตามเดิมอยู่
    ผู้เขาลืมเขาก็ต้องเป็นบาปบ้าง
    11. นางภิกษุณี องค์แรก คือนางปชาบดีโคตมี เป็นพระอรหันต์ก่อนเพื่อน
    ที่มา http://www.geocities.com/pralaah/otherQ16_20.htm

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. khomeraya

    khomeraya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    1,833
    ค่าพลัง:
    +21,369
    ตัวผมเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน แสดงความจำนงด้วยการกรอกแบบฟอร์มอุทิศร่างกายให้นักศึกษาแพทย์ครับ ถวายเป็นพระราชกุศล เพื่อนที่ทำงานเห็นเข้า ขอร่วมบริจาคร่างกายด้วยคนครับ
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับผู้ที่ทำเรื่องการบริจาค ดวงตา , อวัยวะ , ร่างกายแล้ว อย่าลืมนะครับ ต้องรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีด้วยครับ เพราะว่าหากเกิดเสียชีวิตไปแล้ว ทั้งดวงตา ,อวัยวะ ,ร่างกาย จะได้นำไปใช้ได้นะครับ ได้ทั้งกุศล ได้ทั้งต้องดูแลสุขภาพของตนเอง ดีจริงๆนะครับ
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
  11. cheterk

    cheterk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    512
    ค่าพลัง:
    +1,568
    ผมก็ตั้งใจ บริจาคทั้งร่างกายครับ

    ผมเชื่อว่าเรา จะได้คุยกัน ผมคุยได้ทุกเรื่องครับ
    พระนิพพาน จากคำครูอาจารย์
    http://www.geocities.com/pranipan/

    VDO ของสัตว์ต่างๆ ที่จะต้องถูกนำมาเป็นอาหารให้เราได้กิน เรื่องจริงที่หลายคนไม่เคยเห็น ว่าน่าสงสารแค่ไหน
    อานิสงส์ ๑๐ ประการ ของการไม่กินเนื้อสัตว์ ( อันนี้ผมผิมตามหน้าปก CD นะครับ )
    1. เป็นที่รักของบรรดาเทพพรม ตลอด จนมนุษและสัตว์ทั้งหลาย
    2. จิตอันเป็นมหาเมตตาย่อมบังเกิดขึ้น
    3. สามารถตัดขาดความอาฆาต ดับอารมณ์ เหี้ยมโหดเคียดแค้นในใจลงได้
    4. ปราสจากโรคภัยร้ายแรงมาเบียดเบียนร่างกาย
    5. มีอายุมั่นขวัญยืน
    6. ได้รับการปกป้องคุ้มครองจากวัชรเทพทั้งแปด
    7. ยามหลับนิมิครเห็นแต่สิ่งที่ดีงาม เป็นศิริมงคล
    8. ย่อมระงับการจองเวร สลายความอาฆาตแค้นซึ้งกันและกัน
    9. สามารถดำรงอยู่ในกระแสแห่งนิพาน ไม่พลัดหลงตกลงสู่อบายภูมิ
    10. ทันทีที่ละสังขารจากโลกนี้ จิตญาณจะมุ่งสู่คติภพ

    เปิด
    http://thaihotbiz.com/dmc/ก่อนที่จะมาเป็นอาหารให้เราได้กิน2.wmv

    Save
    http://thaihotbiz.com/dmc/ก่อนที่จะมาเป็นอาหารให้เราได้กิน2.zip

    อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่มารดา บิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้ามีความสุข
    อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข
    อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุสุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้าขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข
    อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุสุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวงขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
    อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุสัพเพ เปตา
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวงขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
    อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุสัพเพเวรี
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
    อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตาโหนตุ สัพเพ สัตตา
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ

    ดาวธรรม ถ่ายทอดสด รายการธรรมะ 24 ชม. ทั่วโลก
    และเสนอ Case Stady กฏแห่งกรรม

    http://www.dmc.tv/multimedia.php?mediaURL=http://203.146.251.191/vcont100k_2
     
  12. rinnn

    rinnn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    7,666
    ค่าพลัง:
    +24,024
    เพิ่งได้เข้ามาอ่านกระทู้นี้..รินก้อ ..บริจาค หมดละค่ะ ทั้งร่างกายเลย

    บอกเจ้าหน้าที่ที่รับบริจาคว่า..ถ้ารินตายแล้วส่วนไหนที่ใช้ได้ ให้เอาไป

    เลยค่ะ..แล้วที่สภากาชาด นะเค้าจะต้องให้เรามีคนรับรองด้วยนะคะ

    ว่าเราได้ทำการบริจาคจริงๆ ผู้รับรองต้องรับทราบด้วย

    หนูต้องบอกพ่อแม่ด้วยค่ะ..รินจะได้ บัตรที่บริจาคร่างกาย เรียบร้อยละค่ะ

    เพราะหนูบริจาคตั้งนานแล้วค่ะ..ผ่านมาห้า ปีได้แล้วมั้งค่ะ..พอบริจาค

    รู้สึกมีความสุขสุดๆเลย เพราะถ้าส่วนไหน

    ที่ยังใช้งานได้อยู่ก้อให้กะ คนที่เค้ากำลังต้องการ..เพราะเราตายไปก้อเอา

    อะไรติดตัวไปไม่ได้หรอกค่ะ
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]

    สภากาชาดไทยขอรับบริจาคโลหิตหมู่พิเศษ ด่วน!!! ​

    ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ได้รับการร้องขอโลหิตหมู่พิเศษ หรือ อาร์เอชลบ (Rh-negative) เป็นจำนวนมาก จากโรงพยาบาลต่าง ๆ ได้แก่ หมู่โลหิตโอ อาร์เอชลบ 54 ยูนิต, เอ อาร์เอชลบ 27 ยูนิต, บี อาร์เอชลบ 21 ยูนิต รวมจำนวนทั้งสิ้น 102 ยูนิต ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วย ที่ต้องได้รับการผ่าตัดเร่งด่วน เนื่องจากเสียเลือดมาก อาทิ ผ่าตัดสมอง อุบัติเหตุ คลอดบุตร เป็นต้น
    ซึ่งขณะนี้ ศูนย์บริการโลหิตฯ ไม่มีโลหิตหมู่ดังกล่าวสำรองอยู่เลย จึงขอเชิญผู้ที่มีโลหิตหมู่พิเศษ ติดต่อบริจาคได้ที่ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ถนนอังรีดูนังต์ จันทร์-ศุกร์ เปิดรับบริจาคโลหิตเวลา 08.00-16.30 น. (ไม่พักเที่ยง) หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0-2252-1637, 0-2252-6116, 0-2263-9600-99 ต่อ 1770,1771
    ทั้งนี้ ผู้ที่มีหมู่โลหิตพิเศษ หรือ อาร์เอชลบ ในประเทศไทยมีจำนวนน้อยมาก ในคนไทยพบว่า มีหมู่โลหิตนี้เพียง 0.3 เปอร์เซ็นต์ หรือ 1,000 คน จะพบเพียง 3 คน เท่านั้น ในกรณีผู้ป่วยมีหมู่โลหิตอาร์เอชลบ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับโลหิตหมู่อาร์เอชลบเหมือนกัน เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดอาการช็อคถึงแก่ชีวิตได้ จึงนับเป็นปัญหาอย่างมากในการจัดหาโลหิตหมู่พิเศษ ให้เพียงพอสำหรับผู้ป่วย



    ข้อมูลจาก
    [​IMG]
    ศูนย์บริจาคโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย​



    และสามารถดูรายละเอียดได้ใน http://www.nbc.in.th/
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 พฤศจิกายน 2006
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]

    http://www.redcross.or.th/pr/pr_news.php4?db=0&nhid=279

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD><CENTER>[SIZE=+2]ต้องการโลหิตหมู่พิเศษจำนวนมาก สำหรับผู้ป่วยผ่าตัดด่วน![/SIZE] </CENTER></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>[SIZE=-1]ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ ได้รับการร้องขอโลหิตหมู่พิเศษ หรือ อาร์เอชลบ (Rh-negative)เป็นจำนวนมาก จากโรงพยาบาลต่างๆ ได้แก่ หมู่โลหิตโอ อาร์เอชลบ 54 ยูนิต , เอ อาร์เอชลบ 27 ยูนิต , บี อาร์เอชลบ 21 ยูนิต รวมจำนวนทั้งสิ้น 102 ยูนิต ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วยที่ต้องผ่าตัดเร่งด่วน เนื่องจากเสียเลือดมากจาก อุบัติเหตุ คลอดบุตร ผ่าตัดสมอง ฯลฯ ซึ่งขณะนี้ ไม่มีโลหิตหมู่ดังกล่าวสำรองอยู่เลย จึงขอเชิญผู้ที่มีโลหิตหมู่พิเศษ ติดต่อบริจาคได้ที่ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภา ถนนอังรีดูนังต์ วันนี้( 21 พฤศจิกายน 2549 ) เปิดเวลา 08.00-16.30 น. (ไม่พักเที่ยง)
    ทั้งนี้ ผู้ที่มีหมู่โลหิตพิเศษ หรือ อาร์เอชลบ ในประเทศไทยมีจำนวนน้อยมาก ในคนไทยพบว่า มีหมู่โลหิตนี้เพียง 0.3 เปอร์เซ็นต์ หรือ 1,000 คน จะพบเพียง 3 คน เท่านั้น ในกรณีที่ผู้ป่วยมีหมู่โลหิตอาร์เอชลบ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับโลหิตหมู่อาร์เอชลบเหมือนกัน เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดอาการช็อคถึงแก่ชีวิตได้ จึงนับเป็นปัญหาอย่างมากในการจัดหาโลหิตหมู่พิเศษให้เพียงพอสำหรับผู้ป่วย สำหรับผู้มีโลหิตหมู่พิเศษสอบถามรายละเอียด ได้ที่ โทรศัพท์ 0 2252 1637 , 0 2252 6116 [/SIZE]<CENTER></CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD>[SIZE=-1]วันที่ประกาศ : [/SIZE][SIZE=-1]21 พ.ย 49 12:30[/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.redcross.or.th/donation/moneydonate.php4

    <TABLE cellSpacing=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD><TABLE width="100%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>บริจาคเงินให้สภากาชาดไทย</TD></TR><TR><TD>สิทธิประโยชน์พิเศษจากการบริจาค นอกจากเป็นกุศลบุญของผู้บริจาคแล้ว สภากาชาดไทยยังมอบสิทธิประโยชน์พิเศษแก่ท่าน ดังนี้
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD width="30%" bgColor=#000066><CENTER>บริจาคเงินหรือสิ่งของ </CENTER></TD><TD bgColor=#000066><CENTER>สิทธิที่จะได้รับ </CENTER></TD></TR><TR><TD><CENTER>20,000 บาท (สองหมื่นบาท) </CENTER></TD><TD>ได้รับสิทธิสมาชิกกิตติมศักดิ์ 1 ท่าน</TD></TR><TR><TD><CENTER>200,000 บาท (สองแสนบาท) </CENTER></TD><TD>ได้รับพระราชทาน เหรียญกาชาดสมนาคุณชั้นที่ 2 จำนวน 1 ท่าน หรือได้รับสิทธิสมาชิก กิตติมศักดิ์ </TD></TR><TR><TD><CENTER>400,000 บาท (สี่แสนบาท) </CENTER></TD><TD>ได้รับพระราชทาน เหรียญกาชาดสมนาคุณชั้นที่ 1 จำนวน 1 ท่าน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี หรือได้รับสิทธิสมาชิกกิตติมศักดิ์ </TD></TR></TBODY></TABLE>ประโยชน์ของการเป็นสมาชิกสภากาชาดไทย
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD>1. ได้รับลดหย่อน ค่าห้องพิเศษ ค่าผ่าตัด และค่าผ่าตัดคลอดบุตรกึ่งหนึ่ง ของอัตราที่กำหนด เมื่อเข้ารับการรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และโรงพยาบาลสมเด็จตพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชาของสภากาชาดไทย และได้รับลดหย่อน ค่ารักษาพยาบาล ตามระเบียบของกระทรวงสาธารณสุข เมื่อเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข</TD></TR><TR><TD>2. ประดับเข็มได้ทั่วไป และประดับเข็มเข้าชมงานกาชาดได้ โดยไม่ต้องเสียค่าบัตรผ่านประตู</TD></TR><TR><TD>3. กรณีที่ท่านเป็นสมาชิกสภากาชาดไทย ไม่ว่าประเภทใด ทั้งสามีและภรรยา บุตรธิดาของท่าน ที่มีอายุที่ต่ำกว่า 12 ปี จะได้รับสิทธิตามข้อ 1 ด้วยเช่นกัน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR bgColor=#000066><TD>กรุณาเลือกรูปแบบการบริจาคเงิน</TD></TR><TR><TD>[​IMG]ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
    [​IMG]พิมพ์แบบฟอร์มการบริจาคเงิน(เพื่อนำไปชำระเงินทางธนาคาร)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    บริจาคโลหิต
    เนื่องจากโลหิตเป็นสิ่งสำคัญในการช่วยเหลือชีวิตมนุษย์ให้อยู่รอด นักวิทยาศาสตร์ได้พยายามค้นคว้ามาเป็นเวลานาน แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จในการหาสารประกอบอื่น ๆ ที่มาทดแทนโลหิตได้ ฉะนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องให้โลหิตจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งด้วยการบริจาคนั่นเอง
    การบริจาคโลหิต คือการสละโลหิตส่วนเกินที่ร่างกายไม่จำเป็นต้องใช้ เพื่อให้กับผู้ป่วย เป็นสิ่งที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายเลย เพราะร่างกายแต่ละคนจะมีปริมาณโลหิตประมาณ 17-18 แก้วน้ำ ซึ่งร่างกายใช้เพียง 15-16 แก้วเท่านั้น ส่วนที่เหลือนั้นสามารถบริจาคให้ผู้อื่นได้
    ผู้บริจาคโลหิตสามารถบริจาคโลหิตได้ทุก 3 เดือน เพราะเมื่อบริจาคโลหิตออกไป ไขกระดูกจะเป็นส่วนสำคัญในการสร้างเม็ดโลหิตขึ้นมาทดแทนให้มีปริมาณโลหิตในร่างกายเท่าเดิม ถ้าไม่ได้บริจาค ร่างกายจะขับเม็ดโลหิตที่สลายตัว เพราะหมดอายุออกมาในรูปของปัสสาวะ อุจจาระ หรือเหงื่ออยู่แล้ว การบริจาคโลหิตใช้เวลาประมาณ 15 นาที ท่านจะได้รับการเจาะเก็บโลหิตและบรรจุในถุงพลาสติก (BLOOD BAG) ตั้งแต่ 350-450 มิลลิลิตร (ซี.ซี) ขึ้นอยู่กับน้ำหนักของผู้บริจาค

    โลหิตคืออะไร
    โลหิตมีส่วนที่เป็นน้ำ เรียกว่า น้ำเหลือง มีสีเหลืองอ่อนใสมีโปรตีนและปัจจัยการแข็งตัวของเลือดและส่วนที่เป็นเม็ดโลหิตซึ่งมีเม็ดโลหิตแดง เม็ดโลหิตขาว และเกล็ดโลหิต เป็นของเหลวสีแดงที่ไหลเวียนอยู่ภายในหลอดโลหิตในร่างกาย โดยกำลังสูบฉีดของหัวใจ อวัยวะสำคัญที่ทำหน้าที่สร้างเม็ดโลหิต คือ ไขกระดูก ซึ่งได้แก่ กระดูกแขน กระดูกหน้าอก กระดูกซี่โครง กระโหลกศีรษะ กระดูกเชิงกราน กระดูกไขสันหลัง เป็นต้น ในร่างกายของมนุษย์ (ผู้ใหญ่) จะมีโลหิตประมาณ 4,000-5,000 มิลลิลิตร (ซี.ซี.) หรือสามารถคำนวณง่ายๆ คือ
    น้ำหนักตัวสุทธิ x 80 = ปริมาณโลหิตที่มีในร่างกายโดยประมาณ (หน่วยเป็น ซี.ซี.)
    โลหิตแบ่งได้ 2 ส่วน คือ
    1. เม็ดโลหิต จะมีอยู่ประมาณ 45 % ของโลหิตทั้งหมด ซึ่งมี 3 ชนิด คือ
    - เม็ดโลหิตแดง มีหน้าที่ในการลำเลียงออกซิเจนเพื่อให้เซลล์ต่างๆ ใช้สันดาปอาหารเป็นพลังงาน อายุการทำงานในกระแสโลหิต ประมาณ 120 วัน
    - เม็ดโลหิตขาว ทำหน้าที่ปกป้องและทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และสารที่เป็นอันตรายอื่นๆ ซึ่งเปรียบเหมือนทหารป้องกันประเทศ เม็ดโลหิตขาวมีอายุการทำงานในกระแสโลหิต ประมาณ 10 ชั่วโมง
    -เกล็ดโลหิต ทำหน้าที่ช่วยให้โลหิตแข็งตัวตรงจุดที่มีการฉีกขาดของเส้นโลหิต มีอายุการทำงานในกระแสโลหิต ประมาณ 5-10 วัน
    2. พลาสมา (Plasma ) คือส่วนที่เป็นของเหลวของโลหิตที่ทำให้เม็ดโลหิตทั้งหลายลอยตัว มีลักษณะเป็นน้ำสีเหลือง จะมีอยู่ประมาณ ร้อยละ 55 ของโลหิตทั้งหมด มีหน้าที่ควบคุมระดับความดันและปริมาตรของโลหิตป้องกันเลือดออก และเป็นภูมิคุ้มกันโรคติดต่อที่จะเข้าสู่ร่างกาย พลาสมานี้ประกอบด้วยส่วนที่เป็นน้ำประมาณ 92 % และส่วนที่เป็นโปรตีนประมาณ 8 % ซึ่งโปรตีนที่สำคัญ ได้แก่
    - แอลบูมิน มีหน้าที่รักษาความสมดุลของน้ำในหลอดเลือดและเนื้อเยื่อ
    - อิมมูโนโกลบูลิน มีหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันโรคติดต่อต่างๆ ที่จะเข้าสูร่างกาย เกร็ดความรู้
    ถ้านำเส้นโลหิตทั่วร่างกายมาต่อกัน จะมีความยาวถึง 96,000 กิโลเมตร หรือความยาวเท่ากับ 2 เท่าครึ่งของระยะทางรอบโลก โดยเฉลี่ยแล้วปริมาณโลหิตในร่างกายจะมี 5-6 ลิตรในผู้ชาย และ 4-5 ลิตรในผู้หญิง และโลหิตจะมีการไหลเวียน โดยผ่านมาที่หัวใจถึง 1,000 เที่ยวต่อวัน คนหนุ่มสาวจะมีเซลล์เม็ดโลหิตแดงเท่ากับ 35,000,000,000,000 เซลล์ (สามสิบห้าล้านเซลล์) อยู่ภายในร่างกายในเวลา 120 วัน เซลล์เม็ดโลหิตแดง จำนวน 1.2 ล้านเซลล์ จะถึงกำหนดหมดอายุขัย ถูกขับถ่ายออกมาขณะเดียวกันไขกระดูกซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในกระดูกซี่โครง กะโหลกศรีษะ และกระดูกสันหลัง จะช่วยกันผลิตเซลล์ใหม่เท่ากับจำนวนที่ตายไปขึ้นมาแทนที่

    จากชีวิตสู่ชีวิต มอบโลหิตช่วยผู้ป่วย

    บริจาค
    1. บริจาคโลหิตรวม (Whole blood)
    2. บริจาคพลาสมา (Plasma)
    3. บริจาคเกล็ดโลหิต (Single Donor Platelets)
    4. บริจาคเม็ดโลหิตแดง (Single Donor Red Cell)
    5. ตารางเวลาหน่วยรับบริจาคโลหิตนอกสถานที่
    6. LOGO โครงการ BRAND'S YOUNG BLOOD
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.redcross.or.th/donation/blood_wholeblood.php4

    บริจาคโลหิตรวม (Whole blood)
    คุณประโยชน์
    1. ได้รับความภูมิใจที่ได้เสียสละโลหิตในร่างกาย เพื่อเป็นสาธารณประโยชน์ต่อผู้อื่น เป็นการทำบุญอันยิ่งใหญ่ ซึ่งจะทำให้ท่านมีความสุขใจ
    2. ได้รับการตรวจสุขภาพร่างกายเป็นประจำทุก 3 เดือน
    3. ได้รับทราบหมู่โลหิตของตนเองทั้งระบบ เอ บี โอ และ ระบบ อาร์เอช
    4. โลหิตทุกยูนิตที่ได้รับบริจาค ต้องผ่านกระบวนการคัดกรองเชื้อต่างๆ ในห้องปฏิบัติการ เหมือนกับการที่ผู้บริจาคโลหิตได้รับการตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี, ไวรัสตับอักเสบ ซี, เอดส์ และอื่นๆ
    นอกจากนี้ เพื่อเป็นการตอบแทนผู้บริจาคโลหิต ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ ได้จัดทำเข็มที่ระลึกผู้บริจาคโลหิตขึ้น เพื่อมอบให้ผู้บริจาคโลหิต โดยจัดทำเป็นเข็มที่ระลึกครั้งที่ 1,7,16,24,36,48,60,72,84,96 และ 108 ตามลำดับ​

    คุณสมบัติของผู้บริจาคโลหิต
    ผู้มีความประสงค์จะบริจาคโลหิตควรตรวจสอบคุณสมบัติตนเองก่อนบริจาค ดังนี้
    1. อายุระหว่าง 17 ปี ถึง 60 ปีบริบูรณ์
    2. น้ำหนัก 45 กิโลกรัมขึ้นไป สุขภาพทั่วไปสมบูรณ์ดี
    3. ไม่มีประวัติโรคตับอักเสบ หรือดีซ่าน ตัวเหลือง ตาเหลือง
    4. ไม่เป็นไข้มาเลเรียมาในระยะ 3 ปี ที่ผ่านมา และไม่เป็นกามโรค โรคติดเชื้อต่าง ๆ ไอเรื้อรัง ไอมีโลหิต โลหิตออกง่ายผิดปกติ โรคเลือดชนิดต่าง ๆ โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ โรคลมชัก โรคผิวหนังเรื้อรัง โรคหัวใจ โรคไต โรคเบาหวาน โรคไทรอยด์
    5. ไม่อยู่ในภาวะน้ำหนักลดมากในระยะสั้น
    6. ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ หรือสำส่อนทางเพศ ไม่มีประวัติติดยาเสพติด
    7. งดการบริจาคโลหิตภายหลังผ่าตัด คลอดบุตรหรือแท้งบุตร 6 เดือน (ถ้ามีการรับโลหิตต้องงดบริจาคโลหิต 1 ปี)
    8. สตรีไม่อยู่ในระหว่างมีประจำเดือน หรือตั้งครรภ์​

    ดูแลตัวเองก่อนมาบริจาคโลหิต
    *ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 6 ชั่วโมง
    *ควรมีสุขภาพสมบูรณ์ดีทุกประการไม่เป็นไข้หวัด หรืออยู่ระหว่างรับประทานยาใดๆ
    *ควรรับประทานอาหารมาก่อน และเป็นอาหารที่ย่อยง่าย ไม่มีไขมัน
    *งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ก่อนมาบริจาคอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
    *งดสูบบุหรี่ก่อนและหลังบริจาคโลหิต 1 ชั่วโมง เพื่อให้ปอดฟอกโลหิตได้ดี
    *สุภาพสตรีไม่อยู่ในระหว่างมีประจำเดือนหรือตั้งครรภ์
    *การบริจาคโลหิตครั้งต่อไปเว้นระยะ 3 เดือน ยกเว้นการบริจาคพลาสมาหรือเกล็ดโลหิต​

    ข้อปฏิบัติหลังบริจาคโลหิต
    *นอนพักบนเตียงอย่างน้อย 3-5 นาที ห้ามลุกจากเตียงทันที จะเวียนศีรษะเป็นลมได้
    *ควรดื่มเครื่องดื่มที่มีบริการให้ และดื่มน้ำมากกว่าปกติเป็นเวลา 2 วัน
    *ไม่ควรรีบร้อนกลับ นั่งพักจนแน่ใจว่าเป็นปกติ
    *หากมีอาการเวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลมระหว่างลุกจากเตียงหรือขณะเดินทางกลับ ต้องรีบนั่งก้มศีรษะต่ำ ระหว่างเข่าหรือนอนราบ เพื่อป้องกันอันตรายจากการล้ม
    *หากมีโลหิตซึมออกมา ให้ใช้นิ้วมือ 3 นิ้ว กดลงบนผ้าก๊อสหรือพลาสเตอร์ที่ปิดรอยเจาะ ให้นิ้วหัวแม่มือกดด้านใต้ข้อศอกและยกแขนสูงจนโลหิตหยุดสนิท หากโลหิตไม่หยุดซึมให้กลับมายังสถานที่บริจาคเพื่อพบแพทย์พยาบาล
    *งดออกกำลังกายที่ต้องเสียเหงื่อมากภายหลังการบริจาคโลหิต ผู้บริจาคโลหิตที่ทำงานปีนป่ายที่สูงหรือทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล ควรหยุดพักหนึ่งวัน
    *รับประทานยาธาตุเหล็กที่ได้รับวันละ 1 เม็ด จนหมด เพื่อป้องกันการขาดธาตุเหล็ก
    *หลีกเลี่ยงการใช้กำลังแขนข้างที่เจาะ เป็นเวลา 12 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการบวมช้ำ​

    ผู้บริจาคโลหิตโปรดทราบ ท่านที่มีประวัติดังต่อไปนี้ ควรงดการบริจาคโลหิตคือ
    *ท่านหรือคู่สมรสของท่าน เคยมีเพศสัมพันธ์กับหญิงหรือชาย ที่ขายบริการทางเพศ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยในระยะ 3 เดือนที่ผ่านมา
    *เคยเป็นผู้ที่เสพยาเสพติดโดยใช้เข็มฉีดยา
    *รู้ตัวว่าติดเชื้อเอดส์​

    ทุกท่านมั่นใจได้ว่าอุปกรณ์ทุกชิ้นที่ใช้ในการรับบริจาคโลหิต ใช้ครั้งเดียวสำหรับคนเดียวแล้วทิ้ง

    สถานที่ติดต่อ
    ท่านสามารถบริจาคโลหิตได้ที่

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="60%" align=center border=1><TBODY><TR><TD colSpan=2>ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย

    </TD></TR><TR><TD width="69%">วันจันทร์ - วันพุธ, วันศุกร์ (ไม่หยุดพักกลางวัน)</TD><TD width="31%">08.00-16.30 น.</TD></TR><TR><TD width="69%">วันพฤหัสบดี (ไม่หยุดพักกลางวัน)</TD><TD width="31%">07.30-19.30 น.</TD></TR><TR><TD width="69%">วันเสาร์และวันหยุดนักขัตฤกษ์</TD><TD width="31%">08.00-12.00 น.</TD></TR><TR><TD width="69%">วันอาทิตย์</TD><TD width="31%">12.00-16.00 น.</TD></TR><TR><TD colSpan=2>
    หน่วยเคลื่อนที่ประจำ


    </TD></TR><TR><TD width="69%" height=24>สวนจตุจักร ทุกวันเสาร์
    (รถจอดริมถนนพหลโยธิน)
    </TD><TD width="31%" height=24>10.00-15.00 น.</TD></TR><TR><TD width="69%">สนามหลวง วันอาทิตย์
    (รถจอดบริเวณด้านหน้ากรมศิลปากร)
    </TD><TD width="31%">09.00-14.00 น.</TD></TR><TR><TD width="69%">ตลาดนัดธนบุรี (สนามหลวง 2)
    ทุกวันอาทิตย์ สัปดาห์สุดท้ายของเดือน
    (รถจอดหน้าสำนักงาน)
    </TD><TD width="31%">10.00-15.00 น.</TD></TR><TR><TD width="69%">มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก
    ทุกวันจันทร์และวันอังคาร
    (รถจอดบริเวณข้างหอสมุดด้านคณะนิติศาสตร์)
    </TD><TD width="31%">10.00-15.00 น.</TD></TR><TR><TD width="69%">สถานีกาชาด 11"วิเศษนิยม" บางแค
    ทุกวันจันทร์และวันพฤหัสบดี
    (รับบริจาคโลหิตภายในอาคาร ข้างฟิวเจอร์ปาร์ค บางแค)
    </TD><TD width="31%">09.00-15.00 น.</TD></TR><TR><TD width="69%">ห้างสรรพสินค้าฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต
    ทุกวันอาทิตย์สัปดาห์ที่สองของเดือน
    (รับบริจาคโลหิตภายในอาคารหน้าร้าน S.B. เฟอร์นิเจอร์ ชั้น 2)
    </TD><TD width="31%">
    13.00-17.00 น.
    </TD></TR><TR><TD width="69%">ห้างสรรพสินค้าซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์
    ทุกวันศุกร์และวันเสาร์สัปดาห์ที่สามของเดือน
    (รับบริจาคโลหิตบริเวณลานโยโย่ ชั้น 3)
    </TD><TD width="31%">
    13.00-17.00 น.

    </TD><TR><TD width="69%">ห้างสรรพสินค้า Big C สาขาบางพลี
    ทุกวันเสาร์สัปดาห์ที่สองของเดือน
    (รับบริจาคโลหิตบริเวณด้านหน้าห้าง)
    </TD><TD width="31%">
    13.00-17.00 น.

    </TD><TR><TD width="69%">ห้างสรรพสินค้า Big C สาขาแฟชั่นไอส์แลนด์
    ทุกวันเสาร์สัปดาห์สุดท้ายของเดือน
    (รับบริจาคโลหิตบริเวณชั้น 2 หน้าซุปเปอร์ Big C )
    </TD><TD width="31%">
    13.00-17.00 น.

    </TD></TR><TR><TD width="69%">ห้างสรรพสินค้า Big C สาขาแฟชั่นไอส์แลนด์
    ทุกวันเสาร์สัปดาห์สุดท้ายของเดือน
    (รับบริจาคโลหิตบริเวณชั้น 2 หน้าซุปเปอร์ Big C )
    </TD><TD width="31%">
    13.00-17.00 น.

    </TD></TR><TR><TD width="31%">สาขาบริการโลหิตแห่งชาติ รพ.สมเด็จพระปิ่นเกล้า

    <TD width="31%">โทร.0-2468-1116-20</TD></TR><TR><TD width="69%">สาขาบริการโลหิตแห่งชาติ สถาบันพยาธิกรมแพทย์ทหารบก รพ.พระมงกุฎเกล้า</TD><TD width="31%">โทร.0-2245-8154</TD></TR><TR><TD vAlign=top width="69%">สาขาบริการโลหิตแห่งชาติ รพ.ตำรวจ </TD><TD width="31%">โทร. 0-2252-8111 ต่อ 4146</TD></TR><TR><TD width="69%">สาขาบริการโลหิตแห่งชาติ รพ.รามาธิบดี </TD><TD width="31%">โทร. 0-2246-1057-87</TD></TR><TR><TD vAlign=top width="69%">สาขาบริการโลหิตแห่งชาติ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช </TD><TD width="31%">โทร.0-2531-1970-99 ต่อ 27109-10</TD></TR><TR><TD width="69%">สาขาบริการโลหิตแห่งชาติ วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล

    </TD><TD width="31%">โทร. 0-2243-0151-64</TD></TR><TR><TD vAlign=top width="69%">และสาขาบริการโลหิตแห่งชาติ โรงพยาบาลประจำจังหวัดทั่วประเทศ (ในวันและเวลาราชการ) </TD><TD width="31%"></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ท่านสามารถสอบถามหน่วยเคลื่อนที่อื่น ๆ ได้ที่
    โทรศัพท์ 0-2252-6116,0-2252-1637 ,0-2252-4106-9 ต่อ 113, 157
    E-mail : blood@redcross.or.th
    "3 เดือนต่อหนึ่งครั้ง รวมพลังบริจาคโลหิต"​

    **************************************​

    http://www.redcross.or.th/donation/blood_plasma.php4

    บริจาคพลาสมา(Plasma)
    คุณประโยชน์
    พลาสมาจะนำไปใช้รักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคขาดน้ำเหลือง มีอาการช็อคเนื่องจากน้ำร้อน ลวก ไฟไหม้ หรือช็อคในผู้ป่วยที่เป็นไข้เลือดออก
    วิธีการ
    เจาะโลหิตออกจากร่างกายผ่านตัวกรอง หรือตัวปั่น เพื่อทำการแยกพลาสมาออกจากเม็ดโลหิต จากนั้นส่วนที่เป็นพลาสมาจะถูกแยกส่งไปยังถุงบรรจุ ที่รองรับอยู่ ส่วนที่เป็นเม็ดโลหิตแดงไหลกลับเข้าสู่ร่างกายผู้บริจาค
    การบริจาคพลาสมา สามารถทำได้ทุก 14 วัน บริจาคครั้งละ 500 มิลลิลิตร (ซี.ซี.) พลาสมาที่ได้รับบริจาค นอกจากจะใช้ในรูปของส่วนประกอบโลหิตที่นำไปช่วยชีวิตผู้ป่วยเฉพาะโรคแล้ว ยังนำไปผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์โลหิต เช่นแอลบูมิน (Albumin) แฟคเตอร์ 8 เข้มข้น แฟคเตอร์ 9 เข้มข้น อิมมูโนกลอบบูลิน ชนิดฉีดเข้าเส้น เซรุ่มป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี และเซรุ่มป้องกันพิษสุนัขบ้า
    สถานที่ติดต่อ
    ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย
    ถนนอังรีดูนังต์ ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
    โทรศัพท์ 0-2251-3111 ต่อ 113, 114, 161, 162​
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.redcross.or.th/donation/blood_platelet.php4

    การบริจาคเกล็ดโลหิต (Single Donor Platelets)
    เกล็ดโลหิต เป็นเซลล์เม็ดโลหิตชนิดหนึ่ง มีขนาดเล็กมาก แต่มีความสำคัญต่อร่างกายอย่างยิ่ง เพราะช่วยทำให้โลหิตแข็งเป็นลิ่ม และอุดรอยฉีกขาดของเส้นโลหิตเวลาที่ถูกของมีคมบาด โดยปกติเกล็ดโลหิต มีอายุในการทำงานประมาณ 5-10 วัน ในร่างกายมนุษย์เราจะมีเกล็ดโลหิตประมาณ 1-5 แสน/1 ลูกบาศก์มิลลิลิตร ถ้ามีภาวะเกล็ดโลหิตต่ำมากจะทำให้โลหิตออกง่าย นอกจากนี้ยังมีโรคหลายโรคที่ทำให้เกล็ดโลหิตต่ำ เช่นโรคมะเร็งเม็ดโลหิตขาว โรคที่เกี่ยวกับไขกระดูกไม่ทำงาน โรคติดเชื้อบางชนิด เช่น โรคไข้เลือดออก เป็นต้น
    </B> ปัจจุบันมีผู้ป่วยเป็นจำนวนมากที่ต้องใช้เกล็ดโลหิตรักษา ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ จะเปิดรับบริจาคเกล็ดโลหิต เฉพาะที่มีการร้องขอจากโรงพยาบาลเท่านั้น มิได้เปิดรับบริจาคทั่วไปเหมือนรับบริจาคโลหิต หรือพลาสมา ทั้งนี้เพราะเกล็ดโลหิตเมื่อเจาะออกมานอกร่างกายแล้ว จะมีอายุเพียง 24 ชั่วโมง - 5 วัน ตามลักษณะและกรรมวิธีในการเจาะเก็บและต้องเก็บรักษาไว้ในตู้ซึ่งควบคุมอุณหภูมิไว้ที่ 22 องศาเซลเซียส พร้อมกับมีการเขย่าเบาๆ ตลอดเวลา

    การรับบริจาคเกล็ดโลหิต
    จะใช้เครื่องมือเฉพาะที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ผู้บริจาคเกล็ดโลหิตจะถูกเจาะโลหิตจากแขนข้างหนึ่งผ่านเข้าเครื่องแยกอัตโนมัติ เพื่อแยกเกล็ดโลหิตออกจากเม็ดโลหิตแดง เมื่อได้เกล็ดโลหิตแล้ว ส่วนประกอบอื่นๆ จะถูกคืนกลับเข้าสู่ร่างกาย ระยะเวลาในการบริจาคเกล็ดโลหิต ใช้เวลาประมาณ 1.30 ชั่วโมง

    คุณประโยชน์
    </B> เกล็ดโลหิตใช้รักษาโรคในผู้ป่วยที่มีภาวะเกล็ดโลหิตต่ำ และมีปัญหาเลือดออกไม่หยุด เช่นโรคไข้เลือดออก มะเร็งเม็ดโลหิตขาว มะเร็งต่อมน้ำเหลือง เป็นต้น

    วิธีการ
    การรับบริจาคเกล็ดโลหิต จะใช้เครื่องมือเฉพาะที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ผู้บริจาคเกล็ดโลหิตจะถูกเจาะโลหิตจากแขนข้างหนึ่งผ่านเข้าเครื่องแยกอัตโนมัติ เพื่อแยกเกล็ดโลหิตออกจากเม็ดโลหิตแดง เมื่อได้เกล็ดโลหิตแล้ว ส่วนประกอบอื่นๆ จะถูกคืนกลับเข้าสู่ร่างกาย ระยะเวลาในการบริจาคเกล็ดโลหิต ใช้เวลาประมาณ 1.30 ชั่วโมง

    คุณสมบัติพิเศษสำหรับผู้บริจาคเกล็ดโลหิต
    *หมู่โลหิตจะต้องตรงกับผู้ป่วยที่ต้องการเกล็ดโลหิต
    *เส้นโลหิตตรงข้อพับแขนชัดเจน
    *ไม่รับประทานยาแก้ปวดแอสไพริน ในระยะเวลา 5 วันก่อนบริจาค
    และควรเป็นผู้ที่บริจาคโลหิตสม่ำเสมอ
    ผู้บริจาคเกล็ดโลหิตจะไม่อ่อนเพลีย สามารถปฏิบัติภารกิจการงาน ได้ตามปกติยกเว้นในกรณีจำเป็น อาจให้บริจาคได้ทุก 3 วัน หลังจากบริจาคเกล็ดโลหิตไปแล้ว 1 เดือน สามารถบริจาคโลหิตได้ตามปกติ

    สถานที่ติดต่อ
    ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย
    ถนนอังรีดูนังต์ ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
    โทรศัพท์ 0-2251-3111 ต่อ 113, 114, 161, 162

    ****************************************************

    http://www.redcross.or.th/donation/blood_redcell.php4
    บริจาคเม็ดโลหิตแดง(Single Donor Red Cell)
    ตุณประโยชน์
    เม็ดโลหิตแดงใช้ในผู้ป่วยที่สูญเสียโลหิตจากอุบัติเหตุ การผ่าตัด หรือซีดจากมีความผิด ปกติของเม็ดโลหิตแดง เช่นโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
    วิธีการ
    1. สามารถเตรียมเม็ดโลหิตแดงได้จำนวนยูนิตมากขึ้น จากผู้บริจาคโลหิตที่มีหมู่โลหิตหายาก และไม่มีผู้บริจาคเพียงพอที่จะช่วยชีวิตผู้ป่วย ถ้าให้ผู้บริจาคโลหิตบริจาคแบบปกติ
    2. สามารถเตรียมโลหิตสำรองไว้สำหรับการผ่าตัดตนเองครั้งเดียวได้ 2 ถุง
    3. เป็นโลหิตที่เตรียมจากผู้บริจาครายเดียว เป็นการลดอัตราเสี่ยงจากการติดเชื้อจากการรับบริจาคโลหิตจากผู้บริจาคหลายๆราย
    คุณสมบัติของผู้บริจาค
    - คุณสมบัติเบื้องต้นเช่นเดียวกับผู้บริจาคโลหิตทั่วไป เช่น อายุระหว่าง 17-60 ปี ไม่มีโรคประจำตัว ไม่อยู่ระหว่างรับประทานยาต่างๆ สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง สำหรับคุณสมบัติพิเศษที่แตกต่างจากการบริจาคโลหิตทั่วไปดังนี้
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="30%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="59%">ชาย น้ำหนักมากกว่า
    </TD><TD width="41%">59 กิโลกรัม</TD></TR><TR><TD width="59%"> ส่วนสูงมากกว่า </TD><TD width="41%">155 เซนติเมตร</TD></TR><TR><TD width="59%">หญิง น้ำหนักมากกว่า </TD><TD width="41%">
     
  19. naf06

    naf06 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    577
    ค่าพลัง:
    +2,227
    [​IMG]
     
  20. MBNY

    MBNY Administrator ทีมงาน Administrator

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กรกฎาคม 2003
    โพสต์:
    6,860
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +22,504
    ขอบพระคุณพี่หนุ่ม ค่ะ ที่มาบอกรายละเอียดมากๆ

    วันนี้ไปมาถูก แถวถนนอังรีดูนัง

    เคยบริจาคดวงตาไป เมื่อตอนอายุ 25 ศูนย์ที่วัดสังฆทาน

    แต่ ย้ายบ้านมา กลัวเขาตามไม่เจอ เลยไปวันนี้ อีกรอบค่ะ
    กับดวงตาและร่างกาย อวัยวะ
    ใจอยากบริจาคเลือดด้วย ให้เป็นถุงๆ เลย
    แต่เขาไม่รับ เพราะ ตัวเล็ก น้ำหนักน้อย 38 กก
     

แชร์หน้านี้

Loading...