หลักปฏิบัติเกี่ยวกับโลกุตตรธรรม ตอนที่ ๑.
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับโลกุตตรธรรม ตอนที่ ๒.
Buddhadharm
เสียงธรรม เป็นอยู่อย่างต่ำ / ท่านพุทธทาสภิกขุ
ในห้อง 'ธรรมเพื่อความหลุดพ้น' ตั้งกระทู้โดย supatorn, 4 สิงหาคม 2017.
หน้า 8 ของ 42
-
-
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับกรรมและการสิ้นกรรม ตอนที่ 1. . 3 เมษายน - 26 มิถุนายน 2514
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับกรรมและการสิ้นกรรม ตอนที่ 2.
ปัญหาเฉพาะหน้าของมนุษย์ยุคปัจจุบัน
Buddhadharm
-
โพธิหรือกิเลส
พุทธทาส อินฺทปญฺโญ ธรรมโฆษณ์ ๓๙.ค
ธรรมบรรยายต่อหางสุนัข ปฐมนิเทศ มหาวิทยาลัยต่อหางสุนัข
ธรรมบรรยายแก่ ภิกษุราชภัฎฯ สวนโมกขพลาราม 28 ตุลาคม2523 (20.30น.)
การฝึกจิตที่ยังไม่เจาะจงบรมธรรม
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับสติปัฏฐาน โพชฌงค์ วิมุตติ
Buddhadharm
-
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับอัฏฐังคิกมรรค วิสุทธิเจ็ด ไตรสิกขา
ธรรมโฆษณ์ ชุดโอสาเรตัพพธรรม ธรรมบรรยายประจำวันเสาร์
บรรยายโดย พุทธทาส อินฺทปญฺโญ
สวนโมกขพลาราม อ.ไชยา สุราษฎร์ธานี
3 เมษายน - 26 มิถุนายน 2514
บรมธรรมกับการรู้เท่าทันเนื้อหนัง
Buddhadharm
-
ฟ้าสางทางอริยวงศ์ /พุทธทาส อินฺทปญฺโญ.. 9 กรกฎาคม 2526
ฟ้าสางทางปรมัตถ์และ อภิธรรม
หลักปฏิบัติเกี่่ยวกับนิพพาน ตอนที่1.
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับนิพพาน ตอนที่ 2. .. 3 เมษายน - 26 มิถุนายน 2514
Buddhadharm -
ฟ้าสางทางสุคติ
หลักปฏิบัติดับทุกข์โดยอย่าให้กระแสปฏิจจสมุปบาทเกิดได้ ตอนที่ ๑.
หลักปฏิบัติดับทุกข์โดยอย่าให้กระแสปฏิจจสมุปบาทเกิดได้ ตอนที่ ๒.
หลักปฏิบัติดับทุกข์โดยอย่าให้กระแสปฏิจจสมุปบาทเกิดได้ ตอนที่ ๓.
ธรรมโฆษณ์ ชุดโอสาเรตัพพธรรม ธรรมบรรยายประจำวันเสาร์
บรรยายโดย พุทธทาส อินฺทปญฺโญ
สวนโมกขพลาราม อ.ไชยา สุราษฎร์ธานี 3 เมษายน - 26 มิถุนายน 2514
Buddhadharm
-
รูปโครงของพระพุทธศาสนา
เรื่องเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๑.
เรื่องเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๒
Buddhadharm
-
บรมธรรมกับอธิจิตตาโยค(การพัฒนาจิต)
บรมธรรมกับธรรมชาติของจิต
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับสมาธิวัตร
Buddhadharm
บรรยายโดย พุทธทาส อินฺทปญฺโญ
สวนโมกขพลาราม อ.ไชยา สุราษฎร์ธานี 3 เมษายน - 26 มิถุนายน 2514
-
บรมธรรมกับปูชนียวัตถุ
ฟ้าสางทางอุบาสก
Buddhadharm
-
-
-
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับศีลวัตร .. 3 เมษายน - 26 มิถุนายน 2514
Buddhadharm
-
ปีใหม่สามแบบ (๒๕๑๒)... ๑ มกราคม ๒๕๑๒
ชีวิตสังขตะและชีวิตอสังขตะ
Buddhadharm
ธรรมะ : เข้าพรรษาด้วยธรรมะชีวี - ท่านพุทธทาสภิกขุ
Dhamma Channel by Poonpunpunn
Jul 30, 2018
-
พุทธทาส ภิกขุ - การดับทุกข์อันเกิดจากธรรมชาติภายนอกที่ไร้เจตนา
Thai Bhikkhus
สันทิฏฐิโก
ดับทุกข์อันเกิดจากนิวรณ์-กิเลส
Buddhadharm
-
ธาตุที่อยู่ในรูปของอายตนะ
Buddhadharm
Oct 23, 2020 -
หนังสือคู่มือมนุษย์ โดยท่านพุทธทาสภิกขุ
ผู้จัดทำโดย : สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม
E-Book คู่มือมนุษย์ (ดาวน์โหลดไฟล์ PDF)
-- > https://kowit.org/.../uploads/2015/04/handbookformankind.pdf -
สวนโมกข์ อยู่ที่ไหน?
เป้าหมายของชีวิต
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ -BIA-
Jan 24, 2019
อะไรคือ "สิ่งที่ดีที่สุด" ที่มนุษย์คนหนึ่งควรจะได้ในชีวิตนี้ เรากำลังเดินทางไปที่ไหน เราตั้งเป้าหมายชีวิตคืออะไร เป้าหมายนั้นทำให้เรามีความสุขหรือทุกข์ คำถามที่มีคำตอบ...ที่นี่ -
คนคือใคร?
Buddhadharm
Oct 26, 2014
คนคือใคร ? ชุดใครคือใคร ? ธรรมบรรยายประจำวันเสาร์ ภาคอาสาฬหบูชา สวนโมกขพลาราม 1 กรกฏาคม 2521 ....
ปุถุชน
หนาด้วยความ เห็นแก่ตัว มั่วยึดมั่น
ว่าตัวฉัน ของฉัน มั่วมั่นหมาย
เป็นตัวตน นอกใน ใจหรือกาย
ตั้งแต่เกิด จนตาย ไว้เป็นตัว
ด้วยอำนาจ อวิชชา ดังตาบอด
เกิดขึ้นสอด ไปทุกกาล สถานทั่ว
ต้องหลงรัก หลงโศก เกิดโรคกลัว
เป็นไฟคั่ว ใจกาย ให้ร้อนรน
อย่างนี้แล เวียนว่าย ในวัฏฏทุกข์
ไม่เยือกเย็น เป็นสุข สักเส้นขน
เห็นตัวทุกข์ ว่าเป็น ตนของตน
นี่แหละหนา ปุถุชน คนหนาจริงฯ
พุทธทาส อินฺทปญฺโญ
-
ค่ายดับทุกข์ เรื่อง อานาปานสติโดยประสงค์ ตอนที่ ๕ - พุทธทาสภิกขุ
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ -BIA-
Feb 7, 2021
สาระโดยสังเขป -
เมื่อระงับจิตตสังขารได้ ก็จะได้รับความบันเทิง แล้วก็มีความพอใจ ศรัทธายินดี ศรัทธาในธรรมเป็นเครื่องดับทุกข์ เชื่อมั่นว่ามันมีความดับทุกข์ มีความดับทุกข์คือพระนิพพาน เมื่อรู้สึกหรือมุ่งหมายต่อสิ่งนี้มันก็บันเทิง มันก็ร่าเริง มันก็มุ่งหมายที่จะไปที่นั่นด้วยความพออกพอใจ ดังนั้น ความบันเทิงนี้มีได้หลายระดับ แต่ไม่ใช่บันเทิงอย่างทางกามารมณ์ หรือบันเทิงไอ้พวกกิเลส นี้มันเป็นธรรมะบันเทิง
สมาธิชนิดที่จะเป็นอริยสัมมาสมาธิมี ๓ ลักษณะ
- ลักษณะที่ ๑ บริสุทธิ์ ไม่มีสิ่งเศร้าหมองรบกวน ไม่มีกิเลสรบกวน ไม่มีนิวรณ์รบกวน
- ลักษณะที่ ๒ สมาหิโต ตั้งมั่นเหมือนกับก้อนหินหนักๆ ไม่มีอะไรกวน มันก็ตั้งมั่น ก็จะเห็นสิ่งทั้งหลายทั้งปวงตามที่เป็นจริง ที่เรียกว่า ยถาภูตญาณทัสสนะ ถ้าไม่ตั้งมั่นมันไม่เห็นไม่เกิดญาณนี้ ถ้ามันตั้งมั่นมันก็เกิดเอง ทำจิตให้เป็นสมาธิเถิดมันจะเกิดปัญญาเอง หากปัญญาย่อมมีแก่ผู้เคร่งฌานผู้มีฌาน ฌานย่อมมีแก่ผู้ปัญญา มันส่งเสริมแก่กันและกันกลับไปกลับมาอยู่อย่างนี้ การทำสมาธิมันก็มีที่อยู่ใน ๒ รูปแบบ อันหนึ่งสมาธิสำหรับเงียบสงบเป็นสุขไปเลย ไม่ต้องการรู้เห็นอะไรนั่นก็เป็นแบบหนึ่ง แต่สมาธิที่เราต้องการในที่นี้คือเห็นสิ่งทั้งหลายทั้งปวงตามที่เป็นจริง ไม่ใช่ไปหาความสงบสุขเยือกเย็นเป็นวันๆ ไปเสียเลยอย่างนั้น ไม่ก้าวหน้า ไม่ก้าวหน้า แต่มันก็มีประโยชน์อยู่เหมือนกัน มันมีความสุข หรือว่าเพราะมันมีความสุขชนิดนี้มันก็ช่วยให้ตั้งมั่นชนิดที่จะเกิดยถาภูตญาณทัสสนะ มันสงบระงับดี
- ลักษณะที่ ๓ คือ กัมมนีย แปลว่า สมควรแก่การกระทำการงาน การงานในที่นี้ก็หมายถึงทางจิต แต่จะให้ไปถึงทางกายทางวัตถุด้วยก็ได้
ลองดูสิ พอจิตเป็นสมาธิมันก็ควรทำการงานทั้งทางกายทางจิตแหละ แต่ในการปฏิบัติธรรมนี่เรามุ่งหมายทางจิต จะทำหน้าที่การงานทั้งทางจิต แต่ถ้าอยากจะยืมไปใช้ในทางกายทางวัตถุก็ได้เหมือนกัน ไถนานี้ถ้ามีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิมันก็ทำได้ดีกว่า จะตำน้ำพริกแกงในครัวถ้าจิตมันตั้งมั่นก็ทำได้ดีกว่า จะจักรสานจะทอเสื่อถ้าจิตตั้งมั่นทำได้ดีกว่า ควรแก่การงานทำได้ดีกว่า
๓ ลักษณะที่จะต้องสังเกตกำหนดไว้ให้ดีๆ อันที่ ๑ สะอาด อันที่ ๒ มันก็สงบ สงบ อันที่ ๓ ว่องไว คนโง่มันอาจจะคัดค้านอาตมาว่า ถ้าสงบแล้วจะว่องไวได้อย่างไร ถ้าสงบก็หยุดนิ่ง สงบ มันหมายความว่ามันไม่มีอะไรรบกวนบีบคั้น มันคล่องตัว มันคล่องตัว มันเข้ารูป มันว่องไว ว่องไวในการจะคิด จะนึก จะจด จะจำ จะระลึก จะตัดสินใจอะไรมันก็ว่องไว ว่องไวไปหมด
ภาษาสากลคือภาษาฝรั่ง เค้ามีคำว่า active ซึ่งมันว่องไว activeness ซึ่งมันมีความว่องไว active มันไม่งุ่มง่าม มันไม่ซุ่มซ่าม มันไม่ต้วมเตี้ยม มันว่องไวในหน้าที่ จิต active ที่สุดพร้อมที่จะทำการงานที่สุด จะพูดให้ง่ายๆ ก็ฟังให้ถูกพร้อมที่จะทำงาน พร้อมที่จะทำงาน ความพร้อมที่จะทำงาน ในภาษาบาลีมีสำนวนนิ่มนวลอ่อนโยน อ่อนโยนนิ่มนวลควรแก่การงาน อย่างนี้จิตไม่แข็งกระด้างจิตอ่อนไหวรวดเร็ว นิ่มนวลควรแก่การกระทำการงานทางจิต
พุทธทาสภิกขุ ที่มา อบรมปฏิบัติจิตตภาวนา ค่ายดับทุกข์ ปี พ.ศ. 2533 อานาปานสติโดยประสงค์ (หมวด 3-4) -
เรื่องต้องรู้หรือควรรู้ โดย พุทธทาสภิกขุ
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ -BIA
Jan 4, 2020
หน้า 8 ของ 42