พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เหอๆๆ ท่านโด อย่าให้เจอเชียว จะหอมแก้มสักร้อยครั้ง
     
  2. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 58 คน ( เป็นสมาชิก 5 คน และ บุคคลทั่วไป 53 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, psombat+, chantasakuldecha+, nongnooo+, :::เพชร:::+ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ่า สวัสดีตอนเย็นครับ

    รูปที่ส่งให้ทาง Email ดีป่าวครับ แรงป่าวครับ


    .
     
  3. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ปู้คานหุยโส่ว : สุดทานทน รำลึกอดีต
    China - Manager Online

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>13 มกราคม 2553 09:06 น.</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=390 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=390> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left><CENTER>ที่มา www.qi10.com </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE>《不堪回首》

    不 (bù) อ่านว่า ปู้ แปลว่า ไม่
    堪 (kān) อ่านว่า คาน แปลว่า สามารถทนทานได้
    回首 (huíshǒu) อ่านว่า หุยโส่ว แปลว่า รำลึกถึงอดีต


    ค.ศ. 960 สมัยที่เจ้าควงอิ้น(ซ่งไท่จู่) สถาปนาราชวงศ์ซ่ง ได้ดำเนินนโยบายรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่น โดยการเดินหน้าปราบปรามรัฐที่สืบต่อมาจากยุคห้าราชวงศ์สิบแคว้น เช่น โฮ่วสู่ หนันฮั่น หนันผิง เป็นต้น จากนั้นจึงได้มุ่งลงใต้โดยมีเป้าหมายต่อไปที่แคว้นหนันถัง ซึ่งในขณะนั้นปกครองโดยหลี่อี้ว์ (หลี่โฮ่วจู่)

    หลี่อี้ว์เป็นกษัตริย์ที่อ่อนด้อยในด้านการทหารและการปกครอง แต่มีความโดดเด่นทางด้านดนตรี ศิลปะ โคลงกลอนและการเขียนอักษรจีนอย่างยิ่ง แต่เนื่องจากเติบโตอยู่ในวัง ใช้ชีวิตหรูหรา ดังนั้นบทกวีที่หลี่อี้ว์ประพันธ์จึงมักพรรณาถึงแต่บรรยากาศและชีวิตในรั้ววังเท่านั้น นอกจากนี้ หลี่อี้ว์มีฮองเฮาที่ทรงพระศิริโฉมและถนัดจัดเจนในการร่ายรำและศิลปะ แต่โชคร้ายที่ลาโลกไปตั้งแต่ยังสาว ต่อมาจึงได้น้องสาวของฮองเฮามาเป็นภรรยาอีกคน ในช่วงนี้หลี่อี้ว์ใช้ชีวิตอย่างสุขสำราญ วันๆ ร่ำสุรา ร่ายเพลงกวี โดยไม่สนใจว่าราชการและดูแลบ้านเมือง
      
    ราชวงศ์ซ่งรุกรานเข้ามาเรื่อยๆ แต่หลี่อี้ว์ยังคงเมามายในรสสุราและโคลงกวี นึกถึงเพียงความสุขสบายในวันนี้ ทั้งยังยอมถอดชื่อแคว้นตัวเองออกเพื่อเป็นการแสดงความอ่อนข้อ แต่เจ้าควงอิ้นยังคงไม่วางพระทัยเนื่องจากหนันถังเป็นแคว้นใหญ่ ดังนั้นฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 974 เจ้าควงอิ้นจึงส่งทูตมายังแคว้นหนันถัง 2 คราเพื่อเชิญ หลี่อี้ว์ ไปพบยังเมืองไคฟง แต่หลี่อี้ว์ รู้ว่าคำเชิญดังกล่าวเป็นแผนลวงตนไปเพื่อลอบสังหาร จึงอ้างว่าประชวรและปฏิเสธคำเชิญนั้นเสีย เจ้าควงอิ้นจึงได้ทีอาศัยการปฏิเสธนี้เป็นข้ออ้างว่าหนันถังแข็งข้อ และส่งทัพนับแสนนายเดินทางมาบุกโจมตี
      
    ต้นปีถัดมา เมื่อทหารซ่งบุกมาถึงฝั่งตอนเหนือของแม่น้ำแยงซีเกียง หลี่อี้ว์กลับยังหลงเข้าใจว่ากองทัพซ่งคงไม่สามารถข้ามน้ำมาได้ จึงวางพระทัย เอาแต่ถกปัญหาธรรมอยู่กับนักบวชในวังหลวง มีเพียงวันหนึ่งที่บังเอิญมองออกไปนอกวัง พบว่ากองทัพซ่งมาถึงหน้าวังหลวงแล้ว แม้จะรีบสั่งกองทหารให้เตรียมการรบก็ไม่ทันการณ์

    ด้วยเหตุนี้ หนันถังจึงถึงกาลวิบัติในฤดูหนาวของปีเดียวกันนั้นเอง ส่วนหลี่อี้ว์ก็ถูกจับตัวมายังเมืองไคฟง

    เมื่อมาถึงไคฟง เจ้าควงอิ้นมิได้สั่งประหารหลี่อี้ว์ในทันที แต่คงกักบริเวณไว้ในเมือง ทั้งยังมอบยศขุนนางให้ แต่เป็นการมอบให้ด้วยความดูแคลน โดยมีชื่อตำแหน่งว่า "ฝืนคำสั่ง" (违命侯) หลี่อี้ว์เดิมทีมีนิสัยอ่อนไหว เมื่อต้องมาใช้ชีวิตประดุจนักโทษ โดนดูถูกดูแคลน จึงมีท่าทางที่เซื่องซึมและทุกข์ทรมานยิ่งนัก
      
    ต่อมา เมื่อเจ้าควงอิ้นสวรรคต เจ้าควงอี้ (ซ่งไท่จง) ผู้เป็นอนุชาซึ่งมีอุปนิสัยโหดร้ายกว่าพระเชษฐาก็ขึ้นครองราชย์แทน
      
    ครั้งหนึ่ง หลี่อี้ว์ ได้ประพันธ์บทกวีที่ชื่อว่า "หญิงงามแซ่อี๋ว์" (虞美人: อี๋ว์เหม่ยเหยิน) ขึ้นโดยมีเนื้อหาตอนหนึ่งว่า "ลมบูรพทิศพัดหอน้อยในคืนก่อน สุดทานทนหวนคำนึงถึงเมืองเก่าใต้แสงจันทร์" ซึ่งความหมายของบทกวีสื่อถึงยามรุ่งเรืองในอดีตที่ไม่อาจย้อนคืนมา เมื่อหวนคิดถึงก็รังแต่เจ็บปวดและเศร้าหมอง

    เมื่อเจ้าควงอี้ ได้ทรงทราบถึงเนื้อหาข้อความในบทกวีก็เกรงว่าหลี่อี้ว์จะคิดกบฏต่อราชวงศ์ซ่ง เมื่อค.ศ. 978 วันที่ 7 เดือน 7 ในงานเลี้ยงวันเกิดของหลี่อี้ว์ พระองค์จึงได้ส่งสุราใส่ยาพิษให้คนนำมามอบให้หลี่อี้ว์ดื่ม จนสิ้นชีพไปในที่สุด

    "ปู้คานหุยโส่ว" หรือ "สุดทานทน รำลึกอดีต" เป็นประโยคหนึ่งในบทกวี "หญิงงามแซ่อี๋ว์" ซึ่งใช้หมายความถึงการหวนคำนึงถึงอดีตที่ผ่านไปแล้วและไม่มีทางหวนคืนมา จนทำให้สะทกสะท้อนใจ ทุกข์เศร้าจนยากที่จะทานทนไหว

    สำนวนนี้ใช้ในตำแหน่ง ภาคแสดง

    ตัวอย่างประโยค
    那些伤心的往事,不堪回首,我们还是不要提了。
    เรื่องในอดีตที่ทำให้เจ็บปวดพวกนั้น ~ พวกเราอย่าไปพูดถึงมันอีกเลย

    ที่มา ?ٶȰٿơ???ȫDz׮?</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    "ว.วชิรเมธี"เปิดเว็บธรรมะทูเดย์

    ˹ѧ

    พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) พระนักคิดนักเขียนชื่อดัง เปิดเผยว่า ได้ร่วมกับเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย หรือซอฟต์แวร์พาร์ค กลุ่มบริษัทไอที เปิดตัวเว็บไซต์ ธรรมะทูเดย์ (www.dhammatoday.com) เพื่อให้เป็นช่องทางการสื่อสารเรื่องธรรมะกับคนรุ่นใหม่ถนัดใช้ไอที ที่มาของเว็บดังกล่าว เกิดจากความต้องการนำเทคโนโลยีเข้ามารับใช้พระพุทธศาสนา จึงนำไปหารือกับลูกศิษย์ จนเกิดความร่วมมือกับบริษัทด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหลายแห่ง ขณะเดียวกันยังมีเป้าหมายหลัก คือ ต้องการให้คนหันกลับมาศึกษาธรรมะ และได้รับประโยชน์จากธรรมะทูเดย์ ขั้นตอนการดำเนินงานเว็บนี้ แบ่งออกเป็น 3 เฟส โดยเฟสแรก คือ การเปิดตัวเว็บ เฟสที่สอง คือ แปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษในวันมาฆบูชา หรือวันวิสาขบูชา ที่จะถึงนี้ และเฟสที่สาม คือแปลงให้เป็นรูปแบบอินเตอร์แอ๊กทีฟ เพื่อสามารถถ่ายทอดสดการบรรยายธรรมะ โดยประกอบด้วยทีมงานจำนวน 5 คน นับเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยนำเทคโนโลยีมารับใช้พระพุทธศาสนาจำลองเป็นเสมือนจริง
     
  5. sittiporn.s เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2009
    โพสต์:
    146
    ค่าพลัง:
    +748
    มิน่าเล่าที่สงสัยว่าทำไมยิ่งใหญ่เหมือน 11/11/2411ที่แท้ก็คือข้ามวันข้ามคืนนั่นเอง ขอบคุณมากครับที่ให้ความกระจ่าง
    โมทนาสาธุ
     
  6. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มาย้ำครับพี่ว่า ตอนนี้ สำหรับพิมพ์....(เป็นที่รักของสามโลก) ดังมากจริงๆครับ

    .
     
  7. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 22em"><TBODY><TR><TD vAlign=top>วันประสูติ</TD><TD colSpan=2>14 กันยายน พ.ศ. 2352</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD colSpan=2>28 กันยายน พ.ศ. 2435</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระอิสริยยศ</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระบิดา</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระมารดา</TD><TD colSpan=2>เจ้าจอมมารดาน้อย</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ราชวงศ์</TD><TD colSpan=2>ราชวงศ์จักรี</TD></TR></TBODY></TABLE>


    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้รับมหาสมณุตมาภิเษก เมื่อ ปี พ.ศ. 2434 เมื่อพระชนมายุได้ 82 พรรษา เป็นพระมหาสมณเจ้า ฯ ได้ 10 เดือน ก็สิ้นพระชนมเมื่อปี พ.ศ. 2435 พระชมมายุได้ 83 พรรษา
    [แก้] พระประวัติ

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 18 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาน้อยเล็ก เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2352 เมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ได้ทรงผนวชเป็นสามเณร ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์ และทรงผนวชเป็นพระภิกษุเมื่อมีพระชนมายุครบ 20 พรรษา พระองค์ได้ศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ สำนักวัดมหาธาตุ ทรงแตกฉานในภาษาบาลี พระนิพนธ์ที่แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลี คือ พระนิพนธ์เรื่อง สุคตวิทัตถิวิธาน ซึ่งทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลี นอกจากนี้ ยังได้ทรงนิพนธ์เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ เป็นภาษาบาลีอีกหลายเรื่อง นับว่าพระองค์ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่ง
    ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงสมณศักดิ์ที่พระราชาคณะ โดยมีสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะสามัญ ต่อมา ในปี พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่า พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฤกษ์ กรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร เป็นเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย นับว่าทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติพระองค์แรก เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสิ้นพระชนม์ เมื่อปี พ.ศ. 2396 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกตลอดรัชกาลรวมเป็นระยะเวลา 15 ปี ในระหว่างนั้น พระองค์ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สอง รองจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระมหาสังฆปรินายก คือ สมเด็จพระสังฆราช
    เมื่อปี พ.ศ. 2416 พระองค์ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในปีเดียวกันนี้ ทรงได้รับการโปรดเกล้า ฯ เลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ การที่เลื่อนพระอิศริยยศครั้งนี้ แม้ว่าพระองค์จะไม่ทรงรับถวายมหาสมณุตมาภิเษกในที่สมเด็จพระสังฆราช แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ถวายพระเกียรติยศในทางสมณศักดิ์สูงสุด เท่ากับทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขึ้นครองราชย์ ก็ยังมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชเป็นระยะเวลาถึง 23 ปี จึงได้ทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช
    ในปี พ.ศ. 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ทรงเจริญพระชนมายุไม่มีพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์ใดในพระบรมราชตระกูลอันนี้ ที่ล่วงลับไปแล้วก็ดี ยังดำรงอยู่ก็ดีที่จะมีพระชนมายุเทียมถึง รวมทั้ง ยังเป็นที่นับถือของคนทั่วไปทั้งฝ่ายคฤหัสถ์และฝ่ายบรรพชิต พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระราชพิธีมหาสมณุตามาภิเษกเลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ (สมเด็จกรมพระยา ในปัจจุบัน) มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4_0-0>[1]</SUP>
    "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์ บวรรังษีสุริยพันธุ์ ปิยพรหมจรรย์ธรรมวรยุต ปฏิบัติสุทธคณนายก ธรรมนิติสาธกปวรัยยะบรรพชิต สรรพธรรมิกกิจโกศล สุวิมลปรีชา ปัญญาอรรคมหาสมณุดม บรมพงษาธิบดี จักรกรีบรมนารถ มหาเสนานุรักษ์อนุราชวรางกูร ปรมินทรบดินทรสูรย์หิโตปัธยาจารย์ มโหฬารเมตยาภิธยาไศรย ไตรปิฎกโหรกลาโกศล เบญจปดลเสวตรฉัตร ศิริรัตโนปลักษณมหาสมณุตมาภิเศกาภิสิต ปรมุกฤษฐสมณศักดิธำรง มหาสงฆปรินายก พุทธสาสนดิลกโลกุตมมหาบัณฑิตย์ สุนทรวิจิตรปฏิภาณ ไวยัตติยญาณมหากระวี พุทธาทิศรีรัตนไตรคุณารักษ์ เอกอรรคมหาอนาคารินรัตน สยามาขิโลกยปฏิพัทธพุทธปริสัษยเนตร สมณคณินทราธิเบศรสกลพุทธจักโรปการกิจ สฤษดิศุภการ มหาปาดมกษประธานวโรดม บรมนารถบพิตร"
    ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า การเรียกพระนามพระบรมราชวงศ์ซึ่งดำรงสมณศักดิ์เป็นพระประมุขแห่งสังฆมณฑลแต่เดิมนั้นเรียกตามพระอิสริยยศแห่งพระบรมราชวงศ์ ไม่ได้เรียกตามสมณศักดิ์ของพระประมุขแห่งสังฆมณฑล คือ "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ" หรือที่เรียกอย่างย่อว่า "สมเด็จพระสังฆราช" พระองค์จึงเปลี่ยนคำนำพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ซึ่งดำรงสมณศักดิ์เป็นพระประมุขแห่งสังฆมณฑลว่า "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า" เพื่อให้ปรากฏพระนามในส่วนสมณศักดิ์ด้วย ดังนั้น จึงเปลี่ยนคำนำพระนามเป็น "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์"<SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP>
    พระองค์ทรงพระประชวรด้วยพระโรคชราและสิ้นพระชนมเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2435<SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP> พระชมมายุได้ 83 พรรษา 13 วัน ทรงผนวชเป็นพระภิกษุได้ 64 พรรษา
    [แก้] พระปรีชาสามารถ

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ นอกจากจะเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลีแล้ว ยังทรงมีพระปรีชาสามารถ ในด้านต่าง ๆ พอประมวลได้ดังนี้ คือ
    • ด้านสถาปัตยกรรม ทรง ออกแบบพระปฐมเจดีย์ องค์ที่เป็นอยู่ปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 2396
    • ด้านโบราณคดี ทรงเป็นนักอ่านศิลาจารึกรุ่นแรกของไทยได้ศึกษาและรวบรวมจารึกต่าง ๆ ในประเทศไทยไว้มาก และได้ ทรงอ่านจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 ที่เป็นอักษรขอม เป็นพระองค์แรก
    • ด้านประวัติศาสตร์ ทรงนิพนธ์ลิลิตพงศาวดารเหนือ เรื่องพระปฐมเจดีย์ และพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ เป็นต้น
    • ด้านดาราศาสตร์ ทรงพระนิพนธ์ ตำราปักขคณนา (คำนวณปฏิทินทางจันทรคติ) ไว้อย่างพิสดาร
    • ด้านวิทยาศาสตร์ ทรงบันทึกจำนวนฝนตกเป็นรายวัน ติดต่อกันเป็นเวลาถึง 45 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2389 ถึงปี พ.ศ. 2433 เพื่อเป็นการเก็บสถิติน้ำฝนในประเทศไทย เรียกบันทึกนี้ว่า จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝน
    • ด้านกวี ทรงพระนิพนธ์เรื่องต่าง ๆ ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาบาลี ไว้เป็นจำนวนมาก ที่เป็นภาษาไทย ทรงนิพนธ์ไว้จำนวนมาก เช่น ได้ลงพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ กาพย์เสด็จนครศรีธรรมราช ลิลิตพงศาวดารเหนือ เป็นต้น
    • ด้านพระศาสนา ทรงเป็นองค์ประธานชำระและแปลพระไตรปิฎก พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก ทรงกำหนดพระราชบัญญัติ และประกาศคณะสงฆ์ต่าง ๆ ทรงให้กำเนิดพระกริ่งในประเทศไทย ทรงสร้างพระกริ่งที่เรียกกันว่า พระกริ่งปวเรศ ซึ่งเป็นต้นแบบของพระกริ่ง ในยุคต่อมาของไทย
    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4-0>^ ราชกิจจานุเบกษา, พระประวัติพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์, เล่ม ๙, ตอน ๒๘, ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๑๘๙๒, หน้า ๒๒๔ <LI id=cite_note-1>^ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า, เล่ม ๓๘, ตอน ๐ ก ,๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๔, หน้า ๑๐
    2. ^ ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวสิ้นพระชนม์ พระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์, เล่ม ๙, ตอน ๒๗, ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๑๘๙๒,หน้า ๒๑๗
    <TABLE class=wikitable style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff"><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
    กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    (พระองค์เจ้าวาสุกรี สุวัณณรังสี)
    </TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">
    สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    (
    พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2435)</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
    สมเด็จพระสังฆราช
    (สา ปุสฺสเทโว)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>
    [แสดง]​

    สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px" colSpan=2><CENTER>สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ศรี)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ศุข)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (มี)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (สุก ญาณสังวร)สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (ด่อน)
    สมเด็จพระอริยวงษญาณฯ (นาค)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (สา ปุสฺสเทโว)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (แพ ติสฺสเทโว)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (ปลด กิตฺติโสภโณ)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (อยู่ ญาโณทโย)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (จวน อุฏฐายี)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (ปุ่น ปุณฺณสิริ)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณฯ (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระญาณสังวรฯ (เจริญ สุวฑฺฒโน)
    </CENTER>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable1 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: orange" colSpan=2>
    [แสดง]​

    เจ้านายในวังหน้าและวังหลังที่ได้ทรงกรม (สมัยกรุงรัตนโกสินทร์)</TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมขุนศรีสุนทร · กรมหมื่นเสนีเทพ · กรมขุนนรานุชิต ·

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมขุนธิเบศวร์บวร · กรมหมื่นอมรมนตรี · กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช · กรมหมื่นอมเรศรัศมี · กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ · กรมหมื่นอนันตการฤทธิ์ · กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นอานุภาพพิศาลศักดิ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ · กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ · กรมหมื่นบริรักษ์นรินทรฤทธิ์ · กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ · กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร · กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ · กรมหมื่นกวีสุพจน์ปรีชา · กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: antiquewhite">กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กรมหมื่นนราเทเวศร์ · กรมหมื่นนเรศร์โยธี · กรมหลวงเสนีบริรักษ์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow style="BACKGROUND-COLOR: orange" colSpan=2>เจ้าต่างกรม ใน รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 2รัชกาลที่ 3รัชกาลที่ 4รัชกาลที่ 5วังหน้าและวังหลัง</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 1167/1000000Post-expand include size: 69279/2048000 bytesTemplate argument size: 52805/2048000 bytesExpensive parser function count: 2/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:6105-0!1!0!!th!2 and timestamp 20100114012406 -->
    ดึงข้อมูลจาก "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ | สมเด็จพระสังฆราชเจ้า | กรมพระยา | พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 1 | พระสงฆ์ที่เป็นพระราชวงศ์ | บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2352 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2435
     
  8. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สาธารณสุข เผย ไข้หวัด2009 คร่าอีก 4 ชีวิต


    ไข้หวัด2009 ไข้หวัดใหญ่ 2009 คร่าอีก 4 ชีวิต





    สธ.เผย 'หวัด2009' คร่าอีก 4 ชีวิต (เดลินิวส์)

    กระทรวงสาธารณสุขเผยในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา พบผู้เสียชีวิตจากโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่เพิ่มอีก 4 ราย

    เมื่อวันที่ 13 ม.ค. นพ.ไพจิตร์ วราชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงสถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ 2009 ว่า ระหว่างวันที่ 3 - 9 ม.ค. ว่า มีผู้เสียชีวิตเพิ่ม 4 ราย เป็นชายวัย 24 ปี ใน จ.ชัยภูมิ หญิงวัย 30 ปี ใน จ.ร้อยเอ็ด ด.ช. 4 ขวบ จ.นครราชสีมา และ ด.ช.6 ขวบ จ.เชียงใหม่ โดย ด.ช. 6 ขวบมีโรคประจำตัวคือ โรคหอบหืดและอ้วน ทั้งนี้ในรอบ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมามีผู้ป่วยยืนยันเพิ่ม 55 ราย ผู้ป่วยสะสมตั้งแต่วันที่ 28 เม.ย. 2552 - 9 ม.ค. 2553 รวม 30,805 ราย เสียชีวิต 196 ราย

    โดยจังหวัดที่มีผู้ป่วยยืนยันสะสมสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ เชียงใหม่ ตราด เชียงราย พะเยา และสงขลา นอกจากนี้ จากการสำรวจผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาล พบสัปดาห์ที่ผ่านมามีแนวโน้มสูงขึ้นจากร้อยละ 9 เป็นร้อยละ 10 และผู้ป่วยปอดอักเสบเพิ่มจากร้อยละ 4 เป็นร้อยละ 10 และยังพบการระบาดเป็นกลุ่มๆ ในบางพื้นที่ เช่น ที่โรงเรียนใน จ.เชียงใหม่ เนื่องจากสภาพอากาศหนาวเย็น ทำให้เกิดการระบาดได้ง่าย

    นพ.ไพจิตร์ กล่าวต่อว่า ที่น่าเป็นห่วงคือแนวโน้มพบการระบาดขยายไปสู่พื้นที่ชนบทห่างไกลมากขึ้น โดยผู้ป่วยในชนบทมักไปซื้อยาชุดแก้ไข้หวัดมากินเอง ทำให้มารับการรักษาช้า เสี่ยงเกิดอาการรุนแรงและเสียชีวิต ซึ่งยารักษาไข้หวัดใหญ่ 2009 ไม่มีขายในท้องตลาด มีเฉพาะในโรงพยาบาลหรือคลินิกที่ร่วมโครงการไข้หวัดใหญ่ 2009 กับกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น

    ทั้งนี้ ได้กำชับให้โรงพยาบาลทุกแห่งให้การดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคทางเดินหายใจเป็นกรณีพิเศษ และให้คิดถึงโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ไว้ก่อน ส่วนในพื้นที่ชนบท หมู่บ้านต่าง ๆ ได้กำชับให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยในพื้นที่ ให้ความรู้ คำแนะนำการป้องกัน และสำรวจผู้ป่วยในหมู่บ้านทุกวัน หากพบมีอาการไข้หวัด โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ คนอ้วน มีโรคประจำตัว ผู้พิการ ให้รีบพาไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลทันที

    ด้าน นพ.มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า สำหรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ใน 5 กลุ่มเสี่ยง ผลการฉีด 2 วันที่ผ่านมา คือวันที่ 11-12 ม.ค. ได้รับรายงานจาก 31 จังหวัด พบว่าวัคซีนมีความปลอดภัย ไม่พบผู้มีอาการแพ้วัคซีนรุนแรง พบเพียงอาการเล็กน้อย คือปวด บวม แดงที่รอยฉีดเท่านั้น โดยมีผู้ได้รับการฉีดแล้ว 3,769 ราย



    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก
     
  9. chantasakuldecha เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    991
    ค่าพลัง:
    +2,331
    โมทนา สาธุ สาธุ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นพระอริยะโดยแท้ กราบพระองค์ด้วยเศียรเกล้า
     
  10. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การที่ชาวชมรมรักษ์พระวังหน้า และ คณะพระวังหน้า ได้รับพระเมตตา พระกรุณาจากคณะหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร(คณะโสณะ-อุตระ) , หลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ , สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี และ กลุ่มหลวงปู่องค์อภิญญาใหญ่( เช่น หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน , หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า , หลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร , หลวงปู่แสง , หลวงปู่กรมพระยาปวเรศ , หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว , หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก เป็นต้น) เราต้องทำความดีกันให้มากๆ สมกับที่ได้รับพระเมตตา พระกรุณากันครับ

    .
     
  11. chantasakuldecha เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    991
    ค่าพลัง:
    +2,331
    กราบหลวงปู่ทุกๆพระองค์ด้วยเศียรเกล้าครับ
     
  12. nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    จากน้ำร้อนจัดจำนวน4ครั้ง ครั้งที่5ด้วยน้ำมะนาวและแปรงขัดก็ ได้แค่ตามรูป เป็นความรู้ ครับ หุ หุ
     
  13. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>หวานชุ่มคอกับ "มะขามเทศ"
    Travel - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>12 มกราคม 2553 17:11 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=188 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=188> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> มะขามนั้นถือเป็นต้นไม้ท้องถิ่นของบ้านเรา มีปลูกไปทั่วทั้งประเทศ และยังมีมะขามหลายชนิด ทั้งมะขามหวานกินอร่อยช่วยขับถ่าย มะขามป้อมมีวิตามินซีสูงช่วยป้องกันหวัด และสำหรับ "มะขามเทศ" ก็เป็นมะขามอีกหนึ่งชนิดที่กินอร่อยและมีประโยชน์ต่อร่างกายเช่นกัน

    "มะขามเทศ" นั้นเป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ส่วนที่เรานำมากินกันนั้นก็คือผลของมัน ที่อยู่ในฝักโค้งเป็นวงกลม รสชาติของมะขามเทศจะออกหวานมัน ผสมรสฝาดนิดๆ กินอร่อยชุ่มคอ และยังมีประโยชน์ตรงที่เป็นผลไม้ไทยที่มีวิตามินอีสูงเป็นอันดับสองรองจากขนุนหนัง และให้วิตามินซีสูงเป็นอันดับสี่ รองจากฝรั่งกลมสาลี่ ฝรั่งไร้เมล็ด และมะขามป้อม ทั้งยังมีแคลเซียมสูง อุดมไปด้วยธาตุเหล็กช่วยป้องกันโรคโลหิตจาง ทั้งยังมีเส้นใยสูง ช่วยให้ขับถ่ายคล่อง ไม่เป็นโรคท้องผูกอีกด้วย

    นอกจากนั้นแล้ว มะขามเทศยังถือเป็นพืชสมุนไพร คนโบราณมักนำเอาเปลือกมาต้มกับเกลือป่นแก้โรคปากเปื่อย ส่วนเปลือกต้นใช้ต้มน้ำเคี่ยวรวมกับเปลือกข่อยและเกลือแกง ใช้อมแก้ปวดฟัน เปลือกใช้ทำยาย้อมผม และยาสระผมได้อีกด้วย
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>"ไก่งวง" พระเอกบนโต๊ะอาหารวันคริสต์มาส
    Travel - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>22 ธันวาคม 2552 14:48 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> "เทศกาลคริสต์มาส" ถือเป็นเทศกาลสำคัญของชาวคริสต์ทั่วโลก เพราะถือเป็นวันประสูติของพระเยซู ซึ่งถือเป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ ชาวคริสต์จึงถือเอาวันนี้เป็นวันเฉลิมฉลองเทศกาลสำคัญ อีกทั้งยังเป็นวันที่ครอบครัวญาติพี่น้องจะได้มาเจอกัน ในบ้านจะตกแต่งด้วยต้นคริสต์มาสประดับไฟไว้อย่างงดงาม มีการแลกของขวัญกันอย่างสนุกสนาน นอกจากนั้นแล้วก็ยังจะได้กินอาหารมื้อใหญ่กันพร้อมหน้าพร้อมตาอีกด้วย

    อาหารที่มักจะกินกันในเทศกาลคริสต์มาสนั้นจะเป็นอาหารพิเศษที่ไม่ได้กินกันเป็นปกติทุกวัน โดยปกติแล้วมักจะมี "ไก่งวง" เป็นพระเอกในโต๊ะอาหาร สำหรับที่ประเทศอังกฤษนั้นมักจะกินไก่งวงคริสต์มาส ซึ่งเป็นไก่งวงตัวโตอบแล้วราดด้วยซอสเกรวี่ และมีของหวานเป็นพุดดิ้งคริสต์มาส มีลักษณะคล้ายเค้กก้อนกลมๆ สีน้ำตาล มีส่วนผสมของผลไม้แห้งจำพวกลูกเกด แอปเปิ้ล และราดด้วยบรั่นดี

    ส่วนชาวเยอรมันก็มักจะมีจานเด็ดวันคริสต์มาสเป็นห่านย่างกรอบแบบโบราณ ยัดไส้ด้วยผลไม้และผัก เช่น ลูกเกด เก๋าลัด และมีมันฝรั่งบด หัวผักกาดแดง รวมทั้งแอปเปิ้ลเป็นเครื่องเคียง ชาวอิตาลีนอกจากจะกินไก่งวงแล้วก็ยังนิยมกินปลาในวันคริสต์มาสกันด้วย และชาวอเมริกัน ก็จะมีเครื่องดื่มแก้หนาวในช่วงคริสต์มาสอย่าง เอ๊กน็อก (Egg-Nog) ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่เป็นครีม มีน้ำตาล นมสด และไข่ไก่ นำมาปั่นด้วยเครื่องปั่น จนทั่วและเหยาะด้วยเหล้ารัม หรือจะเป็นวิสกี้ หรือบรั่นดีก็ได้ตามใจชอบ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948



    ขอบคุณครับ
     
  16. sittiporn.s เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2009
    โพสต์:
    146
    ค่าพลัง:
    +748
    ขอบคุณคุณเพชรมากครับที่ให้ความกระจ่าง
     
  17. sittiporn.s เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2009
    โพสต์:
    146
    ค่าพลัง:
    +748


    คำตอบมีเหตุผลและหลักฐานที่มาชัดเจนมาก
    โมทนาสาธุครับ
     
  18. chantasakuldecha เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    991
    ค่าพลัง:
    +2,331
    <TABLE id=post2843470 class=tborder border=0 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid" class=thead>วันนี้, 12:45 PM </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" class=thead align=right> #
    ที่ว่ายากนั้นคือ

    ๑ ) เครื่องมือที่ใช้ในการคำนวณต้องมีความละเอียดมากเป็นพิเศษเนื่องจากปัจจัยในข้อ ๒ เป็นต้นไป

    ๒ ) สมัยพุทธกาลยังไม่ได้กำหนดเรื่องของการให้เวลาที่เป็นสากลเช่นปัจจุบัน ทราบแต่เพียงว่าเป็นยามเช้า สาย บ่ายเย็น ค่ำ

    ๓ ) ในแต่ละปีซึ่งเหตุการณ์ผ่านมามากกว่า ๒,๕๐๐ ปี พบว่าไม่มีเดือนที่เป็นแรม ๑๕ ค่ำ และปีที่มีเดือน ๘ อยู่ ๒ หน ก็มี

    ๔ ) การเปลี่ยนแปลงวันขึ้นปีใหม่

    ๕ ) รายละเอียดของตำราโหราศาสตร์ที่ผู้จัดทำไว้ตามหลักการของบุคคลนั้นอยู่หลายสำนัก ล้วนแตกต่างกัน ปัญหาอยู่ที่ว่าจะยึดหลักการของท่านใด

    ฯลฯ

    ยังมีปัจจัยอีกมากที่ยังไม่ได้กล่าว และหากผิดพลาดนั่นหมายถึง ผลกรรมที่หนักหนามาก เพราะเรื่องราวนี้กระทบต่อบุคคลมากมาย และที่สำคัญจะกลายเป็นอวดอุตตริไป โหราจารย์เก่งๆในอดีต และปัจจุบัน ยังไม่มีผู้ทำนายทายทักในเรื่องนี้

    ผมชอบใจที่ท่านว.วชิรเมธีได้หยิบยกเอาความสำคัญของการเสด็จโปรดพุทธมารดาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาเป็นเครื่องแสดงอุทธาหรณ์ว่า...

    ทำไมพระพุทธองค์จึงเสด็จไปโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ต่างหาก

    ต่อปัญหานี้ผู้เขียนอยากจะถอดรหัสเสียใหม่ว่าพระพุทธจริยาในตอนนี้ท่านคงไม่ต้องการมุ่งแสดงให้เห็นว่าการที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดพุทธมารดาบนสวรรค์นั้น มีความสมจริงหรือไม่สมจริงหรอกแต่สิ่งที่ท่านต้องการแสดงให้ชาวโลกเห็นก็คือ พระพุทธองค์ทรงต้องการจะบอกพวกเราว่าขนาดพระมารดาของพระองค์นั้นแม้จะเสด็จสวรรคตไปอุบัติเป็นเทพอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิตแล้วก็ตาม (เวลาฟังธรรมเสด็จลงมาที่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ )สถานที่หรือภพที่พุทธมารดาประทับอยู่กับสถานที่หรือภพซึ่งพระพุทธองค์ทรงมีพระชนม์โลดแล่นอยู่ซึ่งคือโลกของเรานั้นแม้จะอยู่กัน "คนละภพ - คนละมิติ "ก็จริงอยู่ แต่ถึงกระนั้น " ความต่างแห่งภพ " ก็หาได้เป็นอุปสรรคแห่งความกตัญญูที่บุตรจะพึงตอบสนองต่อผู้เป็นมารดาของตนแต่อย่างใดไม่


    พูดให้ฟังง่ายกว่านั้นก็คือแม้แม่ของพระองค์จะตายไปอยู่ไกลกันคนละภพคนละโลกแล้วแต่พระองค์ก็ยังคงแสวงหาวิธีที่จะทดแทนพระคุณแม่ให้เสร็จสิ้นจนได้แล้วคนธรรมดาสามัญอย่างเราเล่า อยู่ห่างกับคุณแม่แค่เพียงฝาห้องกั้นอยู่บ้านคนละหลังหรืออยู่ห่างกันแค่ชั่วยกหูโทรศัพท์ถึง ใกล้กันขนาดนี้ภพเดียวกันขนาดนี้ แต่เราทั้งหลายเคยทำอะไรที่แสดงให้เห็นว่าเราเป็นลูกกตัญญูต่อมารดาบิดาเหมือนอย่างที่พระพุทธองค์ทรงวางพุทธจริยาเอาไว้ให้เห็นบ้างหรือไม่ ...


    ก็เป็นบางตอนในเทศนาของท่านว.วชิรเมธี ที่ผมเห็นด้วยอย่างยิ่ง

    ดังนั้นในประเด็นที่ได้มอบการบ้านมาให้ผมทำนั้น อาจจะไม่สัมฤทธฺผลดังใจหวัง เนื่องจากปัจจัยความเสี่ยงข้างต้น


    ผมเพียงค้นหาข้อสมมุติฐานสำหรับผู้จะนำไปคิดต่อหากอยากทราบ..

    คำถามคือ "ฤกษ์ยามในวันที่พระพุทธองค์เสด็จลงมาจากดาวดึงส์เมื่อได้โปรดพระพุทธมารดาแล้วลงมายังโลกมนุษย์นั้น เป็นฤกษ์อะไร และเมื่อเทียบเคียงกับปีพ.ศ.๒๔๑๑ ในราวเดือนพฤศจิกายน หรือธันวาคม คือวันใด ซึ่งน่าจะเป็นฤกษ์ยามเดียวกัน"


    ผมคาดเดาเอาจากเหตุการณ์ข้างเคียงที่รับกับคำถามของผู้สอบถาม ผมคิดว่า ผู้สอบถามน่าจะอยากทราบว่า มีพระพิมพ์ฯที่สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงโอกาสนี้ เมื่อใดในปี ๒๔๑๑


    ข้อมูลที่ผมพบคือ..

    วันที่พระพุทธองค์เสด็จลงมาจากดาวดึงส์เมื่อได้โปรดพระพุทธมารดาแล้วลงมายังโลกมนุษย์คือวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ วันนั้นคือวันเทโวโรหณะ” หรือ วันพระพุทธเจ้าเปิดโลก เพราะวันนั้นเป็นวันที่ชาวโลกทั้ง 3 คือ สวรรค์ มนุษย์ บาดาล (นรก) ต่างสามารถแลเห็นกันได้ตลอดทั้ง 3 โลก แม้ในนรกขุมที่มืดสนิทก็มีแสงสว่างพร่างพรายขึ้นชั่วขณะ


    ส่วนวันที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติ ตรงกับวันพฤหัส ขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๑ ปีมะโรง เทียบเคียงได้กับปีพ.ศ. ๒๔๑๑ วันรุ่งขึ้นก็เป็นวันเทโวโรหณะ


    ผมเพียงนำเสนอข้อมูลเพื่อนำไปคิดกันต่อ ไม่ได้เป็นผู้บอกว่า พระองค์ท่านเสด็จเปิดโลกเวลานั้นเป็นฤกษ์อะไร


    ตามตำราให้ฤกษ์ และห้ามฤกษ์ จากตำราฤกษ์พิสดาร ของอาจารย์ เทพย์ สาริกบุตรบางตอน...


    สิทธิการิยะ พระตำรานี้เป็นพระตำรับที่ท่านโบราณาจารย์แต่เก่าก่อนนิยมใช้ในการให้ฤกษ์ กล่าวแต่โดยใช้ดิถีเท่านั้น โดยเฉพาะท่านที่ไม่เข้าใจในวิถีคำนวณฤกษ์ตามแบบโหราศาสตร์ ก็มักจะใช้ตำรานี้เป็นคู่มือในการให้ฤกษ์ เป็นตำรับโบราณที่ยึดถือปฏิบัติสืบกันมา นับว่าเป็นเครื่องมืออันหนึ่งที่จะใช้สำหรับเป็นอุปกรณ์ในการหาฤกษ์ประกอบกับตำราอื่นๆ เพื่อเพิ่มผลความศักดิ์สิทธิ์แน่นอนยิ่งขึ้น..


    แรม ๑ ค่ำ พระเกตุตกในแผ่นดิน พระศุกร์อยู่ในอากาศให้ฤกษ์ เทพยดาจรอยู่ที่เท้า พระอิศวรมาให้ฤกษ์ ทำการมงคลดี ปลูกเรือนดี ไปค้าขายทางบกทางเรือ ไปสู่ท้าวพระยาจะมีลาภ ตัดเย็บนุ่งผ้าใหม่ดี โชคดีตกแต่เช้าจนถึงบ่ายควาย โชคร้ายตกแต่ค่ำถึงรุ่งแล


    และดิถีฤกษ์ไชย ของอาจารย์ เทพย์ สาริกบุตรบางตอน...


    ตำรานี้เป็นตำราเดิมที่นิยมใช้กันอยู่ในภาคเหนือ และภาคอีสาน ต่อมาแพร่หลายมาถึงภาคกลางนี้ นำมาใช้ปฏิบัติกันดูก็รู้สึกจะมีความแม่นยำมาก เลยจัดเข้าเป็นเครื่องประกอบที่สำคัญอันหนึ่งในการหาฤกษ์โดยมากมักใช้ประกอบการให้ฤกษ์เดินทางไกล หรือให้ฤกษ์ขึ้นบ้านใหม่


    ขึ้น หรือแรม ๑ ค่ำ ขี่ม้าแก้วสู่โรงธรรม

    วันเทโวโรหณะ น่าจะเป็นช่วงเวลา ตี ๕ ถึง ๗ โมงเช้า และ วันออกพรรษาก็น่าจะอยู่ในช่วงเดือน ตุลาคม ไม่น่าจะล้ำเข้าเขตเดือนพฤศจิกายน หรือธันวาคม อันนี้ก็เป็นการเทียบเคียง ซึ่งสามารถทำได้เท่านี้ครับ มากกว่านี้ก็เหนือวิสัยแล้วครับ

    ลองอ่านเรื่องราวตามนี้ได้ครับ หากสนใจใคร่รู้..



    <TABLE style="WIDTH: 480pt; mso-cellspacing: 0cm; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=640><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">วันเทโวโรหนะ หมายถึง วันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากเทวโลกมาสู่มนุษยโลกหลังจากที่ได้แสดงธรรมเทศนาโปรดพระมารดา และเสด็จจำพรรษา ณดาวดึงส์พิภพครบไตรมาสแล้ว โดยเสด็จลงทางบันไดสวรรค์ที่ประตูเมืองสังกัสสนครทางตอนเหนือของกรุงสาวัตถี ตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ หรือวันพระเจ้าเปิดโลก






    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">










    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">เหตุที่เกิดวันเทโวโรหนะนั้นมีเรื่องเล่าตามอรรถกถาธรรมบทพอจะสรุปได้ว่า<O:p</O:p






    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">ภายหลังจากที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ ทรงเสด็จไปประทับ ณนครสาวัตถี และทรงแสดงธรรมโปรดประชาชนอยู่เป็นประจำ จนมีประชาชนอยู่เป็นประจำจนมีประชาชนจำนวนมากหันมานับถือศาสนาพุทธ การที่ประชาชนหันมานับถือศาสนาพุทธด้วยทำให้เหล่าเดียรถีย์เสื่อมลงเครื่องสักการะเดียรถีย์เหล่านี้ก็ลดน้อยลงด้วยเช่นเดียวกันทำให้พวกเดียรถีย์เดือดร้อนต่างพากันคิดหาวิธีทำลายพระพุทธศาสนาโดยการกล่าวร้ายพระพุทธเจ้า และเหล่าสาวกบ้างแกล้งเบียดเบียนพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนบ้างแต่ก็ไม่สามารถทำให้ประชาชนเสื่อมความศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้ในทางกลับกันพวกเดียรถีย์กลับได้รับผลร้ายนั้นเสียเองในที่สุดเหล่าเดียรถีย์จึงคิดแผนการทำลายพระพุทธศาสนาขึ้นอีกอย่างหนึ่งโดยอาศัยพระพุทธบัญญัติในข้อที่ว่าห้ามมิให้พระสาวกในพระพุทธศาสนาแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ซึ่งเหล่าเดียรถีย์เข้าใจว่าพระพุทธเจ้าคงไม่กล้าฝ่าฝืนข้อห้ามที่พระองค์ทรงบัญญัติไว้ด้วยพระองค์เองจึงช่วยกันกระจายข่าวว่า " พระพุทธเจ้าและเหล่าสาวกสิ้นท่าหมดปาฏิหาริย์ไร ๆ แล้วจึงงดการแสดง ตรงกันข้ามกับเหล่าคณาจารย์เดียรถีย์ซึ่งมีปาฏิหาริย์อบรมมั่นคงเต็มที่พร้อมเสมอจะแสดงให้ปรากฎเมื่อไรได้ทุกเมื่อถ้าไม่เชื่อก็เชิญพระพุทธเจ้ามาแสดงปาฏิหาริย์แข่งกันดูว่าใครจะเก่งกาจสามารถกว่าใคร"<O:p></O:p>






    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 4"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">ข่าวที่เดียรถีย์กล่าวหาพระพุทธเจ้านั้นได้กระจายไปทั่วเป็นที่โจษจันของชาวเมืองโดยทั่วไปบ้างำมรู้แก่นแท้ในพระพุทธศาสนาก็พากันวิพากษ์วิจารณ์ในทางเสื่อมเสียพวกเดียรถีย์เห็นว่าพระพุทธเจ้า และเหล่าสาวกเงียบเฉยไม่ออกมาแก้ความก็กล่าวหาพระพุทธเจ้าหนักขึ้นว่า "พระพุทธเจ้าไม่มีความสามารถในการแสดงอิทธิปาฏิหาริย์จึงเงียบอยู่เช่นนี้ไม่กล้ารับคำท้าทายจากเหล่าเดียรถีย์ทั้งหลาย " ความนี้ได้รู้ถึงพระพุทธเจ้าในเวลาต่อมาทรงใคร่ครวญว่าหากพระองค์ไม่แสดงปาฏิหาริย์ให้เดียรถีย์ประจักษ์แก่สายตาจะเกิดผลเสียแก่พระพุทธศาสนามากกว่าผลดีเป็นแน่พระพุทธเจ้าจึงทรงประกาศว่าพระองค์จะแสดงยมกปาฏิหาริย์ ณ ต้นมะม่วง ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๘เมื่อเหล่าเดียรถีย์ได้รู้ความที่พระพุทธเจ้าที่แสดงอิทธิปาฏิหาริย์ก็พากันหวาดกลัวต่างหากลวิธีกลั่นแกล้งมิให้พระพุทธเจ้าทรงสามารถแสดงปาฏิหาริย์ได้ โดยแบ่งออกเป็น ๓พวก พวกหนึ่งช่วยกันทำลายต้นมะม่วงในเมืองสาวัตถีจนหมดสิ้นส่วนพวกหนึ่งช่วยกันสร้างมณฑปในวัดเพื่อแสดงปาฏิหาริย์ของตนส่วนอีกพวกหนึ่งให้ช่วยกันประกาศให้ประชาชนไปชมการแสดงปาฏิหาริย์ของพระพุทธเจ้าและคอยชมความล้มเหลวในการแสดงปาฏิหาริย์ครั้งนี้<O:p></O:p>






    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 5"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">เมื่อถึงกำหนดที่พระพุทธเจ้าทรงประกาศไว้ ปรากฎว่าเกิดพายุใหญ่พัดมณฑปของพวกเดียรถีย์พังจนหมดสิ้นส่วนพระพุทธเจ้ายังมิได้ทรงมีทีท่าว่าจะแสดงปาฏิหาริย์แต่อย่างใดและในตอนบ่ายของวันนั้นนายคัณฑะ คนเฝ้าพระราชอุทยานของพระเจ้าปเสนทิโกศลได้ถวายมะม่วงผลหนึ่งแก่พระพุทธเจ้าเสียก่อนเกิดความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธองค์จึงนำมะม่วงผลนั้นถวายแด่พระพุทธเจ้าเมื่อพระพุทธเจ้าได้รับมะม่วงสุกผลนั้นจากนายคัณฑะทรงรับสั่งให้พระอานนท์นำมะม่วงสุกผลนั้นไปทำน้ำปานะถวายและให้นำเมล็ดมะม่วงวางลงบนพื้นดินบริเวณนั้นเมื่อทรงฉันน้ำปานะหมดทรงล้างพระหัตถ์ให้น้ำล้างพระหัตถ์รดบนเมล็ดมะม่วงนั้นปรากฏว่า ต้นมะม่วงได้งอกขึ้นและใหญ่โดอย่างรวดเร็ว พระพุทธเจ้าทรงรับสั่งว่าพระองค์จะแสดงปาฏิหาริย์ ณ ต้นมะม่วงแห่งนี้พระพุทธเจ้าทรงเนรมิตช่อไฟและท่อน้ำแล่นเป็นคู่สลับกันไปมาในอากาศรอบต้นมะม่วงนั้นและทรงเนรมิตบุคคลผู้เหมือนพระองค์ทุกประการขึ้นองค์หนึ่งพร้อมกับทรงเปล่งพระฉัพพรรณรังสีกระจายออกทั่วบริเวณพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมพร้อมกับทรงจงกรมสลับกับพระพุทธนิมิตเมื่อประชาชนได้เห็นแก่สายตาของตนเองว่าพระพุทธเจ้าสามารถแสดงปาฏิหาริย์ได้เสมอก็เกิดความเลื่อมใสศรัทธากันโดยทั่วไปส่วนเหล่าเดียรถีย์นั้นประชาชนต่างพากันสมน้ำหน้าสาปแช่งจนพวกเดียรถีย์นั้นต้องย่อยยับลงไปในครั้งนี้เอง<O:p</O:p






    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 6"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">ในวันรุ่งขึ้นซึ่งเป็นวันเข้าพรรษาพระพุทธเจ้าทรงประกาศว่าพระองค์จะไปจำพรรษายังดาวดึงส์เทวโลกเนื่องจากทรงระลึกว่าทรงเทศนาโปรดพระเจ้าสุทโธทนะ พระพุทธบิดา พระนางปชาบดีพระนางยโสธราพิมพา และพระราหุลราชกุมารตลอดจนประยูรญาติทั้งหลายให้บรรลุมรรคผลตามสมควรแล้วแต่ยังมิได้สนองพระคุณพระนางสิริมหามายา พระพุทธมารดาเนื่องจากพระพุทธมารดาสิ้นพระชนม์ไปตั้งแต่พระองค์ประสูติได้เพียง ๗ วันเท่านั้นเห็นว่าควรจะสนองพระคุณพระพุทธมารดาให้สมควรแก่พระคุณทรงเทศนาพระอภิธรรมปิฎกโปรดพระพุทธมารดา ตลอดเวลา ๓ เดือนเมื่อออกพรรษาพระองค์จึงเสด็จลงจากดาวดึงส์เทวโลกมาสู่โลกมนุษย์ ณประตูเมืองสังกัสสนคร โดยมีขบวนเทพยดา และประชาชนตามส่งเสด็จและรับเสด็จอย่างสมพระเกียรติ ในวันเทโวโรหนะนี้พระองค์ทรงเนรมิตให้เทวดา มนุษย์และสัตว์นรก สามารถมองเห็นซึ่งกันและกันได้<O:p</O:p






    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 7; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากดาวดึงส์เทวโลก ในวันแรม ๑ ค่ำ เดือน๑๑ ประชาชนจำนวนมากต่างพร้อมใจมาเฝ้ารับเสด็จและนำภัตตาหารมาถวายแด่พระพุทธเจ้าแต่ประชาชนที่มาเฝ้ารับเสด็จนั้นมีจำนวนมากบางพวกที่อยู่ห่างไม่สามารถใส่อาหารลงในบาตรได้ จึงนำข้าวสาลีมาปั้นเป็นก้อน ๆแล้วโยนใส่บาตรจนกระทั่งเป็นประเพณีนิยมมาจนถึงปัจจุบันที่ต้องทำข้าวต้มลูกโยนใส่บาตรในวันเทโวโรหนะ<O:p</O:p






    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <O:p</O:p






    <TABLE style="WIDTH: 480pt; mso-cellspacing: 0cm; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=640><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" colSpan=2>
    <?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:shape style="WIDTH: 148.5pt; HEIGHT: 28.5pt; VISIBILITY: visible; mso-wrap-style: square" id=Picture_x0020_2 alt="http://www.tungsong.com/Important_Day/Tevo/Images/title03.gif" type="#_x0000_t75" o:spid="_x0000_i1025"><v:imagedata src="file:///C:DOCUME~1LOTTOM~1LOCALS~1Tempmsohtmlclip11clip_image002.gif" o:title="title03"></v:imagedata></v:shape><O:p</O:p












    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">๑.<O:p</O:p





    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">ทำบุญตักบาตรเทโวซึ่งเป็นประเพณีนิยมดังกล่าวมาแล้วในข้างต้น<O:p</O:p





    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">๒.<O:p</O:p





    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">ฟังธรรมเทศนา<O:p</O:p





    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">๓.<O:p</O:p





    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">ทำทาน<O:p</O:p





    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 4; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">๔.<O:p</O:p





    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm">รักษาศีลภาวนา<O:p</O:p





    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <O:p</O:p




    <TABLE style="WIDTH: 457.5pt; mso-cellspacing: 0cm; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=610><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 127.5pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=170><v:shape style="WIDTH: 112.5pt; HEIGHT: 147.75pt" id=_x0000_i1025 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:DOCUME~1LOTTOM~1LOCALS~1Tempmsohtmlclip11clip_image001.jpg" o:href="http://www.irctcoop.com/24_t.jpg"></v:imagedata></v:shape><O:p</O:p









    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 22.5pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=30><O:p</O:p






    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 307.5pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=410>เสด็จไปโปรดพระพุทธมารดา<O:p</O:p

    ในพรรษาที่ ๗ แห่งการประกาศศาสนาของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงระลึก


    ถึงพระพุทธมารดาที่สิ้นพระชนม์ไปขณะที่ประสูติพระโอรสเพียง ๗ วัน และได้
    ไปบังเกิดเป็นเทพบุตรบนสวรรค์ชั้นดุสิต พระพุทธเจ้าทรงประสงค์ที่จะเสด็จไปแสดงธรรมโปรดพระพุทธมารดา จึงแสดงยมกปาฏิหาริย์แล้วเสด็จไปจำพรรษาที่โคนต้นปาริฉัตร ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ พระอินทร์จอมเทพเจ้าแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ทรงประกาศให้เทพยดาทั้งหลายในสรวงสวรรค์มาร่วมชุมนุมเพื่อฟังพระธรรมเทศนา พระนางสิริมหามายา พุทธมารดาในเพศของเทพบุตร จึงเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดุสิตเพื่อฟังพระธรรมเทศนาและได้บรรลุธรรมชั้นโสดาปัตติผล<O:p</O:p​



















    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <O:p</O:p




    <TABLE style="WIDTH: 457.5pt; mso-cellspacing: 0cm; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=610><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 127.5pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=170><v:shape style="WIDTH: 112.5pt; HEIGHT: 147.75pt" id=_x0000_i1026 alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:DOCUME~1LOTTOM~1LOCALS~1Tempmsohtmlclip11clip_image002.jpg" o:href="http://www.irctcoop.com/25_t.jpg"></v:imagedata></v:shape><O:p</O:p









    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 22.5pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=30><O:p</O:p






    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; BORDER-TOP-COLOR: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 307.5pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-RIGHT-COLOR: #ece9d8; BORDER-LEFT-COLOR: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=410>เสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์<O:p</O:p
    ครั้นพระพุทธเจ้าทรงจำพรรษาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จนครบกำหนดหมดฤดูฝนแล้ว ถึงวันออกพรรษา ซึ่งเป็นวันที่พระพุทธองค์เสด็จลงสู่โลกมนุษย์ พระอินทร์ได้เนรมิตบันได ๓ บันได คือ บันไดเงิน บันไดทอง และ บันไดแก้ว บันไดเงินสำหรับท้าวมหาพรหมอยู่ด้านซ้าย บันไดทองสำหรับหมู่เทพอยู่ด้านขวา และบันไดแก้วสำหรับพระพุทธเจ้าอยู่ตรงกลาง วันออกพรรษาจึงมีประเพณีทำบุญตักบาตรเทโวฯ ซึ่งย่อมาจากเทโวโรหณะ แปลว่า วันที่พระพุทธองค์เสด็จลงจากเทวโลกโปรดพุทธมารดา<O:p</O:p​









    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.thai.net/tayat/budda14.html

    http://www.geocities.com/thaibuddhists/buddhalife7.htm

    เสด็จดาวดึงส์

    ลำดับนั้น สมเด็จพระบรมศาสดา ทรงพุทธดำริว่า “พุทธประเพณีแห่งพระพุทธเจ้าในอดีตกาล เมื่อทำยมกปาฏิหาริย์แล้ว เสด็จจำพรรษา ณ ที่ใด” ทรงพิจารณาด้วยอดีตตังสญาณก็เห็นแจ้งประจักษ์ว่า “เสด็จจำพรรษาในดาวดึงสพิภพ แล้วตรัสแสดงอภิธรรมปิฎกทั้ง ๗ ปกรณ์ ถวายในไตรมาส เพื่อกระทำการสนองพระคุณพุทธมารดาอีกประการหนึ่ง ความปรารถนาอันใดที่พระชนนีตั้งไว้แทบบาทมูลพระพุทธวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า “ขอให้นางได้เป็นมารดาพระบรมครูเห็นปานดังพระพุทธองค์” ความปรารถนาอันนั้นก็สำเร็จสมประสงค์และพระชนนีมีพระคุณแก่ตถาคตเป็นอันมาก ยากที่จะได้ตอบสนองพระคุณพระมารดา ทรงจินตนาการดังนี้แล้วเสด็จลุกจากรัตนบัลลังก์ ขึ้นสู่ดาวดึงสพิภพประทับนั่งเหนือกัมพลศิลาอาสน์ ภายใต้ปาริฉัตตรุกขชาติ อันเป็นธงแห่งดาวดึงส์เทวโลก

    แสดงพระอภิธรรมปิฎก

    ในกาลนั้น ท้าวสหัสสนัยน์เทวราช เมื่อทอดพระเนตรเห็น จึงประกาศใช้เหล่าทวยเทพได้ทราบทั่วกัน เทพเจ้าทั้งหลายตลอดหมื่นจักรวาลถือทิพยมาลาสักการะมาสโมสรสันนิบาต ถวายนมัสการแล้วประทับนั่งอยู่โดยรอบพระพุทธองค์ เมื่อไม่ทรงเห็นพุทธมารดา จึงตรัสถามท้าวสักกรินทร์เทวราช เทวราชจึงเสด็จไปตามพระสิริมหามายาเทวบุตร ณ ดุสิตพิภพ พระพุทธมารดา ได้สดับทรงประปีติปราโมทย์ เสด็จมายังดาวดึงส์เทวพิภพสู่สำนักพระบรมครู ถวายนมัสการประทับนั่งอยู่เบื้องขวาแห่งพระผู้มีพระภาค พลางดำริว่า อาตมานี้มีบุญยิ่งนัก มีเสียทีที่อาตมาอุ้มท้องมา ได้พระโอรสอันประเสริฐเห็นปานนี้” ส่วนสมเด็จพระชินสีห์มีพระทัยปรารถนาจะสนองคุณพระมารดาจึงดำริว่า “พระคุณแห่งมารดาที่ทำไว้แก่ตถาคตนี้ยิ่งใหญ่นัก สุดที่จะคณานับได้ว่า กว้างหนาและลึกซึ้งปานใด และธรรมอันใดจึงจะสมควรที่จะทดแทนพระคุณได้ พระวินัยปิฎก และพระสุตตันตปิฎกก็ยังน้อยนัก มิเท่าคุณแห่งพระมารดา เห็นควรแต่พระอภิธรรมปิฎกที่จะพอยกขึ้นชั่งเท่ากันได้” ดำริดังนี้แล้ว กวักพระหัตถ์เรียกพระพุทธมารดาว่า “ดูกรชนนี มานี้เถิดตถาคตจะใช้ค่าน้ำนมข้าวป้อนของมารดา อันเลี้ยงตถาคตนี้มาแต่อเนกชาติในอดีตภพ” แล้วกระทำพุทธมารดาเป็นประธาน ตรัสอภิธรรมปิฎก ๗ คัมภีร์ ให้สมควรแก่ปัญญาบารมี มีสังคณี วิภังค์ ธาตุกถา ปุคคลบัญญัติ กถาวัตถุ ยมก และมหาปัฏฐาน กาลเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงสัตตปกรณาภิธรรมเทศนาจบลง องค์พระสิริมหามายาเทวบุตรพุทธมารดา ก็บรรลุโสดาปัตติผล ประกอบด้วยนัย ๑ พันบริบูรณ์

    เสด็จลงจากดาวดึงส์

    พระมหาโมคคัลลานะทูลถามการเสด็จลง

    กาลเมื่อพระผู้มีพระภาค ทรงกระทำปาฏิหาริย์แล้วขึ้นไปสู่ดาวดึงส์เทวโลก ครั้งนั้น มหาชนทั้งหลายที่มาประชุมกันอยู่ในที่นั้นและดูพระพุทธสรีรกายหายไปในเทวโลก ก็เศร้าโศกปริเทวนาการว่า “พระบรมครูขึ้นไปสู่ภูเขาจิตรกูฏหรือไกรลาส หรือคันธมาสประการใด เราทั้งหลายมิได้เห็นพระองค์ในกาลบัดนี้” แล้วเข้าไปถามพระมหาโมคคัลลานะ “ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า พระบรมครูแห่งเราเสด็จไปสถิตอยู่ ณ ที่แห่งใด” พระมหาเถระจึงกล่าวว่า “พวกท่านจงถามท่านพระอนุรุทธะก็จะทราบ” มหาชนก็ไปถามพระอนุรุทธเถระท่านก็บอกว่า “พระพุทธองค์ เสด็จขึ้นไปจำพรรษาที่บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ ในดาวดึงส์เทวโลก เพื่อจะตรัสพระธรรมเทศนาอภิธรรม ๗ คัมภีร์ โปรดพุทธมารดา” ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า ก็เมื่อใดเล่าจะกลับมาสู่มนุษยโลก ดูกรท่านทั้งปวง พระบรมครูตรัสเทศนาพระอภิธรรมปิฎถ้วนไตรมาสแล้ว พอถึงวันปวารณาจึงจะกลับมายังมนุษยโลกนี้” ชนทั้งหลายจึงกล่าวแก่พระมหาโมคคัลลานะว่า “ถ้ามิได้เห็นองค์พระสัพพัญญู ข้าพเจ้าทั้งหลาย จะไม่ไปจากที่นี่” แล้วชวนกันพักแรม ตั้งทับและชมรมพักอาศัยมิได้มีหลังคา

    พระมหาโมคคัลลานะขึ้นไปเฝ้า

    เมื่อเวลาเหลืออยู่อีก ๗ วันจะออกพรรษา ประชาชนเข้าไปหาพระโมคคัลลานะและกล่าวว่า “พระผู้เป็นเจ้า ควรที่จะรู้วันที่พระสัพพัญญูจะเสด็จลงจากเทวโลกให้แน่นอน และพวกข้าพเจ้ามิได้เห็นพระบรมครูแล้วจะไม่ไปจากที่นี่” พระมหาเถระจึงสำแดงฤทธิ์ขึ้นไปยังชั้นดาวดึงส์กระทำอัญชลีแล้วทูลว่า “พระพุทธองค์จะเสด็จลงจากเทวโลกในกาลเมื่อใด” จึงมีพระดำรัสว่า โมคคัลลานะ แต่นี้ไปอีก ๗ วัน จะถึงวันมหาปวารณา ตถาคตจะลงจากเทวโลก ณ ที่ใกล้ประตูเมืองสังกัสสนคร ในวันนั้น ผิวมหาชนใคร่จะได้เห็นตถาคต จงไปที่นั้น เธอจงไปแจ้งแก่มหาชนตามคำตถาคตสั่งนี้” พระมหาเถระก็กลับมาแจ้งแก่ประชาชนทุกประการ

    ครั้นถึงวันอัสสยุชปุณณมีเพ็ญเดือน ๑๑ สมเด็จพระบรมศาสดาทรงปวารณาพรรษาแล้ว จึงตรัสบอกแก่สมเด็จอมรินทราธิราชว่า ดูกรท้าวเทวราชตถาคตจะลงไปสู่มนุษยโลกในเวลาวันพรุ่งนี้ ท้าวโกสีย์จึงเนรมิตบันไดทิพย์ทั้ง ๓ คือบันไดทองอยู่เบื้องขวา บันได้เงินอยู่เบื้องซ้าย บันไดแก้วอยู่ท่ามกลางเชิงบันได้ทั้ง ๓ จรดพื้นภูมิภาค ณ ที่ใกล้เมืองสังกัสสนคร หัวบันไดเบื้องบนจรดยอดเขาสิเนรุราช อันเป็นที่ตั้งแห่งดาวดึงสพิภพ บันไดทองเป็นที่ลงแห่งหมู่เทวดา บันไดเงินเป็นที่ลงแห่งหมู่พรหม ส่วนบันไดแก้วนั้นเป็นที่เสด็จลงแห่งพระบรมศาสดา

    สมเด็จพระบรมครูเสด็จสถิตเหนือยอดเขาสิเนรุ ทอดพระเนตรเห็นเครื่องสักการบูชาแห่งเทวดาทั้งหลายหมื่นโลกธาตุ ก็ทรงแสดงยมกปาฏิหาริย์ซ้ำอีก และทรงแสดงโลกวิวรณปาฏิหาริย์บันดาลเปิดโลก ยังสวรรค์มนุษย์และนรก ทั้งหมื่นโลกธาตุให้แลเห็นกันปรากฏทั่วทั้งสิ้นอันเป็นมหาอัศจรรย์ เทวดาทั้งหลายในหมื่นจักรวาลก็มาประชมพร้อมกัน พระองค์ก็เสด็จลงจากเทวโลก พร้อมด้วยทวยเทพตามส่งเสด็จเป็นจำนวนมาก ครั้งนั้น สรรพสัตว์ทั้งหลายซึ่งได้เห็นองค์พระชินสีห์ ผู้ใดแม้สักคนหนึ่ง ที่ไม่ปรารถนาพุทธภูมิไม่มี เมื่อสมเด็จพระบรมศาสดาจารย์เสด็จลงจากเทวโลกถึงเชิงบันไดแล้วประทับยืนอยู่ พระธรรมเสนาบดีก็ถวายอัญชลีพระโลกนารถ แล้วประกาศความยินดี

    พระพุทธองค์ประทานพระธรรมเทศนา เมื่อแสดงพระสัทธรรมเทศนาจบ ภิกษุ ๕๐๐ รูป ซึ่งเป็นสัทธิวิหาริกแห่งพระสารีบุตรก็บรรลุอรหัตผล ประชาชนก็ได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นจำนวนมาก
    http://www.geocities.com/thaibuddhists/buddhalife7.htm

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    คำตอบมีเหตุผลและหลักฐานที่มาชัดเจนมาก
    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ท่านอาจารย์ให้การบ้านกับพี่เพชรแล้วอย่าลืมให้คะแนนด้วยนะครับ
     
  19. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ใช้โปรแกรมบำบัดจิต พิชิตไขมันเด็กวัยรุ่น
    Life & Family - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>15 มกราคม 2553 06:55 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=270 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=270> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> ปัญหาน้ำหนักเกินในเด็กวัยรุ่นจนทำให้เด็กสาวหลายคนมีค่านิยมผิด ๆ หันไปพึ่งพายาลดความอ้วนราคาถูกจากผู้ขายไร้จรรยาบรรณอาจจะหมดไป หากเด็ก ๆ ได้ทราบว่า "การบำบัดทางจิต" ก็สามารถช่วยลดน้ำหนักของพวกเธอได้ดีไม่แพ้กัน

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์มาเรียน ทานอฟสกี้-คราฟฟ์ (Marian Tanofsky-Kraff) นักจิตวิทยา ผู้ริเริ่มโปรแกรมลดน้ำหนักโดยใช้เทคนิคด้านจิตวิทยาช่วยในการปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ระบุว่า กลุ่มเป้าหมายของวิธีการดังกล่าวคือ เด็กอ้วนที่ถูกเพื่อน ๆ กีดกัน ไม่ให้เข้าร่วมกลุ่ม หรือก็คือเด็กที่ถูกเพื่อน ๆ โดดเดี่ยวนั่นเอง

    ทั้งนี้ นักวิจัยจากโครงการดังกล่าวระบุว่า การบำบัดทางจิตใจอาจช่วยให้เด็กหญิงกลุ่มนี้สามารถควบคุมการรับประทานอาหารให้กลับสู่ภาวะปกติได้ เนื่องจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารมากเกินไปนั้นมีสาเหตุมาจากภาวะอารมณ์ที่แปรปรวน อันเนื่องมาจากการไม่ได้รับการยอมรับจากสังคม ซึ่งเป็นสิ่งที่เด็กวัยรุ่นให้ความสำคัญกับมันมาก

    การศึกษาครั้งนี้มีเด็กหญิงเข้าร่วม 38 คน พวกเธอจะได้เลือกว่าจะเข้าคลาสบำบัดจิต หรือเข้าคลาสสุขภาพแบบเดิม และเมื่อผ่านไป 12 เดือน ก็พบว่า เด็กที่เข้าคลาสบำบัดจิตสามารถควบคุมน้ำหนัก และลดดัชนีมวลกายลงได้เช่นกัน ไม่เพียงเท่านั้น พวกเธอยังมีจิตใจที่เข้มแข็งยิ่งขึ้นอีกด้วย

    "เราหวังว่าโปรแกรมดังกล่าวจะสามารถช่วยให้เด็กกลับมามีน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ และสามารถปรับสภาพจิตใจที่อ่อนแอให้เข้มแข็งขึ้นได้อีกด้วย" ทานอฟสกี้กล่าวปิดท้าย

    อย่างไรก็ดี โรคอ้วนยังคงเป็นปัญหาแม้ว่าเด็กสาวที่มีน้ำหนักเกินในหลายประเทศจะได้รับการกระตุ้นให้ออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เพื่อให้มีร่างกายที่แข็งแรง และสามารถขจัดไขมันส่วนเกินออกได้ แต่ก็ไม่เสมอไปที่ข้อมูลดี ๆ เหล่านั้นจะได้รับการพิจารณาอย่างใส่ใจ เด็กหญิงบางคนยังคงมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารแบบเดิม และอ้วนขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง ซึ่งนั่นทำให้พวกเธอต้องแบกรับคำนินทาจากคนรอบข้าง ร่วมกับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น

    เรียบเรียงจากเฮลท์เดย์นิวส์
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ให้นมลูกเกิน 6 เดือน อานิสงส์ส่งถึงตอนโต
    Life & Family - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>14 มกราคม 2553 17:23 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> วิจัยเผย แม่ลูกอ่อนให้นมลูกเกิน 6 เดือน สามารถลดอัตราเสี่ยงในเรื่องของปัญหาสุขภาพยามบั้นปลายได้

    เป็นที่ทราบดีว่า น้ำนมแม่นั้นเป็นสิ่งที่มีค่ามากสำหรับลูกทุกคน ซึ่งนักวิจัย นักวิชาการและองค์กรต่างๆล้วนแล้วแต่สนับสนุนให้แม่เอาใจใส่เรื่องการให้นมบุตรมากที่สุด โดยผลการวิจัยล่าสุดจาก สถาบัน Telethon Institute for Child Health Research จากประเทศออสเตรเลียระบุว่า หากเด็กได้รับสารอาหารจากน้ำนมแม่นานกว่า 6 เดือน จะส่งผลดีไปถึงลูกจนโต

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพจาก www.askmen.com</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> ทั้งนี้ ทางทีมงานได้ศึกษาเด็กๆจำนวน 2,366 รายที่แม่ของพวกเขายินดีให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ซึ่งพบว่าเด็กแต่ละคนประสบปัญหาสุขภาพขณะที่พวกเขามีอายุเพียง 2 ขวบ 5 ขวบ 8 ขวบ 10 ขวบ และ 14 ปี

    อย่างไรก็ดี ทางทีมงานพบว่า การที่แม่ลูกอ่อนสามารถให้นมลูกได้นานเท่าที่จะนานได้ ซึ่งทางที่ดีควรมากกว่า 6 เดือนขึ้นไป จะส่งผลให้ลูกมีภูมิคุ้มกันและภูมิต้านทานมากขึ้นหลายเท่าตัว โดยจากผลการศึกษาพบว่า น้ำนมของแม่จะทำให้ลูกไม่ค่อยมีปัญหาสุขภาพเท่าไหร่หากเทียบกับเด็กคนอื่นๆ

    “การที่แม่สามารถให้นมลูกได้นานที่สุดนั้น นับเด็กได้รับประโยชน์จากแม่ที่มีค่าที่สุดเลยก็ว่าได้ เพราะพวกเขาจะมีภูมิคุ้มกันไปจนถึงตอนโต ไม่เป็นเด็กขี้โรคแน่นอน” ดร.เว็นดี้ อ๊อดดี้ หัวหน้าทีมวิจัยเผย

    ดร.เว็นดี้ ระบุว่า จากการสำรวจแม่และเด็กทั้งหมดพบว่า มีแม่อยู่ 11%ที่ไม่เคยให้นมลูกเลย ส่วนอีก 38% นั้น ยอมรับว่าเคยให้นมลูกแต่ให้น้อยกว่า 6เดือน แต่ยังโชคดีที่อีก 51% เผยว่าพวกเขาให้นมลูกมากกว่า 6 เดือน ซึ่งบางคนให้นานนับปีก็มี

    อย่างไรก็ตาม ทางทีมงานสามารถสรุปได้ว่า คนที่ให้นมลูกได้ไม่ถึง 6 เดือนนั้น ส่วนมากจะเป็นแม่ที่ยังมีอายุน้อย ฐานะไม่ค่อยดี การศึกษาไม่สูงมากนัก มีความเครียดสูง ยิ่งไปกว่านั้นส่วนหนึ่งมากจากการที่พวกเขามีอาการตกเลือด และกลุ่มคนเหล่านี้มักเป็นคนที่ชอบสูบบุหรี่มากกว่าแม่ที่ให้นมลูกนานกว่า 6 เดือน จึงส่งผลให้ลูกต้องประสบปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพตั้งแต่ยังเล็ก

    ส่วนทางด้านเด็กๆนั้น ทางทีมงานพบว่า ปัญหาที่พบในเด็กส่วนใหญ่คือ พัฒนาการของพวกเขาค่อนข้างล่าช้า พฤติกรรมก้าวร้าว และวิตกกังวล ซึ่งสวนทางกับเด็กที่กินนมแม่นานกว่า 6 เดือนอย่างชัดเจน เพราะเด็กกลุ่มนี้จะมีพัฒนาการดีมาก และสุขภาพจิตและกายแข็งแรงไม่แพ้กันด้วย

    ท้ายนี้ นักวิจัยเสริมว่า การที่แม่ให้นมลูกนานมากกว่า 6 เดือนนั้น ไม่ได้ทำให้ลูกแข็งแรงในช่วงวัยเด็กเท่านั้น แต่กลับส่งผลระยะยาวให้ลูกมีสุขภาพที่ดีไปจนพวกเขาโตอีกด้วย โดยเด็กเหล่านี้จะไม่ค่อยมีปัญหาสุขภาพแม้ว่าพวกเขาจะเข้าสู่วัยกลางคนก็ตาม ซึ่งจะส่งผลให้คุณภาพชีวิต สุขภาพทั้งจิตใจและร่างกายนั้นแข็งแรงมากขึ้นไปอีก

    เรียบเรียงจาก รอยเตอร์
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    บทความที่นำมาลงในโพสนี้ เป็นเพียงความเชื่อที่ยังหาหลักฐานมาประกอบความเชื่อไม่ได้

    แต่การปล่อยปลา เป็นสิ่งที่ดี เป็นการให้ชีวิตใหม่ครับ

    สำหรับการปล่อยปลา ต้องดูด้วยว่า สถานที่ปล่อยนั้น ปลาที่ปล่อยจะสามารถมีชีวิตอยู่ต่อไปได้หรือไม่ และปลาบางประเภทเช่น ปลาซัคเกอร์ ฯลฯ ห้ามนำไปปล่อย เนื่องจากปลาหลายๆอย่างของต่างประเทศ ไปมีผลต่อปลาพื้นเมือง

    การปล่อยปลาจึงต้องมีความรู้เรื่องของปลาอยู่พอสมควรครับ


    ------------------------------------------------------------------

    ปล่อยปลาแต่ละชนิดมีความหมายอย่างไร





    คุณรู้ไหมว่า...ปล่อยปลาแต่ละชนิดมีความหมายอย่างไร

    ปลาชนิดต่างๆ ซึ่งมีอยู่หลายชนิดนั้น แต่ละชนิดมีความหมายในการทำบุญแตกต่างกันไป ทำไปเพื่ออะไรบ้าง เรามารู้จักปลาชนิดต่างๆ และความหมายของปลาเหล่านี้กันคะ


    ความหมายของการปล่อยสัตว์

    ปลาไหล หมายถึง การเงิน การงาน การเรียนจะราบรื่น

    ปลาหมอ หมายถึง เพื่อสุขภาพ

    ปลาบู่ หมายถึง ทดแทนผู้มีพระคุณ

    ปลาดุก หมายถึง ศัตรูคู่แข่งแพ้พ่าย

    ปลานิล หมายถึง ทรัพย์สินเพิ่มพูน

    ปลาช่อน หมายถึง ช้อนเงินทอง สิ่งที่ซ่อนเร้นจะได้พบ

    ปลาทับทิม หมายถึง ทำอะไรราบรื่น

    ปลาสวาย หมายถึง เงินทองคล่องตัว

    ปลาขาว หมายถึง ปลานำโชค

    ปลาจารเม็ด หมายถึง จะได้เงินเต็มเม็ดเต็มหน่วย

    ปลาใน หมายถึง ได้เป็นเจ้าคนนายคน

    ปลาดุกเผือก หมายถึง ปลามงคล

    ปลาดำราหู หมายถึง สะเดาะเคราะห์

    ปล่อยกบ หมายถึง ขออุทิศให้แก่เจ้ากรรมนายเวร

    หอยขม หมายถึง ทิ้งความขมขื่น จะร่มเย็นเป็นสุข

    หอยโข่ง หมายถึง หนทางโล่งเป็นผู้นำ ข้าทาสบริวารมาก

    ตะพาบ หมายถึง ภัยคุกคามต่างๆจะราบ อัมพาตจะดีขึ้น อายุมั่นขวัญยืน

    สำหรับผู้ที่เกิดแต่ละวัน มีเคล็ดในการทำบุญต่าง ๆ กันไป ดังนี้

    บุคคลใดที่เข้าสู่เบญจเพศ อายุลงท้ายเลข 5 ,9 เช่น 25 29 35 39 45 49 55 59 เป็นต้น

    คนเกิดวันอาทิตย์ ให้ปล่อยปลาไหล

    คนเกิดวันจันทร์ ให้ปล่อยนก

    คนเกิดวันอังคาร ให้ปล่อยหอยขม

    คนเกิดวันพุธ ให้ปล่อยปลาไหล

    คนเกิดวันพฤหัส ให้ปล่อยเต่า

    คนเกิดวันศุกร์ ให้ปล่อยปลาหมอ

    คนเกิดวันเสาร์ ให้ปล่อยปลาไหล

    จำนวนสัตว์ที่ปล่อย ถ้ามีกำลังทรัพย์ ก็ให้มากกว่าอายุ สำหรับคนที่มีรายได้น้อยไม่สะดวกเรื่องเงิน ให้ถือเลขอายุลงท้ายเลขคู่ ให้ปล่อยสัตว์จำนวนเลขคี่ อายุลงท้ายเลขคี่ ให้ปล่อยสัตว์จำนวนเลขคู่

    อายุ 24 ปล่อยสัตว์จำนวน เลขคี่ 1 3 5 7 9 ...ฯลฯ

    อายุ 25 ปล่อยสัตว์จำนวน เลขคู่ 2 4 6 8 10 12 14 ... ฯลฯ

     

แชร์หน้านี้