อาหารของอวิชชาและวิมุติ.
ความถูกต้องทั้งกายและจิต
หัวข้อธรรมที่้ต้องรู้และควรรู้ ๑.
Buddhadharm
เสียงธรรม ผัสสะ / ท่านพุทธทาสภิกขุ
ในห้อง 'ธรรมเพื่อความหลุดพ้น' ตั้งกระทู้โดย supatorn, 4 สิงหาคม 2017.
หน้า 7 ของ 41
-
-
ความกลัว โดย พุทธทาสภิกขุ
การเติมธรรมะลงในชีวิต(๑) โดย พุทธทาสภิกขุ
การเติมธรรมะลงในชีวิต(๒) โดย พุทธทาสภิกขุ
คนทุกคนในโลกคือคนๆ เดียวกัน
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ -BIA-
Mar 30, 2020 -
สืบสานปณิธาน ๑๑๓ ปีพุทธทาสภิกขุ
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ -BIA-
Jul 25, 2019
พุทธทาส จักอยู่ไป ไม่มีตาย
แม้ร่างกาย จะดับไป ไม่ฟังเสียง
ร่างกายเป็น ร่างกายไป ไม่ลำเอียง
นั่นเป็นเพียง สิ่งเปลี่ยนไป ในเวลา ...
ร่วม#สืบสานปณิธาน ๑๑๓ปี พุทธทาส
พระพุทธิสารเมธี (สุวิทย์ อชิโต ป.) เจ้าอาวาสวัดศรีทวี
พระสิทธิพร นรตฺตโม กองบรรณาธิการธรรมสาส์นชาวพุทธ วัดอุโมงค์ สวนพุทธธรรม
พระไพศาล วิสาโล เจ้าอาวาสวัดป่าสุคะโต
เมตตา พานิช ประธานธรรมทานมูลนิธิ
พระนวลจันทร์ กิตฺติปญฺโญ ผู้ก่อตั้งโครงการคีตธรรมภาวนา “เห็นธรรมเมื่อฮัมเพลง”
พระมานพ มานิโต วัดธารน้ำไหล (สวนโมกขพลาราม) พระภาวนาโพธิคุณ (โพธิ์ จนฺทสโร ) เจ้าอาวาสวัดธารน้ำไหล (สวนโมกขพลาราม)
พระราชธรรมนิเทศ (พยอม กัลยาโณ) เจ้าอาวาสวัดสวนแก้ว -
อายตนะสัมผัสให้เกิด สิ่งที่เรียกว่าขันธ์
Buddhadharm
ความมีจุดหมายปลายทาง - ท่านพุทธทาสภิกขุ
Siammelodies
Jul 30, 2020 -
อุปาทานดับ-ความทุกข์ดับ ๑.
Buddhadharm
" คนทำบาปกรรม เพราะขาดสัมมาทิฏฐิ " โดย พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)
วัดชลประทานรังสฤษดิ์ พระอารามหลวง
May 27, 2020 -
ประโยชน์ของวันปวารณาและเทโวโรหณะ.
Buddhadharm
ชีวประวัติ 100 ปี ชาตกาล
Dhamma Talk
-
พุทธทาส ภิกขุ - สังขารและวิสังขาร
พุทธทาส ภิกขุ - ธรรมะที่รักษาใจไม่ให้หลงยินดียินร้าย
พุทธทาส ภิกขุ - สิ่งที่เรียกว่ากาลามสูตร
Thai Bhikkhus
Feb 11, 2017
แผนกเผยแผ่พระพุทธศาสนา สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
The Council of Thai Bhikkhus in the U.S.A.
พุทธมงคลรัตน์ เพื่อพุทธศาสตร์ วัดมงคลรัตนาราม ฟอร์ท วัลตัน บีช รัฐฟลอริดา -
พุทธทาส ภิกขุ - สิ่งที่เรียกว่าสังสารวัฏฏ์
พุทธทาส ภิกขุ - การมีชีวิตอยู่โดยไม่ต้องมีอายุ
Thai Bhikkhus
ทำความรู้จักสวนโมกขพลาราม สุราษฎร์ธานี 2017
SuwannaphoomShow
May 27, 2020
เส้นทางสู่อริยะ ละความหลง ๓ อย่าง
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ -BIA-
Jun 14, 2015
-
ทรัพย์สมบัติคืออะไร - ท่านพุทธทาสภิกขุ
Siammelodies
Sep 22, 2020
ความฉลาดที่อันตราย - พุทธทาสภิกขุ
ศีลข้อเดียวพอ - พุทธทาสภิกขุ
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ -BIA-
-
ศีลและพรที่ดี คือเกลียดชั่วกลัวบาป
Buddhadharm
ธรรมะสำหรับผู้แรกศึกษา โดย พุทธทาสภิกขุ
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ -BIA
Apr 14, 2019
เนื้อหาบรรยาย : ธรรมะคือทุกสิ่ง / ธรรมะคือหน้าที่ / ชีวิตที่สมดุลต้องเทียมด้วยสัตว์ ๒ ตัว ถามตอบ
๑. ผู้ที่ไม่ประกอบอาชีพเป็นคนที่เลวมากไหม
๒. พระภิกษุที่ถูกต้องเป็นอย่างไร
๓. ภิกษุที่ถูกต้องต้องทำประโยชน์ให้แก่ผู้สนใจอย่างไร
๔. ความดีกับความยุติธรรมมีส่วนดีอย่างไรบ้าง
๕. เรื่องพระศรีอาริย์
๖. ตายแล้วไปไหน ชาติหน้ามีจริงหรือเปล่า
๗. สวรรค์ - นรก มีจริงไหม
๘. การล่องหนหายตัวได้
๙. จิตประภัสสรกับจิตพระอรหันต์แตกต่างกันอย่างไร
๑๐. นิกายเซนกับจิตประภัสสรตายตัว
๑๑. อนาคตังสญาณ
๑๒. ประโยชน์ของอนาคตังสญาณ
๑๓. การอนุโมทนาส่วนบุญของผู้อื่น
๑๔. สิ่งแทรกแทรงขณะภาวนา
๑๕. การเห็นภาพขณะภาวนา
-
การเดินทางมาปฏิบัติธรรม ณ สวนโมกข์นานาชาติ จ.สุราษฎร์ธานี สวนโมกขพลาราม ร่วมกับ ธรรมทานมูลนิธิ จัดให้มีการอบรมสมาธิภาวนาแบบอานาปานสติ ซึ่งเป็นวิธีที่พระพุทธองค์ทรงปฏิบัติจนตรัสรู้ และทรงแนะนำให้ศึกษาปฏิบัติให้มาก เพราะอำนวยประโยชน์ทั้งด้าน ความสงบ (สมถะ) และ ความรู้รอบ (วิปัสสนา) สำหรับผู้สนใจศึกษาธรรมะ และต้องการปฏิบัติจนเห็นผลด้วยตนเอง จุดประสงค์ของการอบรม เพื่อชี้แนะหลักธรรมที่เป็นหัวใจพระพุทธศาสนา ที่สามารถนำไปใช้ แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้จริง และเพื่อฝึกปฏิบัติอานาปานสติภาวนา จนสามารถสัมผัสความสงบเย็นภายใน และความเป็นอิสระของจิตใจ อันเกิดจากความประจักษ์ในสัจธรรม
กำหนดการอบรม วันที่ ๑๙-๒๗ ของทุกเดือน (เข้าที่พักวันที่ ๑๙ ก่อนเวลา ๑๔.๐๐ น. กลับ วันที่ ๒๗ ก่อนเวลา ๑๐.๐๐ น.) โดยผู้ที่เข้าอบรม ต้องเดินทางมาถึงสถานที่อบรม (สวนโมกข์นานาชาติ) ในวันที่ ๑๙ ภายในเวลา ๑๕.๐๐ น. เพื่อรับฟังการแนะนำสถานที่และระเบียบความเป็นอยู่ (จึงจำเป็นต้องมาเวลานี้)
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
๑. มีอายุ ๒๐ - ๖๕ ปี ทุกสาขาอาชีพ (ผู้ที่อายุต่ำ/สูงกว่าที่ระบุอาจพิจารณาอนุญาตตามความเหมาะสม)
๒. มีความตั้งใจจริงและศรัทธาที่จะรับการอบรม
๓. พร้อมและเต็มใจที่จะรักษาและปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนด
๔. ให้ความร่วมมือในการรักษาความสงบ ด้วยการงดพูดคุยสนทนา
๕. ไม่มีโรคประจำตัวที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติธรรม ทางกาย/จิต
๖. พร้อมที่จะอุทิศเวลา ตลอดการอบรม เพื่อการศึกษาและการปฏิบัติธรรม
ความเป็นอยู่ : การใช้ชีวิตเป็นอยู่ ณ ธรรมาศรมนานาชาติ ซึ่งเป็นชุมชนแห่งพุทธะ (ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน) ชุมชนแห่งสันติสงบร่มเย็น และการฝึกฝนพัฒนาตนเอง จึงใช้แนวทางที่ท่านอาจารย์พุทธทาส ให้ไว้สำหรับผู้ปฏิบัติธรรมที่สวนโมกข์ กล่าวคือ "กินอยู่อย่างต่ำ มุ่ง กระทำอย่างสูง", "เป็นอยู่อย่างง่าย มุ่งกระทำสิ่งที่ยาก" และใช้ชีวิต ใกล้ชิดกับธรรมชาติมากที่สุด ดังนี้
๑. รับประทานอาหารวันละ ๒ มื้อ (งดเว้นเนื้อสัตว์) วันที่ ๒๕ จัดให้ฝึกเข้าอยู่อุโบสถศีล โดยรับประทานอาหาร เพียงมื้อเดียว
๒. ฝึกหัดการนอนด้วยหมอนไม้ พร้อมเครื่องนอนที่เรียบง่ายที่สุด ฝึกการใช้ชีวิตเท้าเปล่า ไม่สวมรองเท้า
๓. ใช้ชีวิตอยู่กับตัวเองโดยลำพัง เพื่อให้สามารถศึกษา เรียนรู้ เข้าใจภาวะจิตใจของตัวเองได้อย่างเต็มที่ ตลอดเวลา
๔. ใช้เวลาของชีวิตให้คุ้มค่ามากที่สุด ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรม ทุกกิจกรรม และฝึกฝนอบรมตนเองตลอดเวลา ของการอบรม
๕. ใช้ชีวิตด้วยความสงบเย็น ผ่อนคลาย ไม่เคร่งเครียดเร่งร้อน ใกล้ชิดธรรมชาติให้มากที่สุด เพื่อเรียนรู้สภาวะ แห่งความสมดุลพอเหมาะพอดี ในทุก ๆ การกระทำแห่งการดำเนินชีวิต
ข้อพึงปฏิบัติ
๑. อยู่ร่วมตลอดการอบรม เข้าร่วมทุกรายการและตรงต่อเวลา
๒. งดติดต่อบุคคลภายนอก และไม่ออกนอกบริเวณที่อบรม
๓. งดการพูดคุยกับผู้ปฏิบัติอื่น มีปัญหากรุณาถามวิทยากรหรือเจ้าหน้าที่
๔. ไม่นำอาหารหรือของกินอย่างอื่นติดตัวมา ควรรับประทานอาหารเฉพาะ ที่จัดให้ เพื่อความเป็นอยู่อย่างง่าย
๕. ตั้งใจปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างถูกต้อง ด้วยความกระตือรือร้น
๖. ไม่คาดหวังเกินไปจนเคร่งเครียด ปฏิบัติด้วยความผ่อนคลาย
๗. งดส่งเสียงดังทุกกรณี และมีความเกรงใจผู้อื่น
๘. มีสติในทุกอิริยาบถ ทำงานและกิจวัตรทุกอย่างให้เป็นการปฏิบัติธรรม
๙. งดใช้เครื่องประดับของมีค่า ฯลฯ และไม่ควรนำติดตัวมา
ของใช้จำเป็นที่ต้องเตรียมมา
๑. เสื้อตัวยาวคลุมสะโพก ไม่รัดรูป ไม่บาง (ไม่ใช้เสื้อผ้าแขนกุด) ผ้านุ่งหรือ กางเกงขายาว สีสุภาพ (ไม่นุ่งขา สั้น)
๒. ผ้าสำหรับเปลี่ยนอาบน้ำ (ผู้ชาย-ผ้าขาวม้า/ผู้หญิง-ผ้าถุงสีเข้ม ๒ ผืน)
๓. กางเกงยืดขายาว สำหรับฝึกกายบริหารกาย-บริหารจิต
๔. ยาทากันยุง
๕. ไฟฉาย, ร่ม
๖. ยา (หากมีโรคประจำตัว)
๗. ถุงย่าม หรือถุงผ้า (ไม่ใช้ถุงพลาสติก)
กำหนดการประจำวัน
๐๓.๓๐ - ๐๔.๑๕ น. ทำวัตรสวดมนต์เช้า
๐๔.๑๕ - ๐๕.๔๕ น. นั่งสมาธิ
๐๕.๔๕ - ๐๖.๑๕ น. ธรรมะรับอรุณ
๐๖.๑๕ - ๐๗.๑๕ น. กายบริหาร (ออกกำลังกาย)
๐๗.๑๕ - ๐๘.๐๐ น. ฝึกปฏิบัติอานาปานสติภาวนา
๐๘.๐๐ - ๑๐.๐๐ น. อาหารเช้า, งานอาสาสมัคร, พักผ่อน
๑๐.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. ฝึกปฏิบัติอานาปานสติภาวนา
๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. ธรรมบรรยาย
๑๒.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. อาหารกลางวัน, พักผ่อน
๑๔.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. เทปอานาปานสติ
๑๕.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ฝึกปฏิบัติอานาปานสติภาวนา
๑๖.๓๐ - ๑๗.๓๐ น. แนะนำเทคนิคการปฏิบัติ/ธรรมบรรยาย
๑๗.๓๐ - ๑๙.๓๐ น. ดื่มน้ำปานะ พักผ่อน
๑๙.๓๐ - ๒๐.๓๐ น. ฝึกปฏิบัติเดินจงกลม
๒๐.๓๐ - ๒๑.๐๐ น. ฝึกนั่งสมาธิ
๒๑.๐๐ - ๐๔.๐๐ น. พักผ่อน
สถานที่ติดต่อ ๖๘/๑ หมู่ ๖ ต.เลม็ด ไชยา สุราษฎร์ธานี 84110 ประเทศไทย
๐–๗๗๔๓–๑๕๙๖, ๐–๗๗๔๓–๑๖๖๑–๒, ๐–๗๗๔๓–๑๕๙๗
สำหรับท่านที่สนใจกิจกรรม สวนโมกข์กรุงเทพ ดูรายละเอียดกิจกรรมได้ที่เว็บไซต์ https://register.bia.or.th/ -
สันทิฏฐิกธรรมเกี่ยวกับกิเลส
มรรคมีองค์ ๘ หนทางอันถูกต้อง.
มรรคมีองค์ ๘ หนทางอันถูกต้อง พุทธทาส อินฺทปญฺโญ
อาสาฬหบูชาเทศนา ๒๕๒๒ วันแห่งพระธรรม กัณฑ์ที่ ๓. ภาคดึก
สวนโมกขพลาราม ๙ กรกฏาคม ๒๕๒๒
บรมธรรมกับระบบการเมือง
Buddhadharm
-
ความเห็นแก่ตัวน่ากลัวนัก. .. ๒๐ มีนาคม ๒๕๓๑
พระพุทธเจ้าตรัสกับคนบ้า ตอนที่ ๑.
Buddhadharm More ;- https://www.youtube.com/user/Buddhadharm -
การบังคับจิตระบบอื่นนอกพุทธศาสนา .. อบรมพระนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีพรรษา พ.ศ.๒๕๑๒ สวนโมกขพลาราม ๒๒ พฤกษาคม ๒๕๑๒
วิธีการก้าวขึ้นเหนือความเป็นปุถุชน.. อบรมพระภิกษุราชภัฏ สวนโมกขพลาราม 18 ตุลาคม 2524
Buddhadharm
-
โลกมนุษย์จะสิ้นสุดมนุษยธรรม
ฟ้าสางทางความสะอาด สว่าง สงบ ตอนที่ ๑.
Buddhadharm
พุทธทาส อินฺทปญฺโญ ธรรมบรรยายประจำวันเสาร์ ภาคอาสาฬหบูชา สวนโมกขพลาราม 16 กรกฎาคม 2526
-
บรมธรรมกับการพูดไม่รู้เรื่อง
บรมธรรมกับความเป็นไทย
บรมธรรมกับกามวัตถู
บรมธรรมกับการเกิดของฮิปปี้
Buddhadharm
-
มหาวิทยาลัยต่อหางสุนัข
Buddhadharm -
วิภัชชวาท ขณิกวาท และ ฆนิกวาท สัสสตวาท
เชื่อดีกว่าไม่เชื่อ-ไม่เชื่อดีกว่าเชื่อ
Buddhadharm
-
โรงมหรสพทางวิญญาณ
มหรสพทางวิญญาณ เพื่อความเพลิดเพลิน ทางวิญญาณ ด้วยรสแห่งธรรมะ เป็นสิ่งจำเป็นต้องมี เพื่อแทนที่ มหรสพทางเนื้อหนัง ที่ทำมนุษย์ให้เป็น ปีศาจ ชนิดใดชนิดหนึ่ง อยู่ตลอดเวลา.
มนุษย์ต้องมีความเพลิดเพลิน (Entertainment) เป็นปัจจัยที่ห้าของชีวิต จำเป็นที่จะต้องจัดหาให้ ให้ดีๆ.
Click :- http://www.rosenini.com/spiritualtheatre/ -
ฟ้าสางทางฝ่ายบรรพชิต
ฟ้าสางทางภาษาพูด,การสวดมนต์และ มังสวิรัติ
บรมธรรมในฐานะเป็นที่หยุดการดิ้นรนของจิต
Buddhadharm
หน้า 7 ของ 41