หวัดดียามบ่ายครับพี่modpongและสมาชิกทุกท่าน
ผม...พระ...และ...สาระยุคก่อน
ในห้อง 'ประสบการณ์ เรื่องเล่า' ตั้งกระทู้โดย modpong, 8 พฤษภาคม 2010.
หน้า 218 ของ 364
-
-
...ตอนนี้..นักเรียนเพิ่มมาอีก เป็น ๕๒
...เนื้อเรื่องตอนนี้..และหลังไป..อาจจะต้องปวดกบาล..ทำความเข้าใจยากหน่อย..แต่หวังว่า..ถ้าตั้งใจ..คงจะเข้าใจได้.....
........................................................
............................................................
.............สัดส่วน......................
....สัดส่วนในที่นี้..หมายถึง..ปริมาณ..มวลสารที่ไม่ละลายหรือ..ปนเป็น..ส่วนเดียวกับเนื้อ..
...อย่างที่..ผมเล่าไป..ตอนที่แล้วถึง..มวลที่มี..การดูดซับ..และ..คายน้ำออกได้เร็ว..อย่างนึง
..เมื่อด้านข้าง..ถูกตัดใหม่ๆ..ถ้า..มีพวกนี้อยู่..ค่อนข้างเยอะ(..จริงๆ..มันก็ไม่เยอะ..หรอก..
แต่..ผม..จะ..เปรียบเทียบ..กับ..พระที่องค์..ที่มีมวลสารแบบนี้..น้อยกว่า..)..ก็จะทำให้ผิว..
ด้านข้างนั้นๆ..คายน้ำได้เร็ว..หรือ..จะแห้งเร็ว..กว่า..องค์ที่มีน้อยกว่า..เช่นกัน..พวก..เม็ดปูน
ที่หลุด..ไป..สร้างโพรง..ถ้ามัน..ทำให้เกิดโพรงขึ้น..หลายตำแหน่ง(ไม่จำกัด..แค่..เม็ดปูน..แต่
เป็น..มวลสาร..อะไรก็ได้..ที่หลุดไป..ทำให้เกิดโพรงด้วย..)..ผิวที่ไม่เรียบ..พื้นที่สัมผัส..อากาศ
..ลม..มีมาก..มันก็จะทำให้แห้ง..เร็ว..กว่า..องค์ที่..มวลสาร..หยาบมีน้อยกว่า.....นั่นคือที่มา..
.........เป็นองค์ประกอบ..หนึ่ง..ที่ทำให้..ด้านข้าง..ของแต่ละองค์..จึงแตกต่างกัน..คือ..นอกจาก
จะ..พรุน..แตกต่างกัน..ยัง..มีส่วนทำให้เกิดการ..ปริ..(ที่เกิดจาก..การแห้ง..อย่างเร็ว)ต่างกันด้วย
......มัน..ก็เลย..ต่อเนื่อง..มาเข้าที่..
...ความแห้งมาก..แห้งน้อย...
.......ส่วนนี้..ก็..เป็นไปได้..ตั้งแต่ต้น..จากการผสม..ซึ่ง..นักเรียนต้องทราบว่า...
พระต้นแบบนี้..ทำเป็น..จำนวนมากมาย..มหาศาล..เกือบ..เก้าหมื่นองค์.....
ใช้..คนล้วนๆ..และ..ไม่มีเครื่องจักรกล..อะไรมาช่วย..การผสม..ย่อมต้องทำ
กัน..หลายครั้ง..หลายรอบ..เรื่อง..การตวงวัด..ก็คงไม่น่าจะ..เป๊ะ..อะไรมาก
เพราะ..ไม่จำเป็น..หรือ..แม้กระทั่ง..การกวน..การผสม..กี่ครั้ง..กี่รอบ..ก็คง
ใช้..การกะๆ..เอา..จากสายตา..ของผู้ชำนาญ..ทำไป..แรกๆ..ก็อาจจะได้...
ใกล้เคียงกัน..ทำไปหลายๆครั้ง..ก็ชักเกิดที่..เราเรียกกันภาษาฝรั่งว่า...
HUMAN ERROR..เป็นความผิดพลาดที่..เป็นธรรมชาติมนุษย์.....แถม...
ภาชนะ..ที่ยิ่งโต..ความเข้มข้น..หรือ..ส่วนผสมที่กระจายอยู่..ก็ยิ่งไม่เท่ากัน
เป็น..หลักการปกติ...ตักเอาไปเทพิมพ์..แรกๆ..ก็เหลวหน่อย..ใช้เวลานาน..
น้ำก็ระเหยไป..เรื่อยๆ..ไอ้ที่เหลือก้น..ก็จะแห้ง..และ..หนืด..กว่า..แรกๆเยอะ
...ฯลฯ...เหล่านี้..จึงมีส่วน..ทำให้...เนื้อพระ..ที่หยอดลงใน..แม่พิมพ์..จึงมี..
ความแห้ง..หรือจะเรียกว่า..ความข้น..แตกต่างกัน..นั่นเอง...
.........พอมาถึงขั้นตอน..ตรวจสอบ..ว่า..พระมีความแข็ง..พอที่จะ..ปาดหลัง..
และ..ตัดข้าง..หรือ..ยัง..นอกจากจะใช้..การกะเวลา..ที่ใกล้เคียงกัน..ก็อาจจะ
ใช้...นิ้วลองกดดู...ก็เช่นกัน..การตรวจสอบ..มาจากความชำนาญของมนุษย์
แล้ว..คิดดูว่า..พระจำนวนขนาดนี้..จะใช้เวลามาก..ขนาดไหน..แล้วใช้คนๆเดียว
ใน..การตรวจสอบ..ยิ่งเป็นไปไม่ได้..คนแต่ละคน..ก็ย่อมมีความแตกต่างกัน..
เหมือน..พ่อครัว..มาชิมอาหาร..เอามาสิบคน..คนนี้บอกเติมเกลือหน่อย..คนนี้
บอก..ต้องเติมน้ำตาลหน่อย...อะไรทำนองนี้ละครับ....................
...........................ต่อตอนหน้าครับ......................
-
.............
.....ที่มา..ที่ไป...แล้วทำ(เอง)ยังไงละ
................................................
...............................................
.........................................................
...ก่อนอื่น..เรามาทราบประวัติความเป็นมา..การเดินทาง..ความเปลี่ยนแปลง
...ของมันหน่อย..เพราะเด็กรุ่นใหม่..รวมถึงรุ่นกลาง..หลายคนมาก..ยังไม่ทราบ
.........ตามที่ผมคาดเอา..น่าจะเกิด..มาจาก..พวกที่ประกอบอาชีพ..ทำป้าย...
เพราะ..ตั้งแต่เริ่ม..มีผลิตภัณฑ์อคริลิก..ที่รู้จักกันในไทย..ร่วม ๕๐ ปีมาแล้ว..
...มันเหนือกว่า..พลาสติก..ในทุกทาง..เพราะ..นอกจากจะมีความเหนียว..
ไม่เปราะแบบ..พลาสติก...ยังสามารถตัดเลื่อยได้สะดวก..ด้วยเลื่อยฟันถี่..
อย่าง..เลื่อยการฝีมือ..มันยังมีสารพัดสี..ทั้งใส..และขุ่น..รวมทั้งเหลือบ...
มีความหนา..หลายขนาด..ข้อสำคัญ..ช่างฝีมือ..ยังสามารถ..ต่อติดมันเข้าด้วยกัน
ด้วย..ตัวเอง...ซึ่งพลาสติกทำได้ยาก..ดังนั้น..ยุคก่อนโน้น..จึงเริ่มเห็นมีร้าน..
รับทำป้ายด้วยอครีลิคกัน...ป้ายอะไรก็ได้..ตามสั่ง..ที่เฟื่องมากยุคผมเป็นเด็ก
...ก็..คือ..ป้ายบ้านเลขที่...เพราะสมัยก่อน..มัน..แผ่นสังกะสีชุบ..พื้นสีน้ำเงิน...
ตัวหนังสือ..สีขาว..เขาขายกัน..เป็นตัวๆแผ่นเล็กๆ..และเจาะรูไว้ด้วย ๒ รู..ถึงเวลาติดก็
สะดวก..เพราะสมัยก่อน..รั้วบ้าน..ประตู..มันเป็นไม้..แค่เอาตะปูตอกเข้าไป
เรียงตัวเลข..ตามเลขที่..ก็เสร็จ...บ้านไหน..ก็เป็นอย่างนี้..ไม่ว่า..ในพระนคร
หรือ..ต่างจังหวัด..............มันก็น่าเบื่อไง..ไม่มีสีสรร..พอมีพวกรับจ้างทำป้าย
เกิดขึ้น...โอ้โห..ยังกะมหกรรม..งานที่รับแต่ละวัน..ก็ทะเบียนบ้านนี่แหละ..
เป็นหลัก..รวยกันเละ..ร้านเกิดกันมากมาย...สนามหลวง(จตุจักร..สมัยโน้น)นี่
มีไม่รู้กี่เจ้า..และกระจาย..ออกไปตาม..หัวเมืองอย่างรวดเร็ว....
..............ไอ้ที่ผมพูดว่า..มันต่อติดด้วยกันสะดวก..ก็เพราะ..เขาผลิต..น้ำยา
เชื่อมต่อ..อคริลิค..มาด้วยตั้งแต่แรก...ตั้งแต่ยุคแรก..จนถึงปัจจุบัน...แหล่ง
จำหน่าย..แผ่นอคริลิกที่เป็น..ศูนย์กลาง..ก็..คือ..วงเวียน ๒๒ กรกฎาคม...
...ยุคก่อน..ไม่มีร้านมาขายย่อยอย่างในปัจจุบัน..ใครจะซื้อ..ทั้งน้ำยาเชื่อม..
และ..ตัวแผ่น...ก็ต้องไปที่นั่น..ทั้งนั้น
..............น้ำยาเชื่อมอคริลิค...นั้น..เป็น SOLVENT ...คือ..ตัวทำละลาย....มัน
จะทำให้ผิว..อคริลิค..ที่สัมผัสมันละลาย..เมื่ออคริลิคละลาย..แล้วถูกอัดให้
มันแนบ..ไม่ได้สัมผัสอากาศแล้ว..มันก็จะเริ่มคืนสภาพ..และเชื่อมติดกัน..
...............เพียงแต่..คุณสมบัติของมัน..ตรงจุดเชื่อมนั้น..มันจะด้อยกว่า..ตัว
เนื้ออคริลิค..จริงๆ..เล็กน้อย..(ซึ่งจุดนี้...มีความสำคัญ..ผมจะพูดถึงอีก..
หลายครั้งในภายหลัง)...แต่มันก็..เพียงพอแล้ว..จะทำให้เสมือน..มันเป็น
ชิ้นเดียวกันได้...น้ำ..ก็ทำอะไรไม่ได้..ไม่กลัวน้ำ.....
.........ถ้าจะเปรียบ..ก็เหมือน..น้ำยาต่อท่อ PVC...ซึ่ง..มันก็เป็นตัวทำละลาย
เช่นกัน..เมื่อติดดีๆ..มันถึงได้เหนียวคงทน..เพราะมันก็สมานเป็นเนื้อเดียวกัน
แต่ฉันใด..ก็ฉันนั้น..คุณสมบัติที่จุดต่อนั้น..ก็จะลดลงกว่า..เนื้อPVC..แท้ๆเล็ก
น้อย...............
...................................ต่อตอนหน้าครับ.......................................... -
มาเก็บเกี่ยวความรู้รอบดึกค่ะคุณลุง เป็นกำลังใจให้คุณลุงและผู้ร่วมศึกษาทุกๆท่านค่ะ ขอบคุณค่ะ
-
มารับการบ้านรอบเ้ช้าครับอ้ายมด
ซำบายดีวันเสาร์แห่งชาติครับผม:cool: -
สวัสดีคับ ไม่ใด้เข้ามาอ่านหลายวัน
เนื้อเรื่องไปใกลเลย ต้องค่อยๆอ่าน
ช้าๆ ที่ละหน้า สารภาพเลย ว่าบางหน้าต้องอ่าน
สองถึงสามรอบครับ สมองไม่ไป
รอติดตามตอนต่อไปครับ -
มาเกาะติดครับ
-
ในแต่ละตอน..คือ..ถ้ามันง่าย..ป่านนี้..ทั่วไปก็
คง..เข้าใจกันหมดแล้ว..ตอนผมทำความเข้าใจว่ายากแล้ว..ไอ้ที่ผมจะต้อง
แปลความเข้าใจของตัวเอง..มาถ่ายทอดให้คนอื่นยิ่งสาหัส..กว่านั้นอีก...
.......เพราะผมไม่เคยเป็นครูบาอาจารย์...เรื่องอื่นๆที่ผ่านมา..มันไม่ถึงครึ่ง
ของเรื่อง..ขอบพระสมเด็จ..ในครั้งนี้...ก็อย่าไปเครียดมากแล้วกัน.... -
สาธุๆ
วันนี้ว่างหน่อยเลยมาส่งการบ้านครับอาจารย์ลุง ผมหาเจอแต่เหรียญ 5 ดูแล้วพบจริงๆ ไม่คิดว่าขนาดเงินตราที่ใช้ในราชการยังมีจุดให้สังเกตุได้อีก ^^!
สมแล้วที่เป็นอาจารย์ลุง อะไรที่คาดไม่ถึง อาจารย์ลุงเปิดหูเปิดตาให้ผมซะโล้งเลย ^_^ -
-
..เอ้า..นักเรียนทั้งหลาย...มาเข้าห้องเรียน..แห่งความมึนกันต่อ...อย่าลืมอ่านช้าๆ..อ่านซ้ำๆ..จะได้เข้าใจ...
.................................
.........คราวนี้..เรามาพูดกันถึงว่า..พระแต่ละองค์..ที่..แห้งมากไปก็มีได้
..หรือ..แห้งกำลังดี..หรือ..แห้งน้อย..ก็มีได้กันทั้งนั้น..จากสาเหตุที่บอกไป
คราวที่แล้ว..แล้วมันจะมีผล..ให้ปรากฎ..ออกมาเป็นยังไง..เมื่อแข็งแล้ว..
...เราต้อง..รู้เคร่าๆก่อน..ว่า..ขั้นตอน..เป็นยังไง..
........โดยทั่วไป..เมื่อหลังจากที่..เทเนื้อพระ..ใส่พิมพ์แล้ว..(พิมพ์..มี...
สองส่วน..คือ..พิมพ์ด้านหน้า..ที่แกะ..เป็นรูปพระ..อีกส่วนคือ...พิมพ์ที่..
เป็นส่วน..บังคับความหนา..ขององค์พระ..ที่เจาะเป็นช่องที่มี..ขนาดใหญ่
กว่า..กรอบพิมพ์..พอสมควร...มีความหนาเท่ากันตลอด..คือ..หนาเท่ากับ
ความหนา..ของพระตามที่กำหนดไว้...(อันนี้..เป็นข้อสันนิษฐานของ..คน
รุ่นเก่า..เพราะ..พระทั้งสองกรุ..คือ..กรุต้นแบบ..และ..วัดเกษไชโย..เห็น..
กรอบพิมพ์ชัดเจน...แสดงว่า..ต้องมี..พิมพ์อยู่ ๒ ส่วน..เพราะไม่งั้น..ถ้า
เป็น..พิมพ์เดียว..เจาะลึกลงไป..ก็ไม่จำเป็นต้องมี..กรอบพิมพ์..แถมเมื่อ
ถอดพิมพ์แล้ว..ก็ไม่ต้องมา..ตัดข้างด้วย..เพราะ..เราสามารถ..ล็อคขนาด
กว้างยาว..ได้จากพิมพ์..เมื่อ..หลังจาก..ทิ้งให้พอหมาด..ปาดหลังเสมอพิมพ์
..ก็.เคาะพระ..ออกจากพิมพ์..ทิ้งไว้จนแข็ง..ก็ใช้ได้เลย...ด้านข้างก็เรียบ..
เหมือน..กับ..พระสมเด็จสมัยใหม่...)..ซึ่งพิมพ์ที่เป็นกรอบ..จะวางทับอยู่ด้าน
บน..แนบกับ..ตัวแม่พิมพ์พระ..สนิทพอดี....).....เมื่อทิ้งไว้จนช่าง..เห็นว่า..แห้ง
..และมีความแข็ง..พอสมควร..พอที่จะให้รูปทรงที่ติดกับแม่พิมพ์พระคงตัวแล้ว
...ก็..จะทำการ..ปาดด้านหลัง..จะด้วยมีด..หรือ..แผ่นโลหะบางๆ..ก็ไม่ทราบ..โดย
มีขอบ..ของพิมพ์ตัวบน..เป็นตัวกำหนด..ก็เรียกว่า..กดแนบ..แล้วลากปาดไป..จน
เนื้อพระ..ด้านหลัง..เสมอขอบ..(ความหยุ่นของเนื้อ..ตอนนี้..น่าจะใกล้เคียงกับ..
ดินน้ำมัน..)................
.................ส่วนต่อไปนี้..คือ..เรื่องที่มาถกเถียงกัน..จนเป็น..ที่มา..ของเรื่อง..
ผมจะยังไม่เล่า..ใน..รายละเอียด...แต่ให้รู้เพียงว่า......
........เอา..พระออกมาจาก..พิมพ์...แล้วมาตัดข้าง.....................
.................................................................
......เรามาสนใจ..กันตรงนี้..ก่อนว่า...เมื่อตัดข้าง..ออกไป..แล้วเกิด..อะไรขึ้น..
.....................ผิว..ที่ถูกตัด..จะถูกอากาศ..สัมผัส..ทันที...ส่วนด้านบนพระ..
นั้น..ต่างกัน..เพราะ..ที่เคบเล่าไปแล้ว..ว่า..ขณะที่ทิ้งพระไว้ในแบบนั้น..ส่วน
ที่เป็น..น้ำ..(ตอนที่เหลวอยู่)..จะลงมาข้างล่าง..ตลอดผิวด้านหน้า..และมันก็
ถูก..กักไว้..ด้วยแป้งโรยพิมพ์..ดังนั้น..เมื่อ..สัมผัสอากาศ..การคายน้ำ(น้ำ..
ระเหยออกไป)..จะมีน้อย....เพราะ..ตอนนี้..พระก็เริ่มแห้งแล้ว..และแป้งโรย
พิมพ์ที่ส่วนนึง..ถูกกลืนไปที่ผิว..ก็จะช่วยป้องกันไว้ด้วย....
...............แต่..ด้านข้างที่ถูกตัดนั้น..นั่นคือ..การเปิดเนื้อด้านใน..ที่เปียกกว่า..
....ให้นักเรียน..นึกถึง..เวลาเราไปตลาด..พ่อค้าเนื้อ..เขาเอาเนื้อที่แขวนไว้...
แล้ว..เอาลงมา..หั่นบนเขียง...ที่รอยหั่น..มันจะเปียก..ชุ่มเลือด..ขณะที่ด้าน
นอกนั้น..ดู..ค่อนข้างแห้ง.....คือจริงๆ..มันไม่ได้เปียกถึงขนาดนั้น..มันเป็น..
เรื่องที่ผมยกมาให้เห็น..ภาพชัดๆ..ให้ทราบว่า..เนื้อพระด้านใน..ยังไม่แห้ง
..เหมือนด้านนอก..แต่ไม่ใช่ถึง..ขนาดเปียกชุ่ม..........
..................ต่อตอนหน้าครับ................
-
...สำหรับ...รอบดึก..หลานลินน์...
...และ..รอบเช้า...พลศิริ.....
..............................................
...ที่มา..ที่ไป...แล้วทำ(เอง)ยังไงละ...
.................................................
................................................................................
....ผมคาดว่า..การเริ่มต้นเลี่ยมพระแบบกันน้ำได้..น่าจะมาจาก..พวกช่างที่รับ
ทำป้าย..นี่แหละ..เพราะคนทั่วไปสมัยโน้น..ไม่มีใคร..รู้จัก..อตริลิค...พวกป้าย
ชื่อ..ป้ายบ้าน..ที่สั่งทำกัน...ก้ยังนึกว่า..มันเป็นพลาสติก..จริงๆ..ก็เลยเรียกกัน
ติดปากว่า..ป้ายพลาสติก..(แม้ใน..กระทั่งปัจจุบันนี้)..........
........มันน่าจะเริ่มมาจาก..คุณสมบัติ..ที่มีการค้นพบกันเอง..ว่า...เมื่อถูกความ
ร้อน...แล้วมันจะอ่อนตัวลง..แต่เนื้อไม่หาย..ไม่หด(..แต่..ถ้าโดนเปลวไฟ..จะ
แช่อยู่กับที่..มันก็ไหม้ได้)..ขณะที่พลาสติก..นี่..โดนไปไม่เท่าไหร่..ทั้งหาย..
หด..และใหม้ติดไฟ...ยาวเลย....
.............ในยุคแรกนี่...เป็นแบบMOBILEเลย..ยกโต๊ะ..ไปตั้ง..ตรงไหน..ก็ได้
...เพราะ...ไม่ต้องใช้ไฟฟ้า..ในสว่นใดๆเลย...ข้างกำแพงวัด..มหาธาตุ..ก็ยัง
ไปตั้งโต๊ะเลี่ยมพระกัน.....ใช้ระบบ..อัตโนมือ..ล้วนๆ...เครื่องมือตัด..ก็มีด
(ขีดเป็นรอย..แล้วใช้มือหักตาม)..เลื่อยการฝีมือนักเรียน..นี่แหละ..ไม่ได้มา
หล่อแบบ..ยุคนี้.....อย่างเวลา..ใส่น้ำยาติดแล้ว..จะตัดกรอบออก..ให้พอดี
กับ..องค์พระ..ก็ใช้เลื่อยค่อยๆตัดเอา..ไม่เหมือนสมัยนี้..ใช้หินเจีย(มอเตอร์)
เลย..กดกรอบเข้าไปแป๊บเดียวเสร็จ....เวลาตบแต่งก่อนขัดมัน...ก็ใช้..ตะไบ
มือล้วนๆ..ไถมันเข้าไป...เวลาขัดมัน...ก็ใช้..น้ำยาBRASSO..หรือ..บางคน
ก็ใช้..ผงขัดที่อัดมาเป็นแท่งสีน้ำตาล..เอามาถู..ที่แผ่นหนัง..หรือบางคน..
ก็ไม่ต้องซื้อ..ใช้หนังเข็มขัดลูกเสือ..พลิกเอาด้านในที่ไม่มีสีทา..เป็นหนัง
เปลือยๆ.......แล้วก็เอาพระฝนไปฝนมา...มันก็มันแผล็บ..เหมือนๆกับ..
สมัยนี้..นั่นแหละ..(..เทคนิค..ก่อนจะขัดมัน..เอากระดาษทรายน้ำ..เบอร์
ละเอียด..มาขัดอีกรอบ..ให้มันเนียนซะก่อน..).....ไม่เหมือนสมัยนี้..มัน
ง่าย...ใช้อีกด้านนึงของมอเตอร์ที่เป็นผ้า..เปิดสวิทซ์..จึ๊กเดียวก็เรียบร้อย
......สมัยแรกๆเลย...คือ..ถ้า..พระไม่หนาจริงๆ..หรือ..เจ้าของพระไม่ระบุ
..เค้าก็เลี่ยม..แบบ ๒ ชั้น ธรรมดา (..หน้า..หลัง..ไม่มีใส้กลาง)..ยิ่งพวกเหรียญ
นี่..แน่นอน..๒ ชั้น...
..........ราคา ๒ ชั้นขนาดทั่วๆไป.......๕ บาท...
................................ขนาดเล็ก(พวกปรกใบมะขาม) ๓ บาท..
................................ขนาดใหญ่ .....๗ บาท...
........๓ ชั้น.... ....๑๐ - ๑๕ บาท......
........เป็นไง...คนสมัยนี้..เห็นราคา...ช็อคเลย................
.....ราคา..เหรียญที่ออกมา..ตามวัด..ไม่เกิน ๕ บาท (ทองแดง)
........เลี่ยมอีก....๕ บาท........รวม.......๑๐ บาท....
...แบ็งก์ ๑๐ ใบเดียว (สมัยก่อน..ไม่มีเหรียญ ๕ บาท ๑๐ บาท...
เป็น..แบ็งก์สีน้ำตาล).....
.......ยกโต๊ะเลี่ยมพระ..ไปไหนก็ได้..เก้าอี้ของตัวเอง ๑ ของลูกค้า ๑
............แค่นี้..ก็จบแล้ว.............................
...................................ต่อตอนหน้าครับ.......................................... -
อรุณสวัสดิ์วันครอบครัวครับอ้ายมด
มารับการบ้านรอบเช้าครับผม ต่อไปนี้ละผมจะไม่ง้อช่างเลี่ยมกรอบแล้วครับ:cool: -
***มาเกาะ......ติดครับ ***
-
ผมชอบงานเลี่ยมพระของช่างสมัยก่อนจริงๆ ครับ
จินตนาการสูง มีลวดลาย ทำคล้ายยกซุ้ม
เคยมีตะกรุดเก่าของปู่เลี่ยมพลาสติก ช่างใช้ฝีมือทำซะเหมือนกับใส่หลอดเลย อลังการมาก
ตอนนี้ตะกรุดไม่รู้ไปอยู่ที่ญาติคนไหนแล้ว เสียดายมาก
ปูเสื่อรอตอนต่อไปครับอา ขอบคุณครับ -
....หวัดดี..พลศิริ..Rumgaran..และ..Khemtat........
................ก็มาว่า..กันต่อไป...ย้อนเวลาหาอดีต................
....นอกจาก..จะถูกตัดเปิดแผล..แล้ว..ผิวที่ถูกตัด..ยังยังไม่เรียบอีก..ใน..บางองค์ที่
ส่วนผสมมาก..จะมีโอกาศคายน้ำได้..รวดเร็วกว่า..เพราะ
....๑...มีมวลสาร..ที่..คายน้ำได้ดี..เช่น..ถ่าน..หรือ..อิฐ..เข้ามาช่วย..
....๒. พื้นที่ผิว..ที่พรุน..จาก..มวลสารที่..หลุดออกไปจาก..การตัด..ทำให้ผิวพรุนมากขึ้น
..เมื่อ..ผิวพรุน..มันจะทำให้..มีพื้นที่สัมผัสอากาศ..ได้มาก..กว่า..ผิวที่เรียบกว่า..ทำให้..
อัตรการระเหยมี..มากกว่า..
......อีกอย่างหนึ่ง..คือ..ตอน..ที่ตัดนั้น..น้ำในเนื้อในแนว..รอยตัด..ก็ต้องสูญเสียไปใน..
ตอนนั้นเอง..เพราะน้ำ..มันจะเกาะติดมีด..ไปอีกส่วนด้วย.................................
....แต่..มันขึ้นอยู่กับ..ความแห้ง..ของเนื้อด้วย..ถ้า..เนื้อแห้ง...น้ำที่รอยตัดก็..จะน้อย..
....ผลที่จะเกิด..กับผิวตรงนั้น..ก็จะมีไม่มาก.......(ผมจะอธิบาย..ถัดไป..)
............แล้วถ้า..มันระเหยด้านข้าง..ได้มาก..มันจะเกิด..อะไรขึ้น..เหรอ...นักเรียนคงคิดใน
ใจ..ถามผม...........................
....................สิ่งที่ตามมาคือ...บริเวณที่..น้ำระเหยออกไป..มาก..ปริมาตรของมัน..ก็จะ..น้อย
ลงไงครับ..เพราะน้ำที่เป็นส่วนผสมอยู่..ออกไป...แต่บังเอิญ..บริเวณที่น้ำระเหยออกไปเร็ว...
มัน..อยู่ที่ผิว..กับใกล้ๆผิว...แต่..ข้างในองค์พระ..น้ำ..มันค่อยๆระเหยออกไปช้าๆ...เมื่อน้ำ..ข้าง
ใน..ออกไปได้ไม่มาก....ปริมาตรที่มันจะหดลง..ก็มีน้อย..สิ่งที่ตามมาคือ..เกิดการรั้งขึ้น..ในเนื้อ
พระ..ระหว่าง..ที่ผิว..และ..ด้านใน..แล้ว..หลังจากนั้น..ตัวเนื้อพระ..มันก็รับแรงรั้งนี้..ไม่ไหว...
.............................มันจึงเกิด...รอยปริ..กระจายไป..ตามผิว..ที่ถูกตัด.................
(เกิดขึ้น..ช้าๆ..เมื่อ..เนื้อตรงที่ตัด..คืนตัวกลับ...จะกล่าวถึง..ในความหยุ่นตัวต่อไป)
....ในกรณี..นี้..จะเกิด..พระที่ไม่ค่อยแห้ง(คือมี..น้ำมาก)..แต่มี..มวลสาร..กระจายอยู่พอควร..
เพราะเมื่อ..ตัดออก..ส่วนที่เป็นของเหลว..จะไหลกลับมาที่..รอยตัด..และ..เริ่มคายน้ำ..ทันที
(ดู..เรื่องน้ำไหลกลับมาที่รอยตัด..ในเรื่องความหยุ่นตัว..ผมจะอธิบายถัดไป)......
ปริมาณน้ำมีมาก..ปริมาตร..หดมากขึ้น............จะเห็นได้ว่า..ผิวจริงๆ..จะไม่ค่อยพรุนมาก..
..แต่จะมี..รอยปริแตกเกิดขึ้น...
..............ต่างจาก..พวกที่..ค่อนข้างแห้ง..และ..มวลสารใหญ่ๆมี..มากกว่า...รอยตัด
ใหม่ๆ..จะไม่ค่อย..เรียบ..และพรุน...น้ำคืนกลับ..มาที่รอยตัด..มีน้อยกว่า..และ..ความ
ที่..มีพื้นที่ผิว..มากกว่าพวกที่ผิวเรียบ..ทำให้เกิด..การรั้งน้อยกว่า..จึงเกิด..รอยปริ..น้อย
..(บางองค์..พรุนมากๆ..ก็แทบไม่มี)กว่า..พวกที่รอยด้านข้าง..ค่อนข้างเรียบ..
........ตัวที่มีผล..ทำให้ด้านข้างที่รอยตัด..แห้งเร็วขึ้น...ก็มีโอกาศ..จาก..ตำแหน่ง...แดด....
และ..ลม....คือ..ถ้า..หลังจากตัด..ตำแหน่งที่วางพระ..ไว้..ไปโดนแดด...ความร้อน..ที่ผิว..ก็
จะสูง..น้ำก็จะระเหยจากรอยตัด..ได้เร็วกว่า..ปกติ..หรือ..ช่วงเวลานั้น..มีลมพัด..อยู่ตลอด
..ก็จะเป็น..เช่นกัน..........
.............ความหยุ่นตัว......
...อันนี้..มีผล..กับ..พระที่มีเนื้อหยุ่นตัว...นักเรียน..คงพอนึกออก..ว่า..มันคือ..การคืนตัว
กลับ...เมื่อคมมีด..กดตัดลง..ไป..จะเกิดแรงกด..ที่จุดนั้น..แต่แรงกด..ไม่ได้เกิดที่..แค่..
ตรงแนวที่มีดตัด..ผ่าน..บริเวณใกล้ๆ..คมมีด..ทั้งสองฝั่ง..ก็จะเกิด..แรงกด..ถ่ายเข้ามา
ด้วย..แต่น้อยกว่า..เพราะขณะนั้น..เนื้อพระ..ยังไม่แข็งดี..มีความเหนียว..น้ำในเนื้อจะ
ถูกรีดออกห่างไป..สภาพเนื้อบริเวณนั้น..จะถูกอัดแน่น..เมื่อตัดขาดแล้ว..แรงกดจากมีด
หายไป..เนื้อตรงใกล้รอยตัด..จะค่อยๆ..คืนตัว..และ..น้ำจะค่อยๆกลับมา..แต่..เนื้อบาง
ส่วนไม่คืนกลับได้..โดยเฉพาะเนื้อที่อยู่ใกล้..กับมวลใหญ่..เพราะแรงอัดที่เกิด..ตรงนั้น
มันมากกว่าทั่วไป..ด้วยเหตุที่..มวลใหญ่มันไม่ได้ยุบตามไปด้วย...เหมือนถูกอัดติดข้างฝา
..มันแน่น..จนไม่คืนตัว..ผลที่ตามมา..คือ..เกิดรอยแยก..ขึ้น..เมื่อ..เนื้อส่วนอื่นคืนกลับที่แล้ว
...ซึ่ง..ทำให้มันดู..เหมือนกับ..รอยโหว่..และ..รอยปริ..เล็กๆ......
..............สำหรับ..เนื้อที่ค่อนข้างแห้ง..และมี..มวลใหญ่ๆ..ค่อนข้าง..จะเกิดสิ่งนี้..ได้ง่ายกว่า
เนื้อที่..ไม่ค่อยแห้ง...เพราะถ้ามีน้ำในเนื้อ..มากขึ้น..ส่วนที่เป็นน้ำ..จะคืนกลับมา..และ..เข้า
ไปใน..ช่องว่างที่เกิดได้..........
..........................ต่อตอนหน้าครับ................................
-
.....หนังรอบดึก..สำหรับ..ผู้อยู่ดึก..กับ..คนชอบตื่นเช้า....
........ที่มา..ที่ไป..แล้วทำ(เอง)ยังไงละ.............
..................................................................
............................................................................................................
..............ผมขอกล่าวถึงที่มาก่อนว่า...ทำไม...ผมถึง..รู้วิธี..ที่จะจัดการปัญหา
เหล่านี้..บางท่านพึ่งเข้ามาอ่าน...ยังไม่ได้ย้อน..ไปอ่านที่มาที่ไป..ของตัวผมเอง
..ก็..จะไม่ทราบ.......เนื่องจาก..เมื่อ..กว่า ๔๐ ปีก่อน..ทั้งบ้านผม..มีคนชอบเล่น
พระอยู่ ๒ คน..คือ..ผม..และ..พ่อ....แต่ความที่พ่อ..เป็นช่างที่เป็นทักษะส่วนตัว
...ท่านชอบแก้ไขปัญหาต่างๆ..ด้วยตัวเอง..และทำได้ดี..งานช่างทุกชนิดทำได้หมด
....ซึ่งผมเอง..นะ..เทียบพ่อไม่ได้จริงๆ...แต่ผมรับGENE..ทางทักษะด้านช่างมา
..คนเดียวจากพ่อ..ในพี่น้องทั้งหมด..และหลายๆอย่าง..ผมก็ยึด..พ่อเป็นรูปแบบ
มาตั้งแต่..เด็ก....เมื่อเราทั้งสองคน..เริ่มเล่นพระ..กันใหม่ๆ..ไปเช่ามา..หรือ..ของ
เดิมที่มีอยู่..เอาไปเลี่ยมอคริลิค..นี้...พูดง่ายๆ..มันก็จำเจ..เห็นเค้า..เลี่ยมให้ดู....
.......ทำให้..เราทั้งสองรู้ขั้นตอนต่างๆ...แต่จุดเริ่มมาจาก..พ่อด้วยความเป็นช่าง
...........ก็ตัดสินใจ..ต่อไปนี้..เราไม่ต้องเอาพระไปเลี่ยมที่ไหน...เราจะเลี่ยมเอง..
........พ่อ..ก็ลงทุน..ไปซื้อ..อุปกรณ์..ที่จำเป็น..นานาชนิด...ในการเลี่ยมพระมา..
..แล้ว..ก็เริ่มทำเอง....พอพ่อเริ่มไปสักพัก...ผม..ก็เลยเอามั่ง.....แต่ผมจะทำ...
เฉพาะ..ตอนที่พ่อไม่ได้เลี่ยม..มีปัญหาตรงไหน..ก็..ค่อยแก้กันไป...จากเดิม
เลี่ยมแบบ..๒..ชั้นธรรมดา..หน้า-หลัง...ก็..ค่อยๆ..ขยับเป็น..๓ ชั้น....และ...
หลายๆ..ครั้ง..ที่ทำออกมาไม่ดี(อันนี้..ตัวผม..ไม่ใช่..พ่อ..เพราะของท่าน..
ส่วนใหญ่..จะไม่มีปัญหา..)..ทำเสร็จแล้ว..ไม่ชอบ..ไม่สวย..หรือ..มีเศษฟอง
อากาศ..ค้าง(ไล่ไม่หมด)...ผมก็ต้องรื้อ..คือ..แกะ..ออกมา...คราวนี้..เราแกะ
พระตัวเอง..มีทั้ง..พระผง..พระเนื้อดิน..พระชิน...ที่ค่อนข้างเปราะบาง
...เราก้ต้อง..ประณีต..ในการแกะออก.....จนสามารถ..รับมือได้ทุกรูปแบบ
...บางที..ไอ้ที่เค้าเลี่ยมมามันไม่ดี..เราก็ต้องมารื้อออก..แล้วมาเลี่ยมใหม่....
....มันก็เป็น..อัตโนมัติ..ไปเอง..........................
.........จนเมื่อมาทำงาน..แล้ว....คือ..ที่ทำงาน..ใครๆ..ก็รู้ว่า..ผมชอบเล่นพระ..
...อยู่มาวันนึง..มีพี่คนนึง..เค้ามีปัญหา..ก็เหมือนๆกับ..ท่านนี่แหละ..เคย..
ไปร้านเลี่ยมพระ..เอาพระออกจากกรอบเดิมไปเลียมใหม่...ล่อซะชำรุด
..แกเลยเข็ด..เอามาปรึกษาผม..เพราะแกคิดว่า..ผมอาจจะทำได้...
.....ผมก็..ทำให้ตรงนั้นเลย..พระนี่อัดกรอบมาแบบชิดเลย...คล้ายๆกับที่..
..คุณนวล..เอารูปมาให้ดู...ผมก็ใช้..อุปกรณ์ต่าง..เท่าที่มีอยู่ที่นั่น..มาดัด
แปลง...แล้วก็..เอาพระออกมาอย่างปลอดภัย...คราวหลัง..คนอื่นมีปัญหา
แบบเดียวกัน..ก็..เลยมาใช้บริการผม.....
...........ก้เลยทำให้ประสพการณ์..เยอะ...คราวหน้าเราก็จะเริ่มมาเข้าเรื่อง
จริงๆ..กันซะที...........
................................ต่อตอนหน้าครับ.....................
........................................................................................................... -
กำลังมันส์เลยครับคุณครู ถือเลื่อยรอฟังอยู่ครับ :)
-
สวัสดีครับคุณอา และสมาชิกทุกท่าน ตามอ่านย้อนหลังอยู่ครับ
-
...หวัดดี..Mastertest..และ..เฉียวฟง...
.................
...ก็มาย้อนอดีต..ต่อกัน..............
......วิธีการ.........................
...นี่ก็เป็น..ส่วนสำคัญ....มันจะเกี่ยวพัน..กับที่กล่าวมาทั้งหมด...เพราะ..การตัดขอบ
ออก..จะทำให้พระ..สูญเสียน้ำที่ขอบ..มากไปกว่า..ปกติ..เปรียบเทียบกับ..พระวัดพลับ
ที่..ไม่มีการตัดขอบ...ขอบก็จะเนียน...
....บริเวณ..ที่..ตากพระ..ก็มีผล..เพราะ..พระจำนวนมาก..ก็ใช้เนื้อที่มาก...ตรงนี้...
บังเอิญ..ไปเจอแดดเต็มๆ..เข้า..พระก็..ออกมา..ไม่เหมือน..พวกอยู่ในร่มแล้ว..
......การที่ต้องทำพระจำนวนมาก..ความละเอียดพิถีพิถัน..ก็ต้องลดลง..แน่นอน..เมื่อ
เทียบกับ..วัดระฆังที่..ทำไปเรื่อยๆ..ครั้งละไม่มาก...สังเกตจาก..กรอบพระต้นแบบ..
มีอยู่ไม่มาก..ที่เป็น..สี่เหลี่ยมผืนผ้า..ตามกรอบพิมพ์จริงๆ..ถ้าไม่เป็น..สี่เหลี่ยมคางหมู
บางที..ก็โย้..ไปเป็น..สี่เหลี่ยม..ขนมเปียกปูนไปเลย..โย้ไป..เย้มา..แค่นี้ก็บอกได้..แล้ว
ว่า..การทำงาน..ค่อนข้างเร่งรีบ..เพราะเรารู้กันว่า..ช่างสมัยก่อน..เขาทำ..ต้องไว้ฝีมือ..
ไม่ทำอะไร..ลวกๆ..เหมือนช่างสมัยนี้....คงเพราะ..หมายกำหนดการที่ต้องเสร็จทั้งหมด
ภานใน..วันนั้น..เพราะ..มีกำหนดการที่..สมเด็จจะมาปลุกเสกพระทั้งหมด..และ..นำพระ
ลงไปบรรจุ..กรุ.........................
........ตัวบุคคลดำเนินการ....
...แน่นอนครับ...พระจำนวนมหาศาล...แม่พิพม์พระเอง..ก็มีอยู่..แค่นิดเดียว..เมื่อ
เทียบกัน..จำนวนครั้งที่..พิมพ์..ก็ต้องมาก..ในแต่ละพิมพ์..เวลาก็ต้องใช้นาน
แน่..เพราะต้องรอพระ..ค่อนข้างแห้ง..ถึงไปถอดพิมพ์ออก..ถึงจะกดได้ใหม่..
ดังนั้น..ก็ต้องใช้คน..เป็นจำนวนมาก..แน่นอน..เปลี่ยน..กะ..กันทำ..ไม่งั้น
ตายแน่...คนมาก..ก็..ความละเอียด..ก็..ย่อมต่างกัน..หรือ..การพิจารณา
ก็แตกต่างกัน..ความขยัน..ขี้เกียจ..ก็ต่างกันด้วย...มันก็เลย..กลายเป็นที่
มา..ของ..พระ..ที่..รูปทรง..จากที่ตั้งใจไว้..มันเปลี่ยนไป..หลากหลาย.........
......ผมก็..จะจบ..ด้านข้างไปแค่นี้ก่อน....เพราะยังมีอีกด้าน..ที่สำคัญ..
...และเป็น..ตัวบอกได้ว่า...การตัดขอบ..มันควรจะเป็น..ยังไง.........
.......................ด้านหลัง............................
.....สิ่งแรก..ที่ผมสัมผัส..ได้ด้วยตา..คือ..เกือนทั้งหมด...ด้านหลัง..
......................จะ...เรียบ......เป็น..ระนาบเดียวกัน........
...ต่างจาก..ด้านข้าง..และ..ด้านหน้า..ชัดเจน.......................
...ถึงแม้บางองค์..อาจมีรอยปาด..ที่เป็นขยักๆ..เป็นช่วงๆบ้าง...
นั่น..ก็..เพราะว่า..พระองค์นั้น..เนื้อค่อนข้างแห้งไป...เลยออก
เหนียวไปหน่อย...เวลาปาดแล้ว..ก็เลย..ไม่ลื่น........
..........แต่โดย..สัณฐานแล้ว..ก็ยังคง..คุณลักษณะ..อย่างที่ว่า..
.....................คือ......เรียบ.......เป็น..ระนาบเดียวกัน..........
................และ..ริมขอบ..ทุกด้าน..คม......................
...ซึ่งที่เห็น..มีอยู่..น้อยมาก..ที่..แอ่น..เป็นท้องช้าง..น้อยๆ...
โดยที่..ด้านหน้าก็โก่งขึ้นด้วย..................................
...ก็สามารถ..บอกด้วยทางวิทยาศาสตร์..ได้เลยว่า...เพราะ..
เกิด..การขยาย..และ..หดตัว..ไม่เท่า..ที่ด้าน..และ..ด้านหลัง..อันน่า
จะมี..สาเหตุหลัก..มาจาก..อุณหภูมิ..ที่แตกต่าง...อะไรที่เย็น..ก็จะหด
..อะไรที่ร้อน..ก็จะ..ขยาย.......................
........................ต่อตอนหน้าครับ............................
หน้า 218 ของ 364