ตามรอยพระแม่จามเทวี วัดจามเทวี-วัดสี่มุมเมือง-เวียงกุมกาม-พระธาตุดอยน้อย และศรีจอมทอง

ในห้อง 'ท่องเที่ยว - อาหารการกิน' ตั้งกระทู้โดย :::เพชร:::, 11 มิถุนายน 2008.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ภายในวิหารจตุรมุข เป็นพระบรมธาตุเจดีย์บรรจุพระทักษิณโมลีธาตุ เป็นพระบรมธาตุแห่งเดียวที่สามารถอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุออกมาให้สาธุชนได้สรงน้ำกันปีละครั้งในช่วงวันที่ ๑๔-๑๘ มิ.ย.ของทุกปี
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    </FIELDSET>
     
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระปางอุ้มบาตรประทับรายล้อมพระบรมธาตุเจดีย์บรรจุพระทักษิณโมลีธาตุภายในวิหารจตุรมุข ด้านหลังเป็นพิพิธภัณฑ์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธรูปทองคำ และพระพุทธรูป พระเครื่องโบราณ
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    </FIELDSET>
     
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระจุฬามณีองค์ใหญ่ของวังหน้าก็อยู่ภายในพิพิธภัณฑ์พระธาตุศรีจอมทองนี้ด้วย..

    บรรยากาศยามเย็นของพระธาตุศรีจอมทอง..
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]
    </FIELDSET>
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา สร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะรับมอบพระธาตุโมคคัลลานะ และพระกรุลำพูนอายุ๕๐๐-๗๐๐ ปี
    http://palungjit.org/showthread.php?t=118352&page=67
    และ
    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    http://palungjit.org/showthread.php?t=22445&page=874

    ผมเห็นพระอุ้มบาตร ผมนึกถึงองค์นี้ ผมขออนุญาตคุณเพชรและคุณบุษฯนำมาลงให้ชมกันครับ

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
     
  5. บุษบากาญจ์

    บุษบากาญจ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    9,476
    ค่าพลัง:
    +20,271
    ร่วมอนุโมทนาในผลบุญที่ทุกท่านได้กระทำดีทั้งกาย วาจา จิต นะคะสาธุ สาธุ สาธุ พระปางค์อุ้มบาตรนี่ใช่สำหรับผู้ที่เกิดวันจันทร์หรือเปล่าไม่แน่ใจสวยแล้วดูขลังดีค่ะ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันพุธ(กลางวัน)ครับคุณบุษ

    อ้างอิง:
    ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    และตามสัญญาที่ได้แจ้งไว้ว่า หากปัจจัยที่ร่วมบุญถวายนี้ครบตามจำนวนแล้ว จะ post ภาพให้ได้ชมกันว่าพระปางอุ้มบาตรที่คุณหนุ่มบอกว่าสวยงามนั้นสวยงามยังไง และยังมีรายละเอียดปลีกย่อยอื่นที่มาเสริมให้เรื่องราวของความศรัทธาที่จะร่วมกันถวายพระปางอุ้มบาตรเหนือบุษบกนี้มีคุณค่า และเกิดบุญ เกิดอานิสงค์กันถ้วนหน้ากันมากมายเพียงนี้ ซึ่งเมื่อนำเหตุการณ์มาประมวลกันตั้งแต่วันที่แจ้งเรื่องการถวายพระปางอุ้มบาตรนี้ จนถึงเวลานี้ ผมสามารถพูดได้ว่าเกิดจากพุทธบัญชา และวาระพาไปเท่านั้น เราทุกคนไม่สามารถจะไปกำหนดอะไรได้เลยจากการเดินทางไปเชียงใหม่ลำพูนเที่ยวนี้ที่ผ่านมา

    เริ่มต้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑ มิ.ย. ๒๕๕๑ จากการที่หลวงพี่(ท่านมีญานของสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ)ที่ดูแลพระโมคคัลลานะอายุ ๕๐๐ ปีองค์นี้ท่านเห็นว่าควรที่จะประดิษฐานพระปางอุ้มบาตรเหนือบุษบกที่ประดิษฐานพระโมคคัลลานะ

    เมื่อผมได้ทราบความนี้ ด้วยความรู้สึกว่าน่าจะหาพระโบราณซักองค์หนึ่ง จึงขออาสาไปหาพระปางอุ้มบาตรโบราณองค์นี้

    ผมเชื่อว่าคุณหนุ่มสามารถจะดำเนินการจัดหามาได้อย่างแน่นอน จึงโทรศัพท์แจ้งความประสงค์ให้คุณหนุ่มทราบในบ่ายวันนั้น(อาทิตย์ที่ ๑ มิ.ย.)ทันที

    วันเสาร์ที่ ๗ มิ.ย. ๒๕๕๑ ผม และคณะอยู่ที่ลำพูนเนื่องในวาระตามรอยพระแม่จามเทวีอยู่ ขณะนั้นผมอยู่ที่วัดดอนจั่น จ.เชียงใหม่อยู่ พระอธิการอนันต์ หลวงพ่อเจ้าอาวาสวัดดอนจั่นได้กล่าวแนะนำในตอนหนึ่งว่าให้คณะเราไปที่วัดพระธาตุศรีจอมทอง ขณะนั้นในคณะยังไม่มีผู้ใดทราบความเป็นมาของวัดพระธาตุศรีจอมทองเลยว่ามีอะไรที่วัดนี้บ้าง...

    วันอาทิตย์ที่ ๘ มิ.ย. ๒๕๕๑ ประมาณ ๑๐ โมงเช้า คณะผมกำลังตามรอยพระแม่จามเทวีอยู่ที่วัดพระธาตุดอยน้อย(เป็นวัดที่มีอายุร่วม ๑,๒๐๐ ปีที่พระแม่จามเทวีเคยเสด็จมาสร้างไว้ก่อนจะเดินทางไปหริภุญไชย และเคยบวชพราหมณ์) คุณหนุ่มได้โทรศัพท์มาถึงผม และแจ้งว่าสามารถหาให้ได้แล้ว องค์พระมีความสูงมาก(ความสูงเท่าเอว) และสวยงามมาก

    วันอาทิตย์ที่ ๘ มิ.ย. ๒๕๕๑ เวลาประมาณบ่ายโมง(ก่อนเดินทางขึ้นเครื่องในช่วงบ่าย ๓ โมงครึ่ง) คณะผมกำลังได้เดินทางมาถึงวัดพระธาตุศรีจอมทอง ขณะกำลังห่มผ้าองค์พระบรมธาตุเจดีย์ประดิษฐานพระโมลีธาตุ(กระโหลกศีรษะส่วนขมับขวา)ภายในวิหารจตุรมุข ผมก็ถึงกับขนลุกขนพอง เมื่อได้เห็นพระปางอุ้มบาตรรายรอบพระบรมธาตุเจดีย์ประดิษฐานพระโมลีธาตุ(กระโหลกศีรษะส่วนขมับขวา) ซึ่งปกติวัดทั่วไปอาจจะพบเพียงพระปรำจำวันเท่านั้นที่มีครบ ๘ ปาง แต่วัดนี้เน้นพระปางอุ้มบาตรเท่าที่เห็นมากกว่า ๑๐ องค์ในพระอริยาบทต่างๆกัน ทั้งอุ้มบาตร และสะพายบาตร จึงทราบด้วยจิตว่าพระท่านทราบตั้งแต่หลวงพี่ที่ท่านได้เอ่ยแนะนำในช่วงต้นเดือนมิ.ย.แล้ว และพระปางอุ้มบาตรมากมายท่านก็มาโมทนาบุญด้วย ก็แล้วแต่ท่านผู้อ่าน ผู้ติดตามงานบุญนี้จะเชื่อ หรือไม่นะครับ ...

    ก็ขอจบบันทึกที่มาของการได้พระปางอุ้มบาตรเพียงเท่านี้ครับ..

    ขอขอบคุณคุณหนุ่ม และขอโมทนาบุญร่วมกันถวายพระปางอุ้มบาตรไว้เหนือบุษบกทุกๆประการ และขอน้อมถวายอานิสงค์การถวายพระปางอุ้มบาตรนี้แด่องค์อัครปฐมกษัตริย์แห่งหริภุญไชย บูรพกษัตราธิราชทุกๆองค์ในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แม่ทัพ นายกอง ไพร่พล ผู้คนทั้งหลายที่ปกป้องผืนแผ่นดิน อันมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ ๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และขออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลอันพึงมีพึงได้นี้แด่เทพเทวาทั่วสากลพิภพ เทพเทวาที่ได้รับการมอบหมายให้ปกปักรักษาพระกรุลำพูนทุกๆองค์ เทพเทวาที่ปกปักรักษาองค์พระปางอุ้มบาตรนี้ พระยายมราช และท่านท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ ขอพระยายมราช และท่านท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ได้โปรดโมทนาส่วนกุศลนี้ และขอพระยายมราช ท่านท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ จงเป็นสักขีพยานในการบำเพ็ญกุศลของผู้ร่วมบุญทั้ง ๒๖ รายชื่อข้างต้นนี้ในการถวายพระปางอุ้มบาตรโบราณอายุมากกว่า ๑๐๐ ปีเหนือบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะอายุ ๕๐๐ ปี ด้วยเทอญ....

    <!-- / message --><!-- attachments -->

    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]


    </FIELDSET>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nongnooo [​IMG]
    โมทนาบุญกับทุกท่านด้วยครับ มิน่าคุณหนุ่มถึงบอกเล่าโดยไม่หยุดหย่อน พระองค์นี้ไม่ธรรมดาจริงๆครับ มีรังสีแสงสีทองเหลืองอร่ามรอบองค์เลยครับ(good)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    พระบูชาองค์นี้ ผมกล้ายืนยันว่า ไม่ธรรมดาจริงๆ ในช่วงที่ผ่านมา ท่านไปที่ทำงานผม ผมเห็นอยู่ และได้กลิ่นหมาก ในบางวัน เมื่อวานนี้ผมไปอบรม ช่วงสี่โมงเย็นกว่าๆ ในขณะที่ผมยังไม่เลิกอบรม ก็ได้กลิ่นหมากเช่นกัน

    ตอนที่ท่านอยู่ที่บ้าน ได้ทั้งกลิ่นหมาก และกลิ่นดอกไม้เช่นกัน

    โมทนาบุญกับทุกๆท่านที่ได้ร่วมบุญพระบูชาพระอุ้มบาตรองค์นี้ครับ


    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  7. บุษบากาญจ์

    บุษบากาญจ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    9,476
    ค่าพลัง:
    +20,271
    ขอบคุณค่ะคุณหนุ่ม
     
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    วัดพระยืน
    ลองอ่านประวัติของวัดพระยืนแห่งนี้ดูว่ามีความเก่าโบราณ และน่าติดตามยังไงจากภาพที่ผมได้บันทึกไว้ครับ..

    และเสริมด้วยความรู้จากหลักศิลาจารึกที่ศาสตราจารย์ยอร์ธเซเดส์ได้แปลไว้ ตำนานเมืองเหนือ และหลักฐานทางสถาปัตยกรรมประกอบกันจะทราบที่มาที่ไปของวัดพระยืนแห่งนี้...


    <DL><DD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ศาสตราจารย์ยอร์ซเซเดส์ ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์ชาติตะวันออกชาวฝรั่งเศส ได้กล่าวถึงหลักศิลาจารึกของวัดพระยืนหลักนี้ว่า[/FONT] </DD></DL>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]“ในดินแดนทั้งแคว้นลานนาไทย ศิลาจารึกที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดที่ปรากฏว่าใช้ตัวอักษรไทยของสุโขทัยนั้นก็คือ ศิลาจารึกของพระมหาสุมณะเถระที่ปรากฏการขุดพบ ณ บริเวณวัดพระยืนเมืองลำพูนแห่งนี้ เนื่องด้วยพระมหาสุมณะเถรองค์นั้นได้ไปจากเมืองสุโขทัย และบางทีท่านจะเป็นผู้นำเอาแบบของตัวอักษรไทยสุโขทัย เข้าไปใช้ในลานนาไทย นับแต่นั้นมาชาวเมืองเชียงใหม่ เมืองลำพูนและเมืองอื่น ๆ ในลานนาไทยได้ใช้ตัวอักษรไทยสุโขทัยชั่วระยะหนึ่ง แต่ภายหลังเมื่อราว พ.ศ.๒๐๕๐ ชาวลานนาไทยได้เลิกใช้ตัวอักษรไทยสุโขทัย และกลับไปใช้ตัวอักษรของพวกไทยลื้อ คือไทยเมืองสิบสองปันนา จะเป็นด้วยเหตุใดไม่ทราบแน่ บางทีอาจจะเป็นเพราะเหตุที่ตัวอักษรไทยเหมือนของพวกไทลื้อมีรูปลักษณะกลมป้อมคล้ายตัวอักษรของพม่า ซึ่งภายหลังได้มีอำนาจครอบคลุมทั่วเขตแดนลานนาไทย จึงต้องเปลี่ยนแปลงการใช้ตัวอักษรให้กลมกลืนกับตัวอักษรของพม่าเป็นการเอาใจใส่ และป้องกันภัยตัวก็เป็นได้”[/FONT]
    <DD>

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ตำนานเมืองเหนือหน้า ๓๘ ได้กล่าวไว้ว่า “ในกาลต่อมาวัดพระยืนลำพูนได้ชำรุดทรุดโทรมลงไปตามกาลเวลา และเนื่องด้วยวัดพระยืนแห่งนี้ตั้งอยู่ห่างไกลจากชุมชน ศรัทธาบำรุงน้อย วัดพระยืนจึงร้างกลายสภาพเป็นป่ามีต้นไม้ใหญ่น้อยขึ้นรกครึ้มอยู่ครั้งหนึ่ง ซึ่งก็เป็นเวลายาวนานพอดู ถาวรวัตถุต่าง ๆ เช่น พระเจดีย์องค์ใหญ่ วิหาร กำแพงโดยรอบได้เกิดชำรุด โดยเฉพาะพระเจดีย์ได้ปรักหักพังลง วัดพระยืนที่เคยสง่างามก็ถึงการเสื่อมโทรมเป็นอย่างมาก จนกระทั่งถึงการสมัยของพลเจ้าหลวงอินทยงยศ เจ้าผู้ครอบนครลำพูนองค์ที่ ๙ ในปี พ.ศ.๒๔๔๓ เจ้าหลวงได้เข้าไปดู และพิจารณารอบ ๆ บริเวณของวัดพระยืน ได้เห็นความเสื่อมโทรมของวัดก็รู้สึกสลดใจ ในความเป็นอนิจจัง ไม่เที่ยงไม่ได้ ท่านได้ให้สล่าคือช่างชาวพื้นเมืองทำการก่อเสริมพระปรางค์เป็นรูปทรงประสาทขนาดใหญ่ ครอบสร้างพระพุทธรูปอัฏฐารสองค์เดิมทั้ง ๔ ทิศไว้ภายในพระเจดีย์ และให้บรรจุพระธาตุ เครื่องบูชาต่างๆที่ศักดิ์สิทธิ์อันขุดพบระหว่างการบูรณะปฏิสังขรณ์ไว้ภายในพระเจดีย์ตามเดิม แล้วให้สร้างพระพุทธรูปยืนสูง ๙ ศอกไว้ภายนอกในซุ้มทั้ง ๔ ขององค์พระเจดีย์ให้ดูเห็นเด่นเป็นสง่าแก่ศักดิ์ และศรีของวัดพระยืน ดังที่ปรากฏให้เห็นเช่นปัจจุบัน[/FONT]
    <DD>

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ในหนังสือสถาปัตยกรรมในประเทศไทย ได้เขียนเล่าว่า พระเจดีย์ที่เจ้าหลวงอินทยงยศได้สร้างทับของเดิมลงไป ที่ปรากฏให้เห็นในปัจจุบันนั้น ไม่ใช่เป็นลักษณะของทรงปราสาท หรือพระปรางค์แบบกู่กุด หรือสุวรรณเจดีย์จังโกฏที่วัดจามเทวีลำพูน แต่รูปแบบส่วนใหญ่ของพระเจดีย์วัดพระยืนนั้น เป็นแบบทรงมณฑปตามแบบของอานันทเจดีย์ของเมืองพุกาม ประเทศพม่า หรือมีลักษณะคล้ายคลึงกับพระเจดีย์หลวงของวัดเจดีย์หลวงกลาง เมืองเชียงใหม่ หากพิจารณาโดยถ่องแท้แล้ว ศิลปของเจดีย์วัดพระยืนที่เป็นอยู่ก็มีลักษณะเป็นจริงดังที่กล่าวมานั้น[/FONT]
    <DD>

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ปัจจุบันวัดพระยืนในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ นี้ยังคงเป็นวัดที่สงบเงียบ ศรัทธาไม่มากนักแม้จะมีสถานที่ราชการเช่นที่ว่าการอำเภอเมืองลำพูนที่ทำการสรรพากรจังหวัดลำพูน ที่ทำการประมงจังหวัด เข้าไปตั้งอยู่ใกล้กับบริเวณวัดพระยืนก็ตาม วัดพระยืนแห่งนี้ก็ยังคงความเข้มขลัง และร่วมรื่นเย็นใจ ในความเป็นธรรมชาติและกระแสธรรมของพระพุทธศาสนาโดยแท้ วัดพระยืนลำพูนมีพระบุญญรัตน์ ปัญญวุฒโฑ เป็นเจ้าอาวาส มีพระภิกษุ ๔ รูป สามเณร ๑๓ รูป[/FONT]
    <DD>

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดพระยืนลำพูน ในปัจจุบันเป็นรูปวัดยุคใหม่ เป็นวัดโบราณที่ได้รับการพัฒนาอย่างถูกต้อง และสมบูรณ์อย่างที่สุด จัดได้ว่าเป็นวัดที่มีชื่อเสียงและเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งการเสาะแสวงหาธรรมะอันเป็นบุญกุศลทางใจ ได้อย่างเต็มเปี่ยมโดยแท้[/FONT]
    <DD>

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]มีผู้ที่สงสัยและถกเถียงกันบ่อยครั้งว่า มหาพลเจดีย์นั้นน่าจะเป็นเจดีย์กู่กุดหรือ สุวรรณเจดีย์จังโกฏที่ประดิษฐาน ณ วัดจามเทวีลำพูน เพราะหมู่บ้านโดยรอบที่ตั้งของพระเจดีย์กู่กุดนั้นถูกเรยกว่า “หมู่บ้านสันมหาพน” ฟังดูแล้วน่าจะเป็นที่ประดิษฐานของเจดีย์มหาพลองค์ดังกล่าว แต่หากจะพิจารณาถึงตำนานต่าง ๆ ที่บันทึกไว้อย่างละเอียดแล้ว เจดีย์กู่กุดหรือสุวรรณเจดีย์จังโกฏนั้น เป็นที่บรรจุพระสรีระอังคารพร้อมด้วยเครื่องทรงซ้องผม และหวีของพระนางจามเทวีรวมทั้งเครื่องประดับอื่น ๆ ทั้งสุวรรณเจดีย์จังโกฏก็ตั้งอยู่ในทางทิศตะวันตกของเมืองลำพูนดังตำนานว่าไว้อย่างถูกต้อง การที่หมู่บ้านบริเวณโดยรอบของวัดจามเทวีได้ชื่อว่า หมู่บ้านสันมหาพลนั้นเป็นเพราะว่า หลังจากที่ชาวกำโพย์ หรือชาวละโว้ที่พ่ายแพ้ศึกแก่ชาวเมืองหริภุญไชย(ชัย)และทั้งสองฝ่าย ก็ได้ร่วมมือร่วมใจกันสร้างเจดีย์มหาพลทางทิศตะวันออกของเมือง โดยส่วนใหญ่ของบรรดาทหาร ชาวกำโพย์ต่างเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้ากับการศึก และต้องใช้เวลาในการก่อสร้างพระเจดีย์เป็นเวลาหลายวันหลายเดือนประกอบกับความอุดมสมบูรณ์ และความมีน้ำใจของชาวหริภุญไชย(ชัย) พวกเขาจึงไม่คิดที่จะกลับไปยังบ้านเกิดของตน คือเมืองละโว้ต่างได้ขออยู่อาศัยเป็นชาวเมืองหริภุญไชย(ชัย)ต่อไป กษัตริย์หริภุญไชย(ชัย)จึงโปรดให้ชาวเมืองละโว้ทั้งหมดไปอาศัยอยู่ ณ บริเวณทางทิศตะวันตกของเมือง และให้จัดตั้งนายบ้านชาวละโว้เป็นผู้ควบคุมดูแลในนามของ “แสนมหาพล”นายบ้าน” ต่อมาหมู่บ้านแห่งนี้จึงถูกเรียกกันว่าบ้านแสนมหาพล และต่อมาได้ฟื้นกลายมาเป็นหมู่บ้าน สันมหาพลจวบจนปัจจุบัน อันความสำคัญของพระสุมณะเถรสำหรับพุทธอาณาจักรของลานนาไทยในสมัยพระเจ้ากือนามีมากมายเอนกประการทั้งนี้ พระสุมณะเถระ และพระเจ้ากือนาได้ร่วมกันเป็นผู้จุดประกายไฟแห่งพระพุทธศาสนา ฝ่ายอรัญวาสี ที่เริ่มต้นจากวัดพระยืนลำพูน ซึ่งเปรียบได้เสมือนตักกศิลาแหล่งวิชาการอันสำคัญของพระพุทธศาสนาแห่งยุคให้ขยายความรุ่งโรจน์โชติช่วงชัชวาล มีความเจริญรุ่งเรืองอย่างที่สุดในลานนาประเทศ โดยมีวัดพระยืนลำพูนเป็นแกนหลัก ได้มีการบวชเรียน และส่งเสริมการศึกษาให้แก่บรรดากุลบุตรทั่วทั้งลานนาประเทศให้เข้าบวชเรียนศึกษาหาความรู้ในทางพระพุทธศาสนากันอย่างมากมาย[/FONT]
    <DD>

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระพุทธศาสนาได้ลงหลักปักมั่น และแผ่กิ่งก้านสาขาเติบโหญ่ออกไปอย่างมากมายในยุคต่อมา ซึ่งถือว่าเป็นยุคทองแห่งพระพุทธศาสนาของลานนาประเทศ คือยุคสมัยของพระเจ้าแสนเมืองมา สืบต่อมาจนถึง รัชสมัยของพระเจ้าติโลกมหาราชที่ถือว่าพระพุทธศาสนาได้บรรลุถึงความเจริญอย่างสูงสุดของประวัติศาสตร์แห่งลานนาไทย ซึ่งยุคนี้ที่มีความเจริญอย่างสูงสุดของประวัติศาสตร์แห่งลานนาไทย ซึ่งยุคนี้ที่มีความเจริญในทุกด้านทั้งความแข็งแกร่งของบ้านเมือง ความอุดมสมบูรณ์และความเป็นอยู่ของชาวบ้านชาวเมืองที่อยู่เย็นเป็นสุขมีความเจริญทางศิลปวิทยาการต่าง ๆทางวรรณคดี วรรณกรรม สถาปัตยกรรมต่าง ๆ ได้มีการสังคายนาจัดการพระไตรปิฎกให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ และถูกต้อง เป็นครั้งที่ ๘ ของโลก ณ วัดมหาโพธารามวิหาร หรือวัดเจ็ดยอดในปัจจุบัน ความเจริญแห่งพระพุทธศาสนาของลานนาของประเทศในช่วงเวลานี้ เป็นผลพวงจากการที่พระสุมณะเถระ และพระเจ้ากือนาได้ร่วมกันเป็นกำลังสำคัญในการปูทางลงรากปลูกฝังให้พระพุทธศาสนาได้หยั่งรากแผ่กว้างออกไปได้อย่างเรียบร้อยหมดจดงดงามเป็นอย่างยิ่ง[/FONT]
    <DD>

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระสุมณะเถรได้รับการสถาปนาให้เป็นพระสังฆราชาแห่งอาณาจักรลานนาไทยเป็นพระองค์แรก ในนามของพระสุมนสุวัณณรัตนมหาสวามี ครั้งหลังสุดท่านประทับอยู่ ณ วัดสวนดอก หรือวัดบุปผาราม มีอำนาจปกครองพระสงฆ์ฝ่ายอรัญวาสี วัดสวนดอกเชียงใหม่ในครั้งนั้นเป็นพระอารามหลวงที่สำคัญ และเป็นวัดที่ประทับของพระสังฆราช สังฆมหาสวามี พระสังฆราชองค์นี้ยังได้เป็นกำลังสำคัญร่วมกับพระเจ้าแสนเมืองมาพระโอรสของพระเจ้ากือนา สร้างองค์พระเจดีย์หลวงตามพระดำริของพระเจ้ากือนาผู้เป็นพระราชบิดาซึ่งได้สวรรคตไปก่อนจะแล้วเสร็จสมบูรณ์[/FONT]
    <DD>
    <DD>
    สำราญ กาญจนคูหา พิม[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์พลเมืองเหนือ [/FONT]


    </DD>
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    </FIELDSET>
     

แชร์หน้านี้

Loading...