เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. ชัยบวร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2011
    โพสต์:
    928
    ค่าพลัง:
    +1,642
    ได้รับทราบข่าวว่าเมื่อวันที่ 11 กรกฏาคม 2555 ที่ผ่านมา เกิดอะไรขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่นหรือครับ พอดีช่วงนี้ไม่ได้ติดตามข่าวสักเท่าไร ?

    คุณพระคุ้มครองครับ...
     
  2. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    นึกว่าจะเริ่มลดลงแล้วซะอีก

     
  3. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Daily Sun: 16 Jul 12 <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td></td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td></td> </tr> </tbody></table> Sunspot 1520 poses a continued threat for X-class solar flares. As the sunspot turns away from Earth, however, the chances of a geoeffective eruption are decreasing. Credit: SDO/HMI
     
  4. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table style="color: rgb(34, 34, 34); font-family: arial, sans-serif; font-size: 13px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: normal; letter-spacing: normal; line-height: normal; orphans: 2; text-indent: 0px; text-transform: none; white-space: normal; widows: 2; word-spacing: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px; background-color: rgb(204, 255, 204); display: table; " border="0" cellpadding="5" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td rowspan="1" colspan="1" style="margin: 0px; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif; text-align: right; font-size: 10pt; " align="right">July 17, 2012

    </td></tr></tbody></table><table style="color: rgb(34, 34, 34); font-family: arial, sans-serif; font-size: 13px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: normal; letter-spacing: normal; line-height: normal; orphans: 2; text-indent: 0px; text-transform: none; white-space: normal; widows: 2; word-spacing: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px; background-color: rgb(204, 255, 204); margin-bottom: 5px; display: table; " border="0" cellpadding="5" cellspacing="0" height="1166" width="100%"><tbody><tr><td rowspan="1" colspan="1" style="margin: 0px; font-family: 'Times New Roman', Times; background-color: rgb(153, 153, 0); font-size: 18pt; color: rgb(255, 255, 0); text-align: center; " align="center" bgcolor="#999900" width="99%">
    Huge Solar Flare and CME
    Off Western Limb of Sun
    </td></tr><tr><td rowspan="1" colspan="2" style="margin: 0px; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif; text-align: left; font-size: 10pt; " align="left">
    by Mitch Battros - Earth Changes Media
    Just as mentioned last night's interview on the Coast to Coast radio show, my thoughts of a large solar flare and CME has occurred. This happened just as three very active sunspot regions are rotating around the western limb of the Sun. It reminded me of the Nov. 3rd 2003 event. This one is much smaller, but has similarities as to location and action.

    This event most likely came from a collection of sunspotregions 1519, 1520, 1521. This was a long-duration event producing an M-class flare and partial halo CME (coronal mass ejection). To get the feel of this whooper, view the video below.

    This blast of charged particles caused a spike in the Proton Flux; you will also not a sharp elevation in the Electron Flux. It is hard to say if this will produce a glancing blow to Earth - we will know within the next 24-48 hours.

    </td></tr></tbody></table>
     
  5. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    July 18, 2012

    Diagram of the solar flare activity

    X-ray emission of the Sun from 17.07.2012 to 18.07.2012 (GOES-15)


    Solar flares today

    No solar flares of C, M and X-class were observed today
    Solar flares yesterday

    Yesterday, 3 solar flares were observed:

    <table class="table_4" cellpadding="0" cellspacing="0" width="750"><tbody><tr> <th width="1%"> </th> <th align="left" width="1%"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap"></td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.4</td> <td class="center">1521</td> <td class="center">04:03:00</td> <td class="center">04:15:00</td> <td class="center">04:21:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap"></td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.5</td> <td class="center">1521</td> <td class="center">05:52:00</td> <td class="center">06:05:00</td> <td class="center">06:10:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap"></td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class M1.7</td> <td class="center">1520</td> <td class="center">12:03:00</td> <td class="center">17:15:00</td> <td class="center">19:04:00</td></tr></tbody></table>
     
  6. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    SLOW EXPLOSION: Sunspot complex AR1520-1521 erupted on July 17th at 1715 UT. The M1-class explosion unfolded slowly over a period of hours. Slow explosions often produce CMEs, and this one was no exception; SOHO recorded the bright and massive cloud: movie. Update: According to a forecast track prepared by analysts at the Goddard Space Weather Lab, the CME will hit Venus on July 19th and could deliver a glancing blow to Earth on July 20th. Aurora alerts: text, voice.


    การระเบิดอย่างช้าๆ ในวันที่ 17 กค 12 - เวลาประมาณ เที่ยงคืนเมืองไทย ปกติระเบิดช้าๆ จะมี CME



    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids

    <table cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td background="graphics/middle.jpg" width="25">
    </td> <td background="graphics/back7.jpg" valign="top" width="540">
    <table cellpadding="2" width="540"><tbody><tr><td background="graphics/back5.jpg" width="540"><center>Latest Solar News and Updates </center></td></tr></tbody></table> 1520 Erupts + CME / Solar Update
    7/17/2012 by Kevin VE3EN at 21:10 UTC

    Updated 7/17/2012 @ 21:10 UTC
    Long Duration Eruption
    An eruption registering as a long duration M1.8 solar flare took place around Sunspot 1520 earlier today. A very bright Coronal Mass Ejection (CME) is seen billowing away off the southwest limb (video below). The plasma cloud was directed mostly towards the south and west. The latest WSA-Enlil Solar Wind Prediction has the CME narrowly missing Earth on July 20th. There is a small chance of a glancing blow impact.


    Radiation Storm Warning: Earthbound Proton Levels are on the rise following the eruption this morning. A moderate S2 Level Radiation Storm is currently in progress.


    Follow the latest updates and more on SolarHam Facebook. Don't forget to hit the LIKE button.
    </td></tr></tbody></table>
     
  7. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Global.png
      ขนาดไฟล์:
      38.1 KB
      เปิดดู:
      667
  8. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    คาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกโดยการสังเกตปฏิกริยาดวงอาทิตย์

    วันที่ 17 กรกฏาคม เวลา 15:54 UTC เกิดพายุสุริยะขนาดใหญ่ ซึ่งทิศทางไม่ตรงโลกแต่จะมีพลังงานบางส่วนมาที่โลก และมีการขยายตัวของจุดดับ ซึ่งโลกจะได้รับผลกระทบทางอ้อมประมาณวันที่ 20-21 กรกฏาคม และมีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวเป็นพิเศษ นอกเหนือจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง จากการคำนวณพบว่าพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกประมาณวันที่ 20 กรกฎาคม เวลา 16 UTC +/- 7 ชั่วโมง (เสาร์ที่ 21 กรกฎาคม ประมาณเที่ยงคืน)



    <table border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" width="200"> <tbody><tr><td class="rtecenter"></td> <td class="rtecenter"></td></tr></tbody> </table>
    ติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติโลกช่วงเดือน กรกฎาคม คศ 2012 - update 18 กรกฎาคม เวลา 1:50 UTC | Truth4Thai.org
     
  9. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791


    ลูกใหญ่มั๊กๆ :boo:

    รูปเดิมถูกลบไป ดีที่เก็บข้อมูลไว้ก่อน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • CME.jpeg
      ขนาดไฟล์:
      50.9 KB
      เปิดดู:
      1,007
  10. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
  11. นางไพจิตต์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    320
    ค่าพลัง:
    +956
    ..............................................................................
    เป็นทุกคนไหม.....หรือเป็นเฉพาะกลุ่ม...เพราะช่วงนี้เป็นมากจริงๆ อาการนี้..ป้องกันได้ไหม...จริงๆแล้วเหน็บแกนปิรามิดของหลวงพ่อ...ด้วย
     
  12. พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>พายุสุริยะ มหันตภัยใกล้กว่าที่คิด</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=middle align=left></TD><TD class=date vAlign=middle align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=middle align=left>โดย Taste</TD><TD class=date vAlign=middle align=left>18 กรกฎาคม 2555 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://manager.co.th/Taste/ViewNews.aspx?NewsID=9550000087771

    </TD><TD vAlign=middle align=left>




    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=670><TBODY><TR><TD vAlign=top width=670 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ดูหนังที่เกี่ยวกับพายุสุริยะมาก็หลายเรื่อง
    รอดูข่าวทีวีมาก็หลายรอบ แต่ไม่เห็นเกิดอะไรขึ้นเลย คิดว่าหลายคนคงมีความรู้สึก “เฉยๆ” กับปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นที่อาจไม่มีอะไรมากนอกเสียจากภาพท้องฟ้าสวยๆ ที่ส่องประกายออร่าแสงเขียว ที่เรียกกันว่า “แสงเหนือใต้” โบกสะบัด หรือภาพพระอาทิตย์พิโรธเหมือนลูกบอลโดนราดน้ำมันแล้วจุดไฟเผาลุกกลางอวกาศ

    เราเปิดนิตยสาร National Geographic ฉบับเดือนกรกฏาคม ได้พบข้อมูลที่น่าสนใจหลายประการจนอยากเอามาเล่าสู่กันฟัง อาจจะเพราะหน้าปกที่โคลสอัพดวงอาทิตย์ที่เกิดพายุสุริยะ กับ ตัวหนังสือตัวโตพาด “มหาพายุสุริยะ มหันตภัยใกล้ตัวกว่าที่คุณคาดคิด” ที่ทำให้เราสะดุดตาก็เป็นได้

    พายุสุริยะ คือ กระแสของอนุภาคพลังงาน สูงที่พัดมาจากดวงอาทิตย์ด้วยปริมาณและความเร็วสูงกว่าระดับปกติ อนุภาคนี้มีทั้งอิเล็กตรอนและโปรตอน เป็นตัวการทำให้เกิดแสงเหนือใต้ และพายุแม่เหล็ก ซึ่งส่งผลต่อดาวเทียม ยานอวกาศ

    และระบบสายส่งบนโลกปกติพายุสุริยะจะไม่ส่งผลโดยตรงต่อโลกและสิ่งมีชีวิตบนโลก เนื่องจากโลกมีบรรยากาศและสนามแม่เหล็กคุ้มกัน มีเพียงนักบินอวกาศที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในอวกาศเท่านั้นที่อาจได้รับอันตรายทั้งจากพายุสุริยะและรังสีจากดวงอาทิตย์


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=670><TBODY><TR><TD vAlign=top width=670 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=670><TBODY><TR><TD vAlign=top width=670 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ในอดีตพายุสุริยะเคยสำแดงฤทธิ์เดชให้เห็นแล้วหลายครั้ง เช่น ใน ปี 1859 พายุสุริยะทำให้สายโทรเลขลัดวงจรจนทำให้เกิดเพลิงไหม้หลายแห่งในยุโรปและอเมริกา และ ปี 1989 พายุสุริยะก็เคยทำให้หม้อแปลงของไฟฟ้าระเบิดจนทำให้ไฟดับทั่วทั้งควิเบกของแคนาดามาแล้ว

    นอกจากนี้ ดาวเทียมและยานอวกาศที่อยู่ในอวกาศก็อาจเสียหายจากพายุสุริยะได้ ในอดีตเคยมีดาวเทียมหลายดวงเสียหายจากเหตุการณ์นี้มาแล้ว

    เนื่องจากปัจจุบัน ชีวิตประจำวันของผู้คนต้องพึ่งพาเทคโนโลยีอวกาศมาก ทั้งโทรศัพท์ โทรทัศน์ การกระจายเสียงวิทยุ ระบบบอกพิกัด ฯลฯ ดังนั้นหากมีพายุสุริยะมาทำให้ดาวเทียมเหล่านี้เสียหายไป ก็ย่อมส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันของผู้คนอย่างแน่น

    คาร์ล ไชรเวอร์ นักดาราศาสตร์ในแคลิฟอร์เนีย ยอมรับว่า เราสามารถพยากรณ์ว่าดวงอาทิตย์จะทำอะไรล่วงหน้าได้เพียงไม่กี่วัน ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยพลาสมา เมื่ออะตอมแตกตัวกลายเป็นโปรตอนกับอิเล็กตรอนอิสระ อนุภาคมีประจุเหล่านี้ทำให้พลาสมากลายเป็นตัวนำไฟฟ้าชั้นเยี่ยม

    นอกจากนี้ ดวงอาทิตย์ยังเต็มไปด้วยสนามแม่เหล็กที่ซ่อนอยู่ใต้พื้นผิว แต่บางครั้งก็เผยตัวออกมาเป็นท่อที่มีขนาดใหญ่กว่าความกว้างของโลก และเป็นต้นเหตุของพลังลมสุริยะที่พ่นพลาสมาวินาทีละหนึ่งล้านตันออกมาด้วยความเร็ว 700 กิโลเมตรต่อวินาที


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=670><TBODY><TR><TD vAlign=top width=670 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=673><TBODY><TR><TD vAlign=top width=673 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ดังนั้น ดวงอาทิตย์จึงเป็นเสมือนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดมหึมา เส้นสนามแม่เหล็กที่โอบรอบจากขั้วสู่ขั้ว เส้นสนามแม่เหล็กย่อยที่พัวพันกับพลาสมาในเขตความร้อนมักบิดและงอจนทะลุพื้นผิวขึ้นมาให้เห็นเป็นบ่วงพลาสมาอันร้อนแรงเจิดจ้า เมื่อสองบ่วงชนกันอาจเกิดไฟฟ้าลัดวงจรและนำไปสู่ระเบิดครั้งใหญ่รุนแรงเท่าระเบิด TNT หลายร้อยล้านเมกะตัน

    ปรากฏการณ์พายุสุริยะที่คาร์ริงตันเมื่อปี 1859 เกิดอนุภาคที่มีประจุพุ่งเข้าสู่บรรยากาศโลกชั้นบน ก่อให้เกิดแสงเหนือใต้เข้มข้นที่เห็นได้เกือบทั้งโลก

    บางคนถึงกับคิดว่ากำลังเกิดอัคคีภัยลุกใหม้ทั่วทั้งเมือง! เหตุการณ์ครั้งนั้นถือเป็นการระเบิดที่รุนแรงครั้งหนึ่งในรอบหลายศตวรรษ เมื่อมนุษย์ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีที่ติดตั้งไว้ในอวกาศมากขึ้นเรื่อยๆ พายุสุริยะจึงสร้างความเสียหายได้อย่างใหญ่หลวง

    1) เมื่อภูมิอากาศขัดข้อง มีผลให้นักบินเที่ยวพาณิชย์ที่ในแต่ละปีต้องบินผ่านขั้วโลกเหนือกว่า 11,000 เที่ยวเกิดขัดข้องเนื่องจากวิทยุคลื่นสั้นที่ใช้ในการสื่อสารถูกรบกวน นักบินต้องเปลี่ยนเส้นทางบิน ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงถึงเที่ยวละ 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ

    2) ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ที่ปั่นป่วนจะรบกวนสัญญาณจีพีเอส ส่งผลให้การกำหนดพิกัดอาจผิดพลาดได้มาถึง 50 เมตร แท่นขุดเจาะน้ำมันลอยน้ำจะปรับตำแหน่งให้อยู่กับที่ได้ยากและนักบินยังไม่สามารถพึ่งพาระบบจีพีเอสที่ใช้ตามสนามบินต่างๆ ที่ใช้ในการลงจอดได้

    3) การลุกจ้าของดวงอาทิตย์ยังรบกวนการวงโคจรดาวเทียมด้วยการทำให้บรรยากาศร้อนขึ้นซึ่งจะเป็นการเพิ่มแรงดัน นาซาบอกว่าสถานีอวกาศนานาชาติลดระดับลงวันละ 300 เมตร นอกจากนี้พายุสุริยะยังอาจทำลายระบบอิเล็กทรอนิกส์ในดาวเทียมสื่อสารที่ลอยคว้างไปในวงโคจรจนใช้การไม่ได้

    4) หม้อแปลงขนาดใหญ่มักต่อสายดินลงพื้นโลกโดยตรง พายุสุริยะจึงอาจเหนี่ยวนำให้เกิดกระแสไฟฟ้าแปลงร้อนจัดจนลุกเป็นไฟหรือระเบิดได้ ความเสียหายรุนแรงถึงขั้นหายนะ จากพายุสุริยะที่เกิดขึ้นเมื่อปี 1921

    หากเกิดขึ้นวันนี้ จะทำให้ไฟฟ้าในทวีปอเมริกาเหนือดับไปกว่าครึ่ง คนหลายร้อยล้านต้องกลับไปใช้ชีวิตเหมือนสมัยที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้เป็นเวลาหลายสัปดาห์หรืออาจจะหลายเดือน


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=670><TBODY><TR><TD vAlign=top width=670 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=670><TBODY><TR><TD vAlign=top width=670 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ดังนั้น นักวิจัยจึงมุ่งพยากรณ์ความรุนแรงของพายุสุริยะและเวลาที่น่าจะมาถึง เพื่อเตรียมความพร้อมให้ระบบต่างๆ ที่อาจได้รับความเสียหาย ล่าสุดได้เริ่มใช้แบบจำลองคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ชื่อ “เอ็นลิล” ที่สามารถทำนายเวลาได้ช้าเร็วไม่เกิน 6 ชั่วโมง

    ซึ่งเมื่อ 8 มีนาคมที่ผ่านมา เอ็นลิลพยากรณ์ว่าพายุอาจมีขนาดใหญ่เกิดขึ้น ปรากฏว่าคลาดเคลื่อนไปเพียง 45 นาทีเท่านั้น พายุคราวนั้นเป็นแค่สายลมแผ่วๆ แต่คราวหน้าเราอาจไม่โชคดีอย่างนั้นอีก.


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=670><TBODY><TR><TD vAlign=top width=670 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=670><TBODY><TR><TD vAlign=top width=670 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=580><TBODY><TR><TD vAlign=top width=580 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right><TBODY><TR><TD width=5></TD><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300><TBODY><TR><TD vAlign=top width=300 align=center> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=GCjBgfOMaTs"]Coronal Mass Ejection - Lasco C2 (7/17/2012) - YouTube[/ame]
     
  14. rehacked เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2010
    โพสต์:
    1,191
    ค่าพลัง:
    +8,013

    ระเบิดได้ใหญ่มากกกกกกกกกกกกก
     
  15. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    จ๊ากมาอีกแล้ว

     
  16. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    จ๊ากมาอีกแล้ว

     
  17. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    จ๊ากมาอีกแล้ว

     
  18. Power of earth เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2012
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +1,105
    แรงขึ้นทุกวัน มันจะใกล้แล้วหรือ.....
     
  19. sunny430 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,299
    ค่าพลัง:
    +5,425
    ครานั้น น้ำท่วม กทม ไป ครั้งแล้ว
     
  20. Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    # FAST WARNING 'PRESTO' MESSAGE from the SIDC (RWC-Belgium) #
    #-----------------------------<wbr style="color: rgb(34, 34, 34); font-family: arial, sans-serif; font-size: 13px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: normal; letter-spacing: normal; line-height: normal; orphans: 2; text-align: -webkit-auto; text-indent: 0px; text-transform: none; white-space: normal; widows: 2; word-spacing: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px; background-color: rgb(255, 255, 255); ">---------------------------------------#
    NOAA AR 1520 (located at the west limb) has produced an M7.7 flare
    peaking at 05:58 UT. Associated to this flare there is a CME which seems
    to be directed to the west and will not reach Earth (only few images
    available at the moment) and a rapid increase of the proton fluxes at 50
    and 100 MeV. They may pass the 10 pfu threshold in the coming hours. The
    10 MeV proton flux is above the threshold since July 17.

    จุดดับ 1520 (อยู่ประมาณทางตะวันตกของขอบดวงอาทิตย์) ได้เกิดการระเบิด ระดับ M7.7 เวลาสูงสุด 5.58 UT<wbr style="color: rgb(34, 34, 34); font-family: arial, sans-serif; font-size: 13px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: normal; letter-spacing: normal; line-height: normal; orphans: 2; text-align: -webkit-auto; text-indent: 0px; text-transform: none; white-space: normal; widows: 2; word-spacing: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px; background-color: rgb(255, 255, 255); "> และระเบิดลูกนี้ได้มี CME ออกมาด้วย พุ่งตรงมาทางตะวันตก และจะไม่มาถึงโลก (มีแค่รูปไม่กี่รูปตอนนี้ที่มีอยู่) และมีการเพิ่ม proton flux ที่ 50 และ 100 MeV
     

แชร์หน้านี้