ภาพข่าวหลวงพ่อเงินปืนแตก ปี 2522
คุณขอมา...จัดไป....เดี๋ยวขอเวลาค้นหาก่อน
ตามรอยหลวงพ่อเงิน พุทธโชติ (กลุ่มหลวงพ่อเงิน)
ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย เจ๊ตุ้ม, 16 มกราคม 2013.
หน้า 16 ของ 459
-
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
แนวทางดูปืนแตก ปี22
-
อ้าว..ร้อนเลย รูปไม่ขึ้น ..เอาใหม่
-
อัพใหม่ ปืนแตกปี22
คราวนี้คงขึ้นครบนะไฟล์ที่แนบมา:
-
-
-
ขอบคุณพี่เจ๊ตุ้ม กับพี่ bhothale สำหรับความรู้ครับ
-
-
-
ฝากวิเคราะห์ด้วยครับ คู่แฝด
เพิ่งนิมนต์ท่านมาเมื่อ ประมาณกลางปีที่แล้วครับ
หลวงปู่ผมเองวิเคราะห์ได้เต็ม กำลังเลยครับ
+++++++ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
ครับ จากโลหะที่เริ่มตาย พิมพ์ทรางที่ไม่ล้อพิมพ์หลัก ส่วนตัว
มองเป็นพระแท้ยุคหลังๆครับ ทองประกาย เสียดตาเลยครับ :) -
เกล้ดกะดี่แบนี้นะครับได้ไม่หลงเห็นกะแสโลหะเรียกเป็นเกล้ดกะดี่อิอิ
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
สวัสดีครับ
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
เราเคยรู้จักกันมาก่อนป่าวค่ะ
ฉันเคยทำความเดือดร้อนให้คุณป่าวค่ะ แล้วคุณมาทำร้ายฉันทำไม
ไม่เฉพาะบุหรี่นะครับ เหตุการณ์อื่นๆ ก็มีที่ทำร้าย ทำความเดือร้อน และสร้างความรำคาญให้แก่คนที่ไม่รู้จักคุณ
[ame=http://www.youtube.com/watch?v=jzCnMCYuZAs]บุหรี่ทำร้ายคนใกล้ชิด - YouTube[/ame] -
-
-
มาเพิ่มอีกครับ ...บางรูปสีอาจเพี้ยนไปหน่อย
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
สวัสดีทุกท่านครับ :):cool:
-
รูปหล่อหลวงพ่อเงิน ปี 15
การแสดงความคอดเห็นนั้น เป็นเพียงแนวทางในการพิจารณาความแท้ หรือไม่แท้ ของพระเครื่องต่างๆเท่านั้น..บางครั้งการที่เราจะเชื่อข้อมูลในการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก ที่ร่วมแสดงความคิดเห็นมา ก็เป็นเรื่องธรรมดา ในทัศนะของสมาชิกแต่ละท่าน...ท่านไหนจะมีข้อมูลที่ระเอียด เด่นชัดเพียงใด แล้วที่มาของข้อมูล และ มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด..ส่วนตัวผมขออนุญาตออกตัวเลยว่า ผมไม่ใช่เซียน เป็นแค่นักสะสมมือใหม่เท่านั้นเอง...ทีนีมาเข้าเรื่องกันดีกว่า
***** ตามข้อมูลที่ผมพอจะมีอยู่ว่า...พิธีมหาพุทธาภิเษก พระหลวงพ่อเงิน ปี 15 บันทึกไว้ว่า การลงอักระแผ่นโลหะที่นำมาเป็นชนวนเนื้อพระ ได้มาจากพระคณาจารย์ที่มีชื่อเสียงจากทั่วประเทศ จำนวน 74 รูป นำไปหลอมและปั๊มเป็นรูปเหมือน และเหรียญ แล้วนำไปเข้าพิธีปลุกเสก ณ วัดสุทัศน์ในวันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2514 โดยนิมนต์พระคณาจารย์จากทั่วประเทศรวม 127รูป จากนั้นได้นำไปเข้าพิธีปลุกเสกอีกครั้ง ณ วัดหิรัญญาราม เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2515 โดยมีพระคณาจารย์ร่วมพิธี 96 รูป
***** ลักษณะรูปเหมือนปั๊ม หลวงพ่อเงิน บางคลาน ปี 15 เป็นรูปเหมือนปั๊มแบบปั๊มเครื่อง ด้านในองค์ บรรจุเม็ดกริ่ง ฐานกว้างประมาณ 1.8 ซม. สูงประสาณ 2.5 ซม. มีด้วยกัน 2 เนื้อ คือ เนื้อทองเหลือง
และเนื้ออัลปาก้า
***** ด้านหน้า เป็นรูปหลวงพ่อเงิน นั่งสมาธิบนฐานเขียงเตี้ยๆ คล้ายกับรูปหล่อหลวงพ่อเงินยของเก่า แต่เนื่องจากเป็นพระ"ปั๊ม" จึงปรากฏรายละเอียดต่างๆ คมชัด มีเส้นจวรที่หน้าอก 3 เส้น และเส้นชายจีวรที่ซอกแขนซ้ายรวม 7 เส้น
***** ใต้ฐาน จะทำการตอกโค๊ต "๑๔/๑๕ แต่เนื่องจาก...ทำการตอกโค๊ตไปเรื่อยๆ ทำให้โค๊ตเกิดความเสียหาย ฉะนั้น รูปเหมือนปั๊มรุ่นนี้ ในบางองค์จะมีโค๊ต บางองค์ไม่มีโค๊ตตอกไว้ เพราะโค๊ตพังแล้ว นั่นเอง
***** จุดพิจารณา รูปเหมือนปั๊ม หลวงพ่อเงิน ปี 15 พิมพ์คอแอล *****
1. ในระหว่างแก้ใขวาองค์พระ และใบหูขวา จะปรากฏเม็ดกลมเล็กๆ ลักษณะเหมือน "เม็ดสิว"
2. ลำคอด้านขวาองค์พระ แตกเป็นเส้นตรง ตั้งฉาก เหมือน "ตัวแอล" เป็นเอกลักษณ์ของพิมพ์
3. ลายเส้นจีวรเส้นกลาง จะแตกอกเป็น 2 แฉก
4. มี "ติ่ง" แหลม วิ่งขึ้นจากแข้งขวา ตรงแนวเส้นสบง
5. มีร่องแตกเป็น 2 แฉก บริเวณโหนกแก้มซ้ายองค์พระ ใกล้จมูก
6. มี " เส้นแตก" ตัดเป็นรูปกากบาท ในร่องหูซ้ายองค์พระ
7. ในซอกแขนซ้ายองค์พระมี "เส้นนูน" พาดเฉียงขวางอยู่
ขอบพระคุณเจ้าของภาพและข้อมูลครับ -
สวัสดีครับ ทุกท่าน สายๆอย่างนี้ แอบมาศึกษาต่อยอด เรื่องเกร็ดกระดี่ เพิ่มเติมครับ(ความรู้ย่อมมีการพัฒนาการครับทฤษฎี บางทฤษฎี ถูก ลบด้วยทฤษฎีอีกหนึ่งทฤษฎี...แต่ถ้าเราศรัทธา ทฤษฎีทหลายๆทฤษฎี บางครั้งก็มีความสำคัญด้อยกว่า เพียงแต่ต้องศรัทธาควบคู่ไปกับการใช้ปัญญาใตร่ตรองอย่างมีเหตุผล)
อย่างผมเริ่มศึกษาหลวงปู่ จุดมุ่งหวังแรก /ใช่หลวงปู่ไหม/ ถ้าใช่ก็ต่อยอด...พิมพ์ใด...เมื่อรัย...ทันไหม...นี่คือเสน่ห์ของความศรัทธา ...มาได้กระทู้พี่ๆ สายกลางหลวงปู่ไม่ใช่แค่ เซี่ยนเขาเล่นหากัน มีหลายวาระ อย่างน้อยก็ สาม/ มีพิมพ์ชาวบ้าน/มีพิมพ์โน้นพิมพ์นี้ พิมพ์นั้น/พระอาจารย์ลูกศิษย์สร้าง อีก/โดยมี หลักการว่า ถ้าทันยุคหลวงปู่อายุก็ต้องอย่าง น้อย 100ปีขึ้นไป
แล้วไอ้ 100 ปีขึ้นไปนี่โลหะมานจะเก่าแค่ไหน นี่ คือโจทย์
1. ทองเหลื่องเก่า มันแห้งแห้งอย่างไร
2. แล้วการหล่อโบราณ นี่ มันมีโลหะชนิดเเดียวหรือไม่/ถ้าไม่ มันผสมกันอย่างไร/โลหะแต่ละชนิดมันร้อนเย็นหลอมละลายต่างกัน เซตตัวแล้วรวมกันได้ไหม แล้วผลมันเป็นอย่างไร
3.ความร้อนที่ได้ มันมีเครื่องควบคุม องศาได้สม่ำ เสมอ/หรือใช้แรงงานญาติโยมที่มีจิตศรัทธา องศาไม่สม้ำเสมอ/
4.หล่อเสร็จเอาเบ้าประกบออก/เอาก้านชนวน ออก/ก้านช่อใหญ่เล็ก อีกลูกบอล/ลูกรักบี้/สิ่งที่มันเกินละทำอย่างไร/ตัดช่อตัดอย่างไร แต่งตะเข็บแต่งอย่างไร/ล่องรอยการแต่งมันต้องลดความคม ตามกาลเวลามันล้ม มี มีรอยแต่งตะไบ/ตะไบถี่ ตะไบห่างห่างมากก็บุ้ง/แทงกลับไปกลับมา 1-2คงไม่มากกว่านี้/หรืออายุ 100 ปี มีรอยวงเดือนโค้งสวยจับจิต...
แล้วรอยล่ะมันไปไหน/ ...อยู่ แต่มานก็ต้องสึกไปตามกาลเวลาเกิดคราบสนิม ปฏิกิริยาอ็อกซิเดชั่น/พลาสม่าจากเหงื่อฉาบผิวลดความคมของรอยนั้นๆ
5.สนิม 100ปี มาอย่างไร โลหะอะไร /ทอง ออกแดง /ทองแดง ออกเขียวหยก/เงิน ออกดำ_ตีนกา ...แต่มานต้องมาจากเนื้อในตนไม่ใช่ฉาบผิวแต่งสวย...
...ทั้งหมดนี้สิ่งนี้ ผมเรียกว่าทฤษฎีสายศรัทธา...ไร้วนิชา...ศรัทธาล้วนๆ...แต่เมือได้ครอบครองหลวงปู่มากพอแล้ว ก็แบ่งปันกันด้วย กัลลยาณมิตร...จิตรอันเป็นกุศล...เช่นเดี๋ยวกันกับองค์ความรู้เรื่องหลวงปู่ ไม่ว่า สายแข็ง สานยกลาง สายอ่อน สายหวาน... ผมว่านะ
สุดท้ายเราก็มีความสุขในการเคารพบูชาในองค์หลวงปู่ ทั้งสิ้น...
-----
**** อิอิ หรือผมเริ่มจะแก่ลงแล้ว....พอขึ้นเลข 4 เป็นงี้ทุกคนหรือ ปล่าวครับท่าน
***ส่วนจะมีเกร็ดกระดี่ เกร็ดพิมพ์เสน เกร็ดชาละวัน เกลื่อน กลาก ดอกหมาก เป็นองค์ประกอบหลังสุด และก็ไม่ได้คิดเวลาที่นำกล้องลงส่องหลวงปู่...เป็นอย่างนี้ จริงๆ ครับท่าน
ถ้ามีก็ตามุ้ง(ตามุ้งนี่ประดิษฐ์ขึ้นมาได้้นะครับ เดี๋ยววันหลังจะแนะนำ จะได้ มือไม่พอง เยี่ยงผม ในอดีต)
----วันนี้เลยมาขอต่อยอดเคร็ดวิชาว่าด้วยเกร็ดกระดี่เผลอๆมีวาสนา อะครับ
เป็นความคิดเห็นส่วนตัวล้วนๆครับ p_som
หน้า 16 ของ 459