พลังจิตหยั่งรู้อนาคต...สนธิ-ทักษิณ--การบาดเจ็บนองเลือด--ม๊อบการเมือง

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย WebSnow, 23 กุมภาพันธ์ 2006.

  1. chura เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    688
    ค่าพลัง:
    +1,971
    ก็เห็นแต่พวกนักศึกษา นักวิชาการ ที่ออกมาตำหนิ คุณเห็นนักธุรกิจเค้าออกมาด่ากันบ้างมั๊ย ถ้าคุณทันยุคที่ ปชป บริหารประเทศคุณจะรู้ว่าประเทศชาติ
    ตกต่ำเพียงรัย เราโดนต่างชาติยึดอะไรไปบ้างกว่าจะมาทวงคืนได้ก็ยุคทักษิณเนี่ยแหละ ยาเสพติดก็ปราบปรามในยุคทักษิณเนี่ยแหละ ผมไม่เห็น ปชป จะมี
    น้ำยา ปราบปรามได้นอกจากโชว์เสพยาบ้าออกทีวี ขำกันฮาแตก ทั่วบ้านทั่วเมือง
    ลองคิดดูว่าถ้าลูกหลานเรา ติดยาเสพติดกันทั่วประเทศอนาคตประเทศชาติคงไม่เหลือ อะไรไว้แล้วครับ เอาไว้วันนึงคุณหางานทำไม่ได้ตกงาน คุณคงจะคิดถึงทักษิณ เข้าซักวัน .................. คนเรามีดีมีชั่วครับ ถ้าเค้าทำตามกฎกติกา แม้ว่าจะไม่ถูกใจแต่มันเป็นกติกาสากลที่ควรยอมรับ ....... ทุกอย่างควรดำ
    เนินทางสายกลาง ไม่มีใครดีไปหมดหรือชั่วไปหมดหรอกครับ ไม่มองสิ่งดีๆที่เค้า
    ทำเอาไว้ มองเห็นแต่ความชั่วของเค้า ....... ความเลวเค้าดังขุนเขา ความชั่วเรา
    เท่าหนวดเต่า ............
     
  2. ผู้พ่ายแพ้ขันธ์ 5 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กันยายน 2004
    โพสต์:
    50
    ค่าพลัง:
    +64
    ไม่ได้มาเสนอความคิดขอรับ

    แต่รู้สึกว่าคุณเว็ปสโนว์ OK จะใช้คำผิดนะขอรับ ตรงที่หัวข้อกระทู้เลยขอรับให้ดูคำว่า อนาคตสังญาณจริงๆแล้วน่าจะเป็น อนาคตังสญาณรึป่าวขอรับ ...ผมลองsearch ดูใน Google คำว่า อนาคตสังญาณ ไม่มีเลย!...แต่คำว่า อนาคตังสญาณ เพียบ
    หากว่าที่ข้าพเจ้าพูดไม่ถูกต้องก็ขออภัยด้วยขอรับ
     
  3. piaprakhueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    2,022
    ค่าพลัง:
    +2,500
    สาธุ ๆ ๆ หลวงพ่อเคยบอกเอาไว้ว่าคนป่าจะมาเป็นนายกและจะมาสร้างความเจริญให้กับประเทศไทย ไม่ใช่คนกรุงนะครับ มีแต่ทำลาย คงเป็นท่านนายกทักษิณแน่นอน
     
  4. yaring เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2006
    โพสต์:
    174
    ค่าพลัง:
    +155
    นี่ไม่ใช่เรื่องการเมืองเพียงอย่างเดียวนะครับ
    แต่เป็นเรื่องของคนทั้งชาติ

    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=29716
     
  5. wong3210 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    553
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +3,392
    <TABLE class=MsoNormalTable style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 0cm; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #e0dfe3; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #e0dfe3; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #e0dfe3; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top>


    ขวางคิ้วแล้วเปลือยกระบี่-เหิงเหมยเจี้ยนชูเชี่ยว
    บทกวีมีพลังมากกว่าร้อยแก้ว

    บทกวีมีจุดที่แตกต่างจากร้อยแก้วตรงที่ บทกวีเป็นการใช้ถ้อยคำที่จำกัด สื่อสร้างจินตนาการที่ไม่จำกัด

    บทกวีกับบทพรรณนาร้อยแก้วสามารถให้ภาพได้ แต่ก็มีจุดต่างตรงที่ ในกวีมีภาพ ในภาพมีกวีบทกวีใช้ถ้อยคำที่จำกัด สร้างภาพในจิตให้ผู้อ่านเห็น ผู้อ่านฟังสะเทือนอารมณ์ เช่นเดียวกับที่เมื่อได้ชมภาพดีๆ ก็จะสะเทือนใจเช่นเดียวกับอ่านหรือฟังบทกวีดีๆ

    บทกวีนั้นมีพลัง และจำเป็นอย่างยิ่งในสถานการณ์ที่ถูกสกัดกั้นการเผยแพร่ความคิดโดยผู้กุมอำนาจ

    บทกวีมีพลังอย่างยิ่งในการปลุกเร้าพลังสู้รบ ทำนองเดียวกับดนตรีที่สร้างความฮึกเหิมหาญในการสงคราม

    บทกวีอมตะมากมายมีเนื้อหาเล่าถึงการต่อสู้
    โดยเฉพาะการต่อสู้ระหว่างความเป็นธรรมกับอธรรม การต่อสู้ระหว่างผู้ถูกกดขี่กับผู้กดขี่

    ในนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก พวกชาวนาที่ลุกขึ้นสู้กับราชสำนักตงฮั่น ถูกมองว่าเป็นผู้กบฏ ราษฎรมีหน้าที่จำยอมให้ชนชั้นปกครองกดขี่ขูดรีดตลอดไป ราษฎรกลุ่มใดกล้าลุกขึ้นต่อต้านชนชั้นปกครอง คือพวกกบฏ ในนิยายสามก๊กจึงเรียกกลุ่มชาวนาที่ก่อการลุกขึ้นสู้ว่า โจรพวกเขาโพกผ้าเหลืองเป็นเครื่องหมายรู้กัน จึงถูกเรียกว่าโจรโพกผ้าเหลือง

    กองทัพผ้าเหลืองคือคำที่พวกเขาเรียกตัวเอง และพวกเขาก็มิใช่ว่าจะเกิดขึ้นมาโดยไม่มีพื้นฐาน ก่อนหน้านี้มีประเพณีที่ราษฎรจีนลุกขึ้นโค่นล้มชนชั้นปกครองมาหลายครั้งแล้ว ความคิดพื้นฐานเรื่องนี้มีปรากฏมาตั้งแต่สมัยปรมาจารย์ขงจื้อแล้ว และเม่งจื้อได้นำเสนอให้ประเด็นนี้โดดเด่นยิ่งขึ้น

    ก่อนหน้าเกิดกองทัพผ้าเหลือง 70-80 ปี มีการลุกขึ้นสู้ของชาวนาขนาดใหญ่บ้างเล็กบ้าง รวมกันถึงกว่าร้อยครั้งในท้องที่ต่างๆ ในการลุกขึ้นสู้เหล่านี้เกิดเนื้อเพลงพื้นบ้านแพร่หลายกันมาก มีบางเพลงยังสืบทอดเนื้อเพลงมาถึงทุกวันนี้ เช่น

    ผองชนผมเหมือนหญ้า กล้อนเกศาก็งอกใหม่
    ศีรษะประชาไซร้ ถึงตัดไปก็งอกงาม
    เหมือนไก่ถูกกุดหัว ตัวใหม่มันมาขันตาม
    ขุนนางอันแสนทราม ผองประชาจงอย่ากลัว ๏
    (
    กวีนิรนาม ยุคราชวงศ์ตงฮั่น)

    ย้อนไปถึงยุคก่อนหน้าท่านขงจื๊อ ราษฎรชาวนาก็ต้องยอมทนแบกรับการกดขี่ขูดรีด ยอมรับความเลวของชนชั้นปกครอง

    ทนไม่ไหวก็หาทางโยกย้ายบ้านหนีไปหักร้างถางพงหาที่อยู่ใหม่
    แต่ถ้าหนีไม่พ้น ถูกทำร้ายหนักหนาสาหัสเข้าก็จะยอมตายเหมือนบทกวีข้างต้น

    บทกวีต่อไปนี้เป็นบทหนึ่งในรวมบทกวีซือจิงที่ขงจื๊อเป็นบรรณาธิการชำระคัดสรร

    หนูหลวง
    หนูใหญ่หนูหลวง อย่ากินข้าวรวง
    หลายปีขุนเจ้า บ่คิดคุณค่า
    ปักใจลาเจ้า สู่ดินหรรษา
    ดินสุขดินชื่น จึ่งเป็นบ้านข้า
    หนูอ้วนหนูพี อย่ากินข้าวสาลี
    หลายปีขุนเจ้า บ่คิดคุณข้า
    สาบถจากเจ้า ไปเมืองหรรษา
    เมืองร่มเมืองเย็น จึ่งเป็นถิ่นข้า
    หนูใหญ่หนูโต อย่ากินต้นกล้า
    หลายปีขุนเจ้า บ่แทนคุณข้า
    สาบานจากเจ้า ไปแดนหรรษา
    ณ แดนสุขชื่น ใครเล่าจักสะอื้นกลืนน้ำตา๏

    จีนเขามีค่านิยมสืบทอดมาอย่างนี้ แม้ล่วงมายุคใกล้ ก็มีตัวอย่างที่โดดเด่น เช่น เหมาเจ่อตง ผู้เป็นทั้งนักปฏิวัติ นักการทหาร นักการเมือง และเป็นกวีที่ยอดเยี่ยม (โดยแท้)

    ในงานรำลึกท่านโจวเอินไหล อดีตนายกรัฐมนตรีผู้ล่วงลับ มวลชนเขียนกวีรำลึกถึงท่านและโจมตีแก๊งสี่คน (ขบวนการซ้ายจัด นำโดย นางเจียงชิง เหยาเหวินหยวน เป็นต้น )

    บทกวีที่โดดเด่นชิ้นหนึ่งที่ปลุกเร้าใจได้ดีเหลือเกินคือ
    ๏ ชนสลด แต่ปีศาจกู่ร้อง
    ข้าร่ำไห้ แต่สัตว์ร้ายยิ้มหัว
    สาดน้ำตา บูชารัฐบุรุษ
    ข้าขวางคิ้ว แล้วเปลือยกระบี่๏

    ขวางคิ้ว-เหิงเหมย เป็นอาการบ่งบอกถึงความเอาจริงเอาจัง
    การตัดสินใจเด็ดเดี่ยว

    เปลือยกระบี่ออกจากฝัก-เจี้ยนชูเชี่ยว
    เป็นการอาการบ่งบอกถึง คราวนี้ไม่ชนะ ไม่เลิกสู้ จนกว่าจะตาย

    ปรมาจารย์เล่าจื๊อให้คำตอบไว้ว่า
    ประชาชนปกครองยาก เพราะรัฐยุ่งเกี่ยวกับชีวิตพวกเขามากเกินไป
    ประชาชนเห็นความตายเป็นเรื่องเล็กน้อย
    เพราะนักปกครองมีความเป็นอยู่ฟุ่มเฟือยหรูหราเกินไป
    (
    คัดจากหนังสือปรัชญาจีนโดย น้อย พงษ์สนิท)<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  6. jakchan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    29
    ค่าพลัง:
    +158
    ข้อมูลนี้ใช้เพื่อเป็นการศึกษา เป็นความรู้เผื่อใครเข้าถาม
    จะได้มีวิสัยทัศน์ ไม่อายเข้านะ เพราะมันเป็นเรื่องที่
    คนไทยต้องรู้ แต่จะเห็นด้วยหรือไม่นั้นมันอีกเรื่องหนึ่งนะ
    http://www.hs604.com/forum/forum_posts.asp?TID=591&PN=1
     
  7. goldbell เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    183
    ค่าพลัง:
    +1,340
    ความจริง

    สนธิและม็อบมีคนหนุนหลังคือพวกที่เสียผลประโยชน์จากธุรกิจเถื่อนเช่น ค้ายาเสพติด ค้าอาวุธสงคราม ผู้มีอิทธิพลทั้งหลายเพราะนายกทักษิณปราบไปเยอะฃอให้สนธิและพวกชุมนุมจงฉิบหายเถิด [b-wai]
     
  8. KomAon11 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    4,803
    ค่าพลัง:
    +18,983
    โอย ถ้าได้เงินมาจริงๆ จะไม่อดตาหลับ ขับตานอน ไปทำอะไรเมื่อยๆ ต่อสู้ให้ยากลำบาก ...

    คิดตื้นๆเลยนะ ... อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ทุกมหาวิทยาลัย พร้อมใจกันโง่ "ไล่ทักษิณ" พร้อมกัน .. ต้องบอกว่า ...น่าแปลกใจ
     
  9. dearestguardian เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    306
    ค่าพลัง:
    +1,418
    ก่อนอื่นข้าพเจ้าต้องขออภัยและขออโหสิกรรมแก่ผู้ที่อ่านข้อความนี้หากสิ่งนี้นำมาซึ่งความขัดเคืองใจแก่ผู้อ่านก็ขออโหสิกรรม
    วิสัยผู้ปรารถนาพุทธภูมิ (อ้างอิง หลวงพ่อฤๅษี ลอกจากกระทู้ท่านมหาหิน)
    1. ผู้ปรารถนาพุทธภูมิ จิตจะต้องคิดอยู่เสมอว่า ทุกข์ของตนไม่มีความหมาย แต่ทุกข์ของชาวประชาทั้งหลาย เป็นภาระของเรา เขาทำกำลังใจกันแบบนี้....
    2.
    นักปรารถนาพุทธภูมิ จะต้องมีทั้งขันติ และโสรัจจะ

    ขันติ อดทนต่อความยากลำบากทุกประการ เพื่อความสุขของปวงชน
    โสรัจจะ แม้จะกระทบกระทั่ง ทำให้ใจตนไม่สบายเพียงใดก็ตาม ก็ทำหน้าแช่มชื่นไว้เสมอ นี่ก้าวแรกสำหรับพุทธภูมิ
    3. พระ
    โพธิสัตว์บำเพ็ญบารมี ๓๐ ทัศ คือ ....

    ได้บำเพ็ญทาน อย่างหยาบ อย่างกลาง และอย่างละเอียดสูงสุด เป็น ๓ ระดับ ....

    รักษา
    ศีลก็รักษาศีล ๕ ศีล ๑๐ และจตุปาริสุทธศีล อันเป็นอย่างต้น อย่างกลางและอย่างอุกฤษฏ์
    แม้นจักบำเพ็ญ
    ปัญญาบารมี ด้วยสมถวิปัสสนาภาวนา ก็บำเพ็ญอย่างต้น อย่างกลาง และอย่างอุกฤษฏ
    4.พระโพธิสัตว์สัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ทรงบำเพ็ญมหาบริจาคทาน ๕ ประการ คือ....

    4.1 บริจาคสละราชสมบัติ
    4.2 อวัยวะบริจาค คือพระองค์สละร่างกายโดยปาดเนื้อเถือหนังให้เป็นทาน
    4.3 ชีวิตบริจาค พระโพธิสัตว์ทรงบริจาคชีวิตของพระองค์ตายแทน บิดามารดาญาติมิตร มากกว่าชีวิตของมนุษย์ในชมพูทวีปทั้งสิ้น....
    4.4 บุตตบริจาค พระโพธิสัตว์ทรงบริจาค ลูกหญิง ลูกชาย อันเป็นที่รักยิ่งกว่าดวงตา ให้เป็นทานไปนั้น
    4.5 ภริยาบริจาค พระองค์ได้สละเมียรัก เสมอดังดวงใจให้เป็นทาน

    5.พระโพธิสัตว์บำเพ็ญสุจริต ๓ ประการ คือ....
    กายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต พระองค์บำเพ็ญสะสมยังสุจริตบารมี 3 ประการ นี้ ทุกๆ ชาติ

    อารมณ์ อารมณ์ของพระโพธิสัตว์ ที่พอจะเปรียบเทียบให้เห็นได้ง่าย ๆ ว่า....

    ถ้าตัวเองมีข้าวอยู่หม้อหนึ่ง มีคนที่อดอยากกลุ่มหนึ่งผ่านมา และ เอ่ยปากขอข้าวนั้นเพื่อเป็นอาหารของพวกเขาก็จะให้ด้วยความยินดี และจะไม่หวงแม้ในส่วนของตัวเอง ถ้าพวกเขาไม่พอที่จะแบ่งปันกัน ก็ยินดีให้แม้กระทั่งในส่วนของตัวเอง(จากตัวอย่างนี้พระโพธิสัตว์ ก็จะมองว่า คนมีจำนวนหลายคน หากแบ่งไว้บ้าง ก็จะไม่พอกันกิน จึงยกให้ทั้งหมดเลย)

    ถึงแม้ว่าตัวเองจะต้องอดกินข้าวมื้อนั้น ก็ยินดียิ่งเพราะอารมณ์จะคิดว่า เมื่อทำให้ผู้อื่นมีความสุข ตัวเองก็มีความสุขเช่นกัน(คนอื่นอิ่ม ตัวเองอด แต่ก็มีความยินดียิ่ง)

    ใครที่คิดว่าทักษิณเป็นพุทธภูมิปรมัตถบารมีช่วยตรองด้วยว่าเขามีคุณสมบัติเหล่านี้อยู่ไหม

    หากจิตเราไม่มีอธิศีล การปฏิบัติจงอย่าหลงเชื่อหลงติดนิมิตเพราะนิมิตนั้น
    อาจเป็นของปลอม เหมือนที่หลวงปู่บอกว่า ผู้เห็นน่ะจริง
    แต่สิ่งที่เห็นทั้งหลายน่ะไม่จริง
     
  10. dearestguardian เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    306
    ค่าพลัง:
    +1,418
    ขอต่ออีกหน่อยนะ มันอดไม่ได้ ราคะ กับโมหะขึ้น
    เอาแค่ศีล 5 ข้างล่างที่ ลอกมาจากเวป อ.ไก่ นี่ คุณคิดว่าทักษิณมีครบหรือเปล่า
    [FONT=&quot]
    เบญจศีล[/FONT]
    [FONT=&quot]ในการอยู่ร่วมกันในสังคมนั้น จำเป็นที่แต่ละคน ซึ่งเป็นสมาชิกของสังคมจะต้องทำตนให้เป็นคนเต็มคน ที่เรียกว่าเป็นมนุษย์ หรือเป็นคน 100% เพื่อให้การอยู่ร่วมกันดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย มีความสงบสุข เกิดศานติสุข ไม่มีเวรภัยต่อกันและกันหลักธรรมที่จะทำคนให้เป็นให้เต็มคนอันยังผลให้การอยู่ร่วมกันมีความสุขมีความสงบสุขนั้นก็คือ เบญจศีลเบญจธรรม อันได้แก่ [/FONT]
    [FONT=&quot]ตอนที่ ๑ เนื้อความและความหมาย[/FONT]
    [FONT=&quot]เบญจศีล แปลว่า ศีล ๕ ได้แก่..[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ปาณาติปาตา เวรมณี เจตนาเป็นเครืองงดเว้นจากการฆ่า การเบียดเบียน การทำร้ายร่างกายคนและสัตว์ แล้วมีจิตใจประกอบด้วยเมตตากรุณา มีความปรารถนาดี และสงสารเห็นอกเห็นใจผู้อื่นสัตว์อื่น[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.อทินนาทานา เวรมณี เจตนาเป็นเครืองงดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมยหรือโจร อันได้แก่ ลัก ฉก ชิง วิ่งราว ขู่กรรโชก ขู่เข็ญ ปล้น จี้ ตู่ ฉ้อโกง หลอก ลวง ปลอม ตระบัด เบียดบัง สับเปลี่ยน ลักลอบ ยักยอก และรับสินบน แล้วเป็นผู้มีความขยันประกอบสัมมาชีพ บริจาคทาน และเคารพในกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของผู้อื่น[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เจตนาเป็นเครืองงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม [/FONT]
    [FONT=&quot]บุคคลต้องห้ามสำหรับฝ่ายชาย คือ[/FONT]
    [FONT=&quot](๑) ภรรยาคนอื่น[/FONT]
    [FONT=&quot](๒) ผู้หญิงที่ยังอยู่ในความอุปการะของผู้อื่น (ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่นอยู่)[/FONT]
    [FONT=&quot](๓) ผู้หญิงที่จารีตต้องห้าม (แม่ ย่า ยาย พี่สาว น้องสาว ลูกสาว ชี หญิงผู้เยาว์[/FONT]
    [FONT=&quot]บุคคลที่ต้องห้ามสำหรับฝ่ายหญิง คือ[/FONT]
    [FONT=&quot](๑) สามีคนอื่น[/FONT]
    [FONT=&quot](๒) ชายจารีตต้องห้าม (พ่อ ปู่ ตา พี่ชาย น้องชาย ลูกชาย พระภิกษุ สามเณร ชายผู้เยาว์)[/FONT]
    [FONT=&quot]ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิงไม่ใช่เฉพาะ ห้ามแต่ร่วมสังวาสเท่านั้น แม้แต่การเคล้าคลึง การพูดเกี้ยวพาราสี หรือการแสดงอาการ ปฏิพัทธ์แม้แต่ด้วยสายตาเนตรสบเนตร เป็นต้น ก็ชื่อว่า การละเมิดศีลข้อนี้แล้ว เมื่อไม่ล่วงละเมิดศีลข้อนี้แล้วเป็นผู้สำสวมในกามยินดีแต่ในภรรยาของตนเท่านั้น (สทารสันโดษ) จงรักภักดีแต่ในสามีของตน (ปติวัตร) ถ้ายังไม่ได้แต่งงานก็ต้องมีกามสังวร ตั้งตนอยู่ในขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม มีวัฒนธรรมอันดีชนิดที่ว่า "เข้าตามตรอกออกตามประตู"[/FONT]
    [FONT=&quot]๔.มุสาวาทา เวรมณี เจตนาเป็นเครืองงดเว้นจากการพูดเท็จ อันได้แก่ คำปด ทวนสาบาน ทำเล่ห์กระเท่ห์ มารยา ทำกิเลส เสริมความสำรวมคำพูดเสียดแทง สับปลับ ผิดสัญยา เสียสัตย์ และคืนคำ แล้ว เป็นผู้รักสัจจะจะพูดแต่คำสัตย์จริงด้วยความจริงใจและปรารถนาดี มุ่งหวังดีต่อผู้ฟัง[/FONT]
    [FONT=&quot]๕.สุราเมรยะมัชชะปมาทัฏฐานา เวรมณี เจตนาเป็นเครืองงเว้นจากการดื่มน้ำเมาอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท อันได้แก่ น้ำสุรา เมรัย เครื่องดื่มมึนเมาอื่น ๆ และการเสพยาเสพติดอื่นๆ เช่น ฝิ่น เฮโรอีน กัญชา ยาบ้า หรือแม้แต่บุหรี่ แล้วเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะในการประกอบกิจการทั้งปวง และเป็นผู้ไม่ประมาทในชีวิตในการงาน ในวัย ในเพศ[/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้จะเป็นคนเต็มคน คือ 100% จะต้องเป็นผู้มีการดำเนินชีวิตประจำวันที่ประกอบด้วยเบญจศีลเบญจธรรมทั้ง ๕ ประเด็นดังกล่าวแล้ว ถ้าขาด ๑ ประเด็นก็เป็นคนเพียง ๘๐ % หรือขาด ๒ ประเด็นก็เป็นคนเพียง ๖๐ % เป็น นับว่าเป็นหลักการขั้นพื้นฐานที่พระพุทธองค์ทรงสั่งสอน มุ่งเน้นให้พุทธศาสนิกชนได้ประพฤติปฏิบัติตาม เพื่อความเป็นมนุษย์อันจะได้เป็นสมาชิกที่ของสังคม ความสงบสุขในสังคมแต่ละวันจะเกิดขึ้นได้ก็อาศัยหลักมนุษยธรรม หรือ แต่ละคนเป็นคนเต็มคนนั่นเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]อธิบายเบญจศีลอย่างย่อ ๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]เบญจ แปลว่า ๕ ศีล แปลว่า ปกติ เบญจศีล จึงแปลว่า ปกติ ๕ อย่าง แปลว่า ตัด ก็ได้ เพราะตัด จากความชั่ว หรือมนุษยธรรมก็เรียก แปลว่า ธรรมสำหรับมนุษย์ หมายความว่า ธรรมที่ทำคนให้เป็นคนที่ควรแก่การเคารพนับถือความหมายของเบญจศีล[/FONT]
    [FONT=&quot]ความเป็นปกติของคน คือความเรียบร้อยสวยงามคนที่ไม่เรียบร้อยจะเป็นที่สวยงามไปไม่ได้ ได้แก่คนที่ผิดปกตินั้นเอง คนที่ไม่ปกตินั้นก็เป็นที่ผิดแปลกไปจากคนอื่น ๆ เช่น[/FONT]
    [FONT=&quot]- ปกติคนเราจะต้องไม่ฆ่ากัน ไม่ทำร้ายร่างกายกันเพราะคนก็ดี สัตว์ก็ดีต่างก็รักชีวิตของตนด้วยกันทั้งสิ้น ไม่ประสงค์จะให้ใครมาฆ่าแกง หรือมาทำร้ายร่างกายตน หรือทรมานตนให้ได้รับความลำบาก คนที่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตของคนอื่น สัตว์อื่น จึงชื่อว่าคนผิดคน คือผิดปกติของคน[/FONT]
    [FONT=&quot]- ปกติคนเราจะต้องไม่ขโมยทรัพย์สมบัติของกันและกันเพราะใคร ๆ ก็ย่อมรัก ย่อมหวงแหนในทรัพย์สินของตน ไม่ประสงค์จะให้ใครมาเบียดเบียนและล่วงเกินในทรัพย์สินของตน คนที่ขโมยทรัพย์ของผู้อื่น จึงชื่อว่าทำผิดปกติของคนปกติของคนเราจะต้องไม่ล่วงละเมิดประเวณีของกันและกัน เพราะลูกใคร เมียใคร สามีใคร ใคร ๆ เขาก็หวง ไม่ประสงค์จะให้ใครมารับแกขมเหงน้ำใจ ลูกเมียสามีเปรียบเหมือนทรัพย์อันมีค่าของเขา คนที่รับแก ข่มเหงล่วงเกินผู้อื่น จึงชื่อว่าเป็นเป็นผู้ทำผิดปกติของคน[/FONT]
    [FONT=&quot]-ปกติของคนเราจะต้องไม่โกหกหลอกลวงกัน เพราะทุกคนไม่พึงปรารถนาจะให้ใครมาโกหกหลอกลวงตน ไม่ปรารถนาจะให้ใครมาหักรานประโยชน์ของตน ปรารถนาแต่ความสัตย์ความจริงด้วยกันทั้งสิ้น คนที่โกหกหลอกลวงผู้อื่นจึงชื่อว่าทำผิดปกติของคน[/FONT]
    [FONT=&quot]-ปกติของคนเราจะต้องรักษากายวาจาให้เรียบร้อย บำบัดทุกข์บำรุงสุขให้แก่ร่างกายของตน ไม่ปรารถนาจะให้ร่างกายได้รับความลำบากด้วยทุกขเวทนาต่าง ๆ ทั้งพยายามเสริมสร้างร่างกายให้เจริญด้วยกำลังและสมบูรณ์ด้วยสติปัญญา จึงต้องงดเว้นจากการทำร้ายร่างกายตนเอง ด้วยการไม่ทำตนให้ผิดปกติ[/FONT]
    [FONT=&quot]คนที่ดื่มสุรา เมรัย และเสพของมึนเมาต่าง ๆ เช่น กัญชาและเฮโรอีน เป็นต้นจนกลายเป็นคนติดยาเสพติดให้โทษ เป็นคนขาดสติสัมปชัญญะ ตกอยู่ในฐานะแห่งความเป็นผู้ประมาท ชื่อว่าเป็นผู้ทำร้างร่างกายตนเอง จึงจัดว่าเป็นคนทำผิดปกติ[/FONT]
    [FONT=&quot]ศีล ๕ ประการนี้ ท่านเรียกว่า มนุษยธรรม แปลว่า ธรรมสำหรับมนุษย์ ธรรมทำให้คนเป็นมนุษย์อย่างสมบูรณ์,เป็นธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดมาเป็นมนุษย์ เพราะ ผู้ที่จะมาเกิดเป็นมนุษย์ได้นั้น ต้องเป็นผู้ที่สมบูรณ์ด้วยมนุษยธรรมนี้มาก่อน การเกิดมาเป็นมนุษย์เป็นเรื่องที่ยากแท้ ดังพระพุทธดำรัสว่า"กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นเรื่องยาก" เมื่อเราได้อัตภาพเกิดมาเป็นมนุษย์แล้วอย่างนี้ ไม่พยายามรักษาสภาพปกติไว้ ก็จะกลายเป็นผู้ทำลายปกติของตนเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้ที่ล่วงละเมิดศีล จึงชื่อว่าเป็นผู้ทำลายมนุษยธรรม ผู้ที่ทำลายมนุษย์ธรรมชื่อว่าเป็นผู้ทำลายปกติของตนเองด้วยประการฉะนี้ [/FONT]
    [FONT=&quot]ตอนที่ ๒ วิรัติ คือการงดเว้น[/FONT]
    [FONT=&quot]การรักษาศีล คือ การรักษากายวาจาให้เรียบร้อยเป็นปกติ, การปฏิบัติธรรม คือ การฝึกฝนอบรมจิตใจให้งดงาม, คนดีมีศีลธรรม คือ คนที่มีกายวาจาเรียบร้อยและมีจิตใจงดงาม[/FONT]
    [FONT=&quot]การรักษาศีลนั้นมี ๓ วิธี เรียกว่า วิรัติ คือ การงดเว้น ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.สมาทานวิรัติ การงดเว้นด้วยการสมาทาน[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.สัมปัตตวิรัติ การงดเว้นในขณะเผชิญหน้า[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.สมุจเฉทวิรัติ การงดเว้นโดยเด็ดขาด [/FONT]
    [FONT=&quot]การที่จะรักษาศีลให้บริสุทธิ์หมดจดเรียบร้อย ต้องประกอบด้วยวิรัติ ๓ อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ [/FONT]
    [FONT=&quot]สมาทานวิรัติ ได้แก่การเปล่งวาจาขอสมาทานศีลจากพระภิกษุ สาม เณร หรือ จากบุคคลผู้มีศีลโดยการเปล่งวาจาขอสมาทานเป็นข้อ ๆ ไปดังนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ปาณาติปาตา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขา บท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ด้วยตนเอง และการใช้ให้คนอื่นฆ่า[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทนี้ เป็นทั้งสาหัตถิกประโยค เพราะลงมือฆ่าด้วยตนเอง, เป็นทั้งอาณัติก ประโยค เพราะใช้ให้คนอื่นฆ่า[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.อะทินนาทานา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมา ทานสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการลักทรัพย์ด้วยตนเอง และใช้ให้คนอื่นลัก[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทนี้ คำว่า "ทรัพย์" หมายเอาทั้งสวิญญาณกทรัพย์ ทรัพยที่มีวิญญาณครอง เช่น คน สัตว์ และ วิญญาณฏทรัพย์ ทรัพย์ที่ไม่มีวิญญาณครอง ได้แก่ วัตถุสิ่งของต่าง ๆ และหมายความรวมไปถึงสังหาริมทรัพย์ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้และอสังหาริมทรัพย์ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทนี้ เป็นทั้งสาหัตถิกประโยค เพราะลักด้วยตนเอง, เป็นทั้งอาณัติกประโยค เพราะใช้ให้คนอื่นลัก[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมา ทานสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทนี้ คำว่า "การประพฤติผิดในกาม" หมายถึงการร่วมประ เวณีในบุรุษและสตรีที่ไม่ใช่สามี-ภรรยาคู่ครองของตนเอง เช่น มารดาบิดาล่วงละเมิดกับบุตรธิดาของตนเอง หรือพี่ชายพี่สาวล่วงละเมิดกับน้องชายน้องสาวของตนเอง ก็เป็นการผิดประเวณีทั้งสิ้น[/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทนี้ เป็น สาหัตถิกประโยค เพราะผิดประเวณีด้วยตนเองอย่างเดียว ไม่เป็นอาณัติกประโยค เพราะใช้ให้คนอื่นผิดประเวณี[/FONT]
    [FONT=&quot]๔.มุสาวาทา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการพูดปด พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ และ พูดเพ้อเจ้อ[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทนี้ คำว่า "มุสาวาท" หมายความรวมไปถึง วจีทุจริต ๔ ประการ คือ การปด พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ และ พูดเพ้อเจ้อ [/FONT]
    [FONT=&quot]การพูดปด ได้แก่ การพูดเท็จ หรือพูดให้คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง ซึ่งเรียกว่า มุสาวาท[/FONT]
    [FONT=&quot]การพูดคำหยาบ ได้แก่ การด่าว่าคนอื่นให้ได้รับความอับอาย เรีบกว่า ผรุสวาจา[/FONT]
    [FONT=&quot]การพูดเพ้อเจ้อ ได้แก่ การพูดให้ไขว้เขว เหลวไหลไร้สาระ ทำให้เสียประโยชน์ของผู้อื่น เรียกว่า สัมผัปปลาปะ[/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทนี้ เป็นสาหัตถิกประโยค เพราะพูดด้วยตนเองอย่างเดียว ไม่เป็นอาณัติกประโยค เพราะให้ใช้คนอื่นพูด[/FONT]
    [FONT=&quot]๕.สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทนี้ คำว่า "สุราและเมรัย" หมายถึง สุรา ๕ อย่าง และ เมรัย ๕ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]สุรา ๕ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ปิฏฐสุรา สุราทำด้วยแป้ง [/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ปูวสุรา สุราทำด้วยขนม[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.โอทนสุรา สุราทำด้วยข้าวสุก [/FONT]
    [FONT=&quot]๔.กิณณะปกะขิตตา สุราที่หมักเชื้อ [/FONT]
    [FONT=&quot]๕.สัมภาระสังยุตตา สุราที่ปรุงด้วยเครื่องเทศต่าง ๆ [/FONT]
    [FONT=&quot]เมรัย ๕ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ปุปผาสโว น้ำดองดอกไม้[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ผลาสโว น้ำดองผลไม้[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.มธวาสโว น้ำดองน้ำผึ้ง หรือน้ำดองน้ำหวาน[/FONT]
    [FONT=&quot]๔.คุฬาสโว น้ำดองน้ำอ้อย[/FONT]
    [FONT=&quot]๕.สัมภาระสังยุตโต น้ำดองที่ปรุงด้วยเครื่องเทศต่าง ๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทนี้ เป็นสาหัตถิกประโยคเพราะดื่มหรือเสพด้วยตนเอง ไม่เป็นอาณัติกประโยค เพราะใช้ให้ผู้อื่นดื่มหรือเสพ[/FONT]
    [FONT=&quot]สัมปัตตวิรัติ ได้แก่การงดเว้นในขณะเมื่อเผชิญหน้ากับเหตุการณ์นั้น ๆ เช่น เกิดมีการต่อสู้กันขึ้น มีช่องทางพอที่จะฆ่าเขาได้ แต่ระลึกถึงศีลจึงไม่ฆ่า มีช่องทางพอที่จะโกงเขาได้แต่ไม่โกง มีช่องทางพอที่จะล่วงประเวณีได้แต่ไม่ล่วงประเวณี มีเหตุที่จะต้องให้โกหกเขาได้แต่ไม่โกหก มีโอกาสที่จะดื่มน้ำเมาได้ แต่ไม่ดื่มเพราะคำนึงถึงศีลดังกล่าวแล้ว อย่างนี้เป็นต้น เรียกว่า สัมปัตตวิรัติ แปลว่า งดเว้นได้ในขณะประจวบเข้าเฉพาะหน้า จัดเป็นผู้รักษาศีลเช่นเดียวกัน[/FONT]
    [FONT=&quot]สมุจเฉทวิรัติ ได้แก่ การงดเว้นโดยเด็ดขาด แม้อันตรายจะเข้ามาถึงชีวิตตนเอง ก็ไม่ล่วงละเมิดศีล เป็นวิรัติของพระอริยบุคคล ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่ถูกบังคับให้ฆ่าคนอื่น ถ้าไม่ทำตนเองก็จะถูกฆ่า ก็ไม่ยอมฆ่าคนอื่นโดยเด็ดขาด ยอมให้เขาฆ่าตนเองดีกว่าที่จะล่วงละเมิดศีล ดังนี้เป็นต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]ตอนที่ ๓ องค์แห่งศีล ๕[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบททั้ง ๕ นั้น ในแต่ละสิกขาบทมีองค์ประกอบต่าง ๆ กัน เมื่อครบองค์ศีลจึงขาด ถ้าไม่ครบองค์ศีลยังไม่ขาด เป็นแต่เพียงด่างพร้อยหรือบกพร่องไปบ้างเท่านั้น องค์แห่งศีลทั้ง ๕ นั้นมีดังต่อไปนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทที่ ๑ [/FONT]
    [FONT=&quot]ปาณาติปาตา เวรมณี แปลว่า เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วง หมายถึง เว้นจากการฆ่าสัตว์ สิกขาบทที่ ๑ นี้มีองค์ ๕ คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.สัตว์นั้นมีชีวิต [/FONT]
    [FONT=&quot]๒.รู้อยู่ว่าสัตว์นั้นมีชีวิต[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.มีเจตนาจะฆ่าสัตว์นั้น [/FONT]
    [FONT=&quot]๔.พยายามฆ่าสัตว์นั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๕.สัตว์นั้นตายด้วยความพยายามนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]การฆ่าที่ประกอบไปด้วยองค์ ๕ นี้ ไม่ว่าจะฆ่าเองหรือใช้ให้คนอื่นฆ่าก็ตาม ยุยงให้สัตว์อื่นฆ่ากันก็ตาม เช่น จัดให้จิ้งหรีดกัดกันจนตายไป เป็นต้น ศีลก็ขาดทั้งนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทที่ ๑ [/FONT]
    [FONT=&quot]ปาณาติปาตา เวรมณี แปลว่า เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วง หมายถึง เว้นจากการฆ่าสัตว์ [/FONT]
    [FONT=&quot]คำว่า"สัตว์"ในสิกขาบทที่ ๑ นี้ ท่านประสงค์เอาทั้งมนุษย์ชาย-หญิงทุกวัย จนที่สุดแม้กระทั่งที่ยังอยู่ในครรภ์ และสัตว์ดิรัจฉานทุกชนิด [/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทที่ ๑ นี้มีข้อห้ามไว้ ๓ ประการ ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.การฆ่า[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.การทำร้ายร่างกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.การทรกรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทที่ ๑ นี้ เป็นทั้งสาหัตถิกประโยค เพราะลงมือฆ่าด้วยตนเอง, เป็นทั้งอาณัติกประโยค เพราะใช้ให้คนอื่นฆ่า[/FONT]
    [FONT=&quot]การฆ่าโดยตรงศีลขาด, ส่วนการทำร้ายร่างกาย และการทรกรรม (ทรมาน) สัตว์ รวมเรียกว่า อนุโลมการฆ่า ศีลไม่ขาด เป็นแต่เพียงด่างพร้อยหรือศีลทะลุก็เรียก[/FONT]
    [FONT=&quot]การฆ่า[/FONT]
    [FONT=&quot]การฆ่า หมายถึง การทำให้ตาย แบ่งเป็น ๒ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ฆ่ามนุษย์ [/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ฆ่าสัตว์ดิรัจฉาน[/FONT]
    [FONT=&quot]การทำร้ายร่างกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]การทำร้างร่ายกายนี้ ทางฝ่ายศาสนาถือเป็น "บุพพประโยคของการฆ่า" แบ่งออกเป็น ๓ สถาน ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.การทำให้พิการ ได้แก่ การทำให้อวัยวะบางส่วนเสีย เช่น การทำให้ตาเสีย การทำให้แขนหรือขาเสีย เป็นต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.การทำให้เสียโฉม ได้แก่ การทำร้างร่างกายให้เสียรูปเสียงาม แต่ไม่ถึงกับให้พิการ เช่น [/FONT]
    [FONT=&quot]๓.การทำให้เจ็บลำบาก ได้แก่ การทำร้างร่างกายซึ่งไม่ถึงกับเสียโฉม แต่เสียความสำราญ เช่น ชกต่อย เฆี่ยนตี [/FONT]
    [FONT=&quot]การทรกรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]ทรกรรม หมายถึง "การประพฤติเหี้ยมโหดแก่สัตว์โดยไม่ปรานี" จัดเป็น ๕ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ใช้การ ได้แก่ การใช้สัตว์เป็นพาหนะ อย่างไม่ปรานี มีแต่ใช้ ปล่อยให้อดอยาก ซูบผอม ไม่ให้พักผ่อนตามกาล หรือใช้เกินกำลังของสัตว์[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.กักขัง ได้แก่ การเลี้ยงสัตว์ไว้ในกรงที่คับแคบเกินไป หรือผูกไว้เพื่อดูชมเล่น แต่ผู้เลี้ยงกักขัง หรือผูกมัดไว้จนไม่สามารถจะผลัดเปลี่ยนอิริยาบถได้ หรือไม่ปรนเปรอเลี้ยงดูให้สัตว์ได้รับความสุขพอสมควร ปล่อยให้อดอยาก เป็นต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.นำไป ได้แก่ การนำไปผิดอิริยาบถของสัตว์ สัตว์นั้นย่อมได้รับความลำบาก เช่น ผูกขาไก่หิ้วไป[/FONT]
    [FONT=&quot]๔.เล่นสนุก ได้แก่การนำสัตว์มาเล่นเพื่อความสนุก เช่นเอาประทัดผูกหางสุนัขแล้วจุดไฟ[/FONT]
    [FONT=&quot]๕.ผจญสัตว์ ได้แก่ การเอาสัตว์ให้ชนกันหรือกัดกัน เช่น ชนโค ชนไก่ กัดปลา เป็นต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทที่ ๒ [/FONT]
    [FONT=&quot]อทินนาทานา เวรมณี เวรมณี แปลว่า "เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ด้วยอาการเป็นโจร"[/FONT]
    [FONT=&quot]สิ่งของที่เจ้าของไม่ให้ได้ในที่นี้ หมายถึงสิ่งของ ๒ อย่าง คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.สิ่งของที่มีเจ้าของ ทั้งที่มีวิญญาณ ซึ่งเรียกว่า สวิญญาณกทรัพย์ และที่ไม่มีวิญญาณ เรียกว่า อวิญญาณกทรัพย์[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.สิ่งของที่ไม่ใช่ของใคร แต่มีผู้รักษาหวงแหน เช่น สิ่งของที่เป็นของสงฆ์ ของสโมสร ของส่วนรวม เป็นต้น [/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทที่ ๒ นี้ จึงมีข้อห้ามเป็น ๓ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.โจรกรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ความเลี้ยงชีพอนุโลมโจรกรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.กิริยาเป็นฉายาโจรกรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.โจรกรรม [/FONT]
    [FONT=&quot]โจรกรรม ได้แก่ "กิริยาที่ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการเป็นโจร" มี ๑๔ ประเภท ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ลัก ได้แก่"กิริยาที่ถือเอาสิ่งของด้วยอาการเป็นโจรในเวลาที่เงียบไม่ให้เจ้าของรู้" มี ๓ ลักษณะ คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]ก.เมื่อเจ้าของเขาเผลอก็หยิบเอาสิ่งของนั้นไป เรียกว่า "ขโมย"[/FONT]
    [FONT=&quot]ข.เวลาสงัดคนแอบเข้าไปในเรือนแล้วหยิบเอาสิ่งของของเขาเรียกว่า"ย่องเบา"[/FONT]
    [FONT=&quot]ค.งัดหรือเจาะประตู-หน้าต่างที่ปิดอยู่แล้วถือเอาสิ่งของของเขาเรียกว่า "ตัดช่อง"[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ฉก ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาสิ่งของในเวลาที่เจ้าของเขาเผลอ เช่น[/FONT]
    [FONT=&quot]วิ่งราว หมายถึง เจ้าของเขาเผลอก็เข้าแย่งเอาแล้ววิ่งหนีไป หรือ[/FONT]
    [FONT=&quot]ตีชิง หมายถึง ตีเจ้าของให้เจ็บแล้วถือเอาสิ่งของ [/FONT]
    [FONT=&quot]๓.กรรโชก ได้แก่ กิริยาที่แสดงอำนาจให้เจ้าของตกใจกลัวแล้วยอมให้สิ่งของ[/FONT]
    [FONT=&quot]๔.ปล้น ได้แก่ กิริยาที่ยกพวกตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปข่มขู่เจ้าทรัพย์แล้วถือเอาสิ่งของของคนอื่นไป[/FONT]
    [FONT=&quot]๕.ตู่ ได้แก่ กิริยาที่ร้องเอาสิ่งของของผู้อื่นซึ่งมิได้ตกอยู่ในมือตนเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]๖.ฉ้อ ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาสิ่งของของผู้อื่นที่ตกอยู่ในมือตนเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]๗.หลอก ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาสิ่งของของผู้อื่นโดยการพูดจาหลอกลวงหรือโกหกเอา (ปั้นเรื่องขึ้นให้เจ้าทรัพย์หลงเชื่อแล้วจึงถือเอาทรัพย์ของเขาไป)[/FONT]
    [FONT=&quot]๘.ลวง ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาสิ่งของของผู้อื่นด้วยการแสดงของอย่างใดอย่างหนึ่งให้เขาเข้าใจผิด (ใช้เพทุบายลวงให้เขาหลงเชื่อ)[/FONT]
    [FONT=&quot]๙.ปลอม ได้แก่ กิริยาที่ทำของไม่แท้ให้เห็นว่าเป็นของแท้ขึ้นเปลี่ยนเอาสิ่งของดีหรือ ของแท้ของเขาไป (ทำของปลอมขึ้นเปลี่ยนเอาของแท้ของเขา)[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๐.ตระบัด ได้แก่ กิริยาที่ยืมสิ่งของของเขาไปแล้วถือเอาเป็นของตนเอง ไม่ส่งคืน (การยืมของเขาแล้วไม่ส่งคืนเจ้าของเดิม โดยยึดถือเอาเป็นของตัวเองไป)[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๑.เบียดบัง ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาเศษ เช่น เก็บเงินค่าเช่าได้มาก แต่ให้เจ้าของแต่เพียงน้อย ๆ(กินเศษกินเลยเล็ก ๆ น้อย ๆ)[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๒.สัปเปลี่ยน ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาสิ่งของของตนที่เลวเข้าไปไว้แทน แล้วเอาของที่ดีของผู้อื่นไปเสีย (เอาของที่ไม่ดีไปเปลี่ยนเอาของที่ดีของเขา)[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๓.ลักลอบ ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาสิ่งของต้องพิกัดซ่อนเข้ามาโดยไม่เสียภาษี, ค้าของหนีภาษี, ลักลอบขนของหนีภาษี เป็นต้น)[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๔.ยักยอก ได้แก่ กิริยาที่ยักยอกทรัพย์ของตนที่จะต้องถูกยึดไปไว้เสียในที่อื่น (การใช้อำนาจหน้าที่ในทางทุจริต)[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ความเลี้ยงชีพอนุโลมโจรกรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]ความเลี้ยงชีพอนุโลมโจรกรรม ได้แก่ กิริยาที่แสวงหาพัสดุในทางที่ไม่บริสุทธิ์ แต่ไม่นับเข้าในอาการโจรกรรม แบ่งเป็น ๓ ประเภท ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.สมโจร ได้แก่ กิริยาที่อุดหนุนโจรกรรมโดยนัย เช่น รับซื้อของโจร คือเป็นผู้รับซื้อสิ่งของที่ผู้อื่นโจรกรรมได้มา[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ปอกลอก ได้แก่ กิริยาที่คบคนด้วยอาการไม่ซื่อสัตย์ มุ่งหมายจะเอาทรัพย์สมบัติของ เขาฝ่ายเดียว เมื่อเขาสิ้นตัวแล้วทิ้งเขาเสีย (คบกับคนอื่นโดยหวังผลประโยชน์ตนฝ่ายเดียว)[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.รับสินบน ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาทรัพย์ที่เขาให้ เพื่อช่วยทำธุระให้แก่เขาในทางที่ผิด [/FONT]
    [FONT=&quot]๓.กิริยาเป็นฉายาโจรกรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]กิริยาเป็นฉายาโจรกรรม ได้แก่ กิริยาที่ทำทรัพย์พัสดุของผู้อื่นให้สูญและเป็นสินที่ใช้ตกอยู่แก่ตน มี ๒ ประเภท ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ผลาญ ได้แก่ กิริยาที่ทำอันตรายเสียหายแก่ทรัพย์สินพัสดุของผู้อื่น เช่น แกล้งเผาสวนยาง เผาบ้านของเขา เป็นต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.หยิบฉวย ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาทรัพย์พัสดุของผู้อื่นด้วยความมักง่าย เช่น บุตรหลานประพฤติตนเป็นคนพาลนำเอาทรัพย์สินของพ่อ-แม่ ปู่-ย่า ตา-ยายไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต เป็นต้น [/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทที่ ๒ นี้มีองค์ ๕ คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ของนั้นมีเจ้าของหวงแหน[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.รู้อยู่ว่าของนั้นมีเจ้าของหวงแหน[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.มีเจตนาจะถือเอาสิ่งนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๔.พยายามถือเอาสิ่งนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๕.ได้ของนั้นมาด้วยความพยายามนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทที่ ๓ [/FONT]
    [FONT=&quot]กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม[/FONT]
    [FONT=&quot]คำว่า"กาม"ในทีนี้ ได้แก่ กิริยาที่รักใคร่กันในทางประเวณี ซึ่งทั้งชายและ หญิงต่างก็เป็นวัตถุต้องห้ามของกันและกัน [/FONT]
    [FONT=&quot]หญิงที่ต้องห้ามในสิกขาบทนี้มี ๔ จำพวก คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ภรรยาผู้อื่น ได้แก่ หญิง ๔ จำพวก ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]ก.หญิงที่แต่งงานแล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]ข.หญิงที่ไม่ได้แต่งงานแต่อยู่กินด้วยกันกับชายโดยอาการเปิดเผย[/FONT]
    [FONT=&quot]ค.หญิงผู้รับสิ่งของมีทรัพย์เนต้นของชาย แล้วยอมอยู่กับเขา[/FONT]
    [FONT=&quot]ง.หญิงที่ชายเลี้ยงเป็นภรรยา[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.หญิงที่อยู่ในความพิทักษ์รักษาของเขา ได้แก่ หญิงที่ พ่อ แม่ ญาติ พี่น้อง รักษา[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.หญิงที่จารีตห้าม ได้แก่ หญิง ๓ จำพวก คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]ก.หญิงที่อยู่ในพิทักษ์รักษาของตัวเอง และ ผู้ที่เป็นเหล่ากอของตนเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]ข.หญิงที่อยู่ใต้พระบัญญัติในพระศาสนา เช่น ภิกษุณี ชี เป็นต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]ค.หญิงที่กฏหมายบ้านเมืองห้ามและลงโทษแก่ชายผู้สมสู่ด้วย [/FONT]
    [FONT=&quot]ชายที่ต้องห้ามในสิกขาบทที่ ๓[/FONT]
    [FONT=&quot]ชายก็เป็นวัตถุต้องห้ามสำหรับหญิงเหมือนกัน ท่านกล่าวแสดงไว้ ๒ จำพวก คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ชายอื่นนอกจากสามี เป็นวัตถุต้องห้ามสำหรับหญิงที่มีสามี[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ชายที่จารีตห้าม เช่น พระภิกษุ สามเณร เป็นต้น เป็นวัตถุต้องห้ามสำหรับหญิงทั้งปวง[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทนี้ คำว่า "การประพฤติผิดในกาม"หมายถึง การร่วมประเวณีในบุรุษและสตรีที่ไม่ใช่สามี-ภรรยาคู่ครองของตนเอง เช่น มารดาบิดาล่วงละเมิดกับบุตรธิดาของตนเอง หรือพี่ชายพี่สาวล่วงละเมิดกับน้องชายน้องสาวของตนเอง ก็เป็นการผิดประเวณีทั้งสิ้น[/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทที่ ๔[/FONT]
    [FONT=&quot]มุสาวาทา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ แปลว่า "ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากมุสาวาท"[/FONT]
    [FONT=&quot]คำว่า "มุสาวาทา เวรมณี" แปลว่า เว้นจากมุสาวาท, ความเท็จ ชื่อว่า มุสา, กิริยาที่พูด หรือแสดงอาการมุสา ชื่อว่า มุสาวาท ในสิกขาบทที่ ๔ นี้ [/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทที่ ๔ มีข้อห้ามเป็น ๓ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.มุสา กล่าวเท็จ[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.อนุโลมมุสา กล่าววาจาที่เป็นตามมุสา[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.ปฏิสสวะ รับแล้วไม่ทำตามรับ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.มุสา มีลักษณะ ดังนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.เรื่องที่กล่าวนั้นไม่เป็นความจริง ๒.ผู้กล่าวจงใจ[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.กล่าวให้คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง ๔.ผู้ฟังเข้าใจผิด[/FONT]
    [FONT=&quot]การแสดงมุสานี้ไม่เฉพาะแต่ทางวาจาอย่างเดียวเท่านั้น แม้ทางกายก็อาจเป็นไปได้ เช่น เขียนหนังสือมุสาเขา แสดงอาการ หรือ สั่นศีรษะ ที่ทำให้เขาเข้าใจผิดจากความเป็นจริง[/FONT]
    [FONT=&quot]มุสามี ๗ ประเภท ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ปด ได้แก่ มุสาจัง ๆไม่อาศัยมูลเลย ท่านแสดงตัวอย่างไว้ ๔ อย่าง ได้แก่ [/FONT]
    [FONT=&quot]ก.ส่อเสียด หมายถึง ปดเพื่อจะให้เขาแตกแยกกัน[/FONT]
    [FONT=&quot]ข.หลอก หมายถึง ปดเพื่อจะโกงเขา[/FONT]
    [FONT=&quot]ค.ยอ หมายถึง ปดเพื่อจะยกย่อง[/FONT]
    [FONT=&quot]ง.กลับคำ หมายถึง พูดแล้วไม่ทำตามรับ[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ทนสาบาน ได้แก่ กิริยาที่เลี่ยงสัตย์ว่าจะพูดตามเป็นจริง แต่ไม่ได้ตั้งใจจริงอย่างนั้น มีปดเป็นบริวาร, หมายถึง สาบานเพื่อหวังผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เป็นพยานทนสาบานแล้วเบิกความเท็จในศาล เป็นต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.ทำเล่ห์กระเท่ห์ ได้แก่ กิริยาที่อวดอ้างความศักดิ์สิทธิ์อันไม่เป็นจริง เช่น อวดรู้วิชาว่าคงกระพัน หรือพูดมุสาด้วยการใช้เพทุบาย ไม่พูดตรง ๆ [/FONT]
    [FONT=&quot]๔.มารยา ได้แก่ กิริยาที่แสดงอาการให้เขาเห็นผิดจากที่เป็นจริง เช่น คนไม่มีศีลแต่ทำทีให้เขาห็นว่าเป็นคนมีศีล, หรือเจ็บเล็กน้อยแต่ทำทีเป็นเจ็บปวดเสียมากมาย เป็นต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๕.ทำเลส ได้แก่ การพูดมุสาเล่นสำนวน คือ อยากจะพูดเท็จแต่ทำเป็นเลสเล่นสำนวนให้ผู้ฟังนำไปคิด [/FONT]
    [FONT=&quot]๖.เสริมความ ได้แก่ พูดมุสาอาศัยมูลเดิม แต่เสริมความให้มากกว่าที่เป็นจริง หรือเรื่องจริงมีนิดหน่อยแต่กลับพูดขยายความออกเสียยกใหญ่จนเกินความจริงไป เช่น พูดพรรณนาถึงสรรพ คุณยาให้เกินกว่าทั่วยาจะรักษาโรคได้[/FONT]
    [FONT=&quot]๗.อำความ ได้แก่ พูดมุสาเดิม แต่ตัดความที่ไม่ประสงค์จะให้รู้เสีย เพื่อทำความเข้าใจกลายไปเป็นอย่างอื่น (หมายถึง เรื่องจริงนั้นมีมาก แต่กลับพูดให้เห็นเป็นเรื่องเพียงเล็กน้อย)[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.อนุโลมมุสา [/FONT]
    [FONT=&quot]อนุโลมมุสากำหนดรู้ได้ด้วยลักษณะ ๒ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.วัตถุที่จะกล่าวนั้นไม่เป็นความจริง [/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ผู้กล่าวไม่จงใจกล่าวให้ผู้ฟังเข้าใจผิด มี ๒ ประเภท ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]ก.เสียดแทง ได้แก่ กิริยาที่ว่าให้ผู้อื่นเจ็บใจ เช่น พูดประชด ด่า[/FONT]
    [FONT=&quot]ข.สับปรับได้แก่พูดปดด้วยความคะนองวาจาแต่ผู้พูดไม่ตั้งใจจะให้เขาเข้าใจผิด[/FONT]
    [FONT=&quot]คำพูดที่จริงที่ไม่สมควรพูด[/FONT]
    [FONT=&quot]คำพูดที่จริง แต่ให้โทษแก่ผู้อื่นและผู้พูดเอง เป็นคำพูดที่มุ่งหมายอย่างนั้น ซึ่งคำพูดนั้นมีมูลเหตุมาจากมุสาจึงจัดเข้าในอนุโลมมุสา ได้แก่ [/FONT]
    [FONT=&quot]๑.คำส่อเสียด ได้แก่ คำพูดที่ได้ยินข้างหนึ่งติเตียนข้างหนึ่งแล้วเก็บไปบอกยุยงเขา เป็นเหตุให้เขาแตกแยกกัน[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.คำเสียดแทง ได้แก่ การพูดให้เขาเจ็บใจ อ้างวัตถุที่เป็นจริงอย่างนั้นขึ้นพูด เป็นเหตุให้ผู้ที่ต้องถูกว่านั้นเจ็บใจ [/FONT]
    [FONT=&quot]๓.ปฏิสสวะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ปฏิสสวะ ได้แก่ กิริยาที่รับคำผู้อื่นด้วยเจตนาที่บริสุทธิ์คิดจะทำตามที่รับปากไว้จริง ๆ แต่ภายหลังกลับไม่ได้ทำตามที่รับปากไว้นั้น [/FONT]
    [FONT=&quot]ปฏิสสวะนี้มี ๓ ประเภท ได้แก่ [/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ผิดสัญญา ได้แก่ การที่ทั้งสองฝ่ายทำสัญญากันว่าจะทำเช่นนั้นเช่นนี้ แต่ภายหลังกลับไม่ได้ทำตามที่สัญญานั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.เสียสัตย์ ได้แก่ กิริยาที่ให้สัตย์แก่เขาฝ่ายเดียวว่าตนเองจะทำหรือไม่ทำเช่นนั้น เช่นนี้ แต่ภายหลังกลับไม่ทำตามคำพูดนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.คืนคำ ได้แก่ การที่รับปากว่าจะทำหรือไม่ทำสั่งนั้นสิ่งนี้โดยมีไม่สัญญา แต่ภาย หลังกัลบไม่ทำตามนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]ปฏิสสวะ เป็นเหตุให้ผู้ประพฤติเสียชื่อเสียง จึงควรจะละเสีย ส่วนการ"ถอนคำ" ไม่นับเป็นปฏิสสวะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ยถาสัญญา[/FONT]
    [FONT=&quot]การพูดมุสาที่ไม่ผิดศีล เรียกว่า "ยถาสัญญา" คือ คำพูดที่บุคคลพูดตามความสำคัญ หรือพูดตามโวหารที่ตนเองจำได้ และผู้พูดมีเจตนาบริสุทธิ์ ไม่มีเจตนาที่จะพูดให้ผิดไปจากความเป็นจริง มี ๔ ลักษณะ ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.โวหาร ได้แก่ ถ้อยคำที่ใช้กันเป็นธรรมเนียม เช่น คำลงท้ายของจดหมายซึ่งแสดงความอ่อนน้อมว่า ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง เป็นต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.นิยาย ได้แก่ เรื่องที่เปรียบเทียบเพื่อให้ได้ใจความเป็นสุภาษิต เช่น นิยายที่จินตกวีแต่งขึ้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.สำคัญผิด ได้แก่ กิริยาที่ผู้พูดสำคัญผิดและพูดออกไปตามความสำคัญผิดนั้น เช่น วันนี้เป็นวันอังคาร เมื่อมีผู้ถามว่าวันนี้เป็นวันอะไร ? ผู้พูดสำคัญว่าเป็นวันพุธ จึงตอบไปว่า "วันพุธ" เช่นนี้ต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๔.พลั้ง ได้แก่ กิริยาที่ผู้พูดตั้งใจจะพูดอย่างหนึ่งแต่พูดออกไปอีกอย่างหนึ่ง และการพูดเช่นนี้เมื่อพูดออกไปแล้วควรบอกใหม่ทันที เช่น ถูกถามว่า "ไปไหนมา ?" ก็รีบตอบเลยทันทีว่า "เปล่า…! ไปธุระมานิดหน่อย" คำว่า "เปล่า" นั้นเป็นคำพูดพลั้งหรือพูดด้วยความเคยชิน โดยไม่มีเจตนาจะพูดให้เขาเข้าใจผิด [/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทที่ ๕ [/FONT]
    [FONT=&quot]สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ แปลว่า ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท[/FONT]
    [FONT=&quot]ความหมายของ "สุรา และ เมรัย"[/FONT]
    [FONT=&quot]น้ำเมาที่เป็นของหมักดอง เช่น กระแช่ น้ำตาลเมาต่าง ๆ ชื่อว่า"เมรัย", เมรัยนั้นที่เขากลั่นอีกชั้นหนึ่งเพื่อให้รสเข้มข้นขึ้น เช่น เหล้าชนิดต่าง ๆ ชื่อว่า "สุรา"[/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิกขาบทนี้ คำว่า"สุราและเมรัย" หมายเอา สุรา ๕ อย่าง และ เมรัย ๕ อย่างซึ่งจะขอกล่าวตามลำดับต่อไป [/FONT]
    [FONT=&quot]สุรา ๕ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ปิฏฐสุรา สุราทำด้วยแป้ง [/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ปูวสุรา สุราทำด้วยขนม[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.โอทนสุรา สุราทำด้วยข้าวสุก [/FONT]
    [FONT=&quot]๔.กิณณะปกะขิตตา สุราที่หมักเชื้อ [/FONT]
    [FONT=&quot]๕.สัมภาระสังยุตตา สุราที่ปรุงด้วยเครื่องเทศต่าง ๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]เมรัย ๕ อย่าง ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.ปุปผาสโว น้ำดองดอกไม้[/FONT]
    [FONT=&quot]๒.ผลาสโว น้ำดองผลไม้[/FONT]
    [FONT=&quot]๓.มธวาสโว น้ำดองน้ำผึ้งหรือน้ำดองน้ำหวาน[/FONT]
    [FONT=&quot]๔.คุฬาสโว น้ำดองน้ำอ้อย[/FONT]
    [FONT=&quot]๕.สัมภาระสังยุตโต น้ำดองที่ปรุงด้วยเครื่องเทศต่าง ๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]สิกขาบทนี้ เป็นสาหัตถิกประโยคเพราะดื่มหรือเสพด้วยตนเองเท่านั้น ไม่เป็นอาณัติกประโยค เพราะใช้ให้ผู้อื่นดื่มหรือเสพ[/FONT]
    [FONT=&quot]สิ่งมึนเมาที่อนุโลมเข้ากับสุราและเมรัย[/FONT]
    [FONT=&quot]การสูบ ฉีด หรือเสพ ยาเสพติดให้โทษ เช่น กัญชา เฮโรอีน มอร์ฟีน ฝิ่น ทินเนอร์ ฯลฯ เข้าไปในร่างกาย ซึ่งไม่ใมช่การดื่มกินเข้าไปเหมือนสุราและเมรัย ก็จัดว่าผิดศีลข้อที่ ๕ เหมือนกัน เพราะสิ่งเสพติดเหล่านี้ แม้จะไม่ได้ดิ่มกินทางปากก็ตามที แต่ก็สำเร็จเป็นการทำให้มีนเมา ทำให้ไม่สามารถควบคุมสติและควบคุมตนเองได้ เช่นเดียวกับหารดิ่มกินสุราเมรัย ซ้ำยังมีโทษร้ายแรงยิ่งกว่าสุราเมรัยเสียอีก[/FONT]
    [FONT=&quot]ยาเสพติด เช่น กัญชา เฮโรอีน มอร์ฟีน ฝิ่น ทินเนอร์ เป็นต้นนั้น ถึงแม้ว่าไม่มีในครั้งพุทธกาล และพระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงห้ามไว้ก็ตามที แต่ก็อนุโลมเข้ากันได้กับสุราเมรัยและของมึนเมาอย่างอื่นอีก เพราะอาศัยหลักฐานคือ มหาปเทส ๔ ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้เป็นหลัก เพราะฉะนั้นยาเสพติดทุกชนิดที่อนุโลมเข้ากับสิ่งที่ไม่ควร จึงทำให้ผู้ที่สูบ เสพ หรือ ฉีด สิ่งเสพติดให้โทษทุกชนิดผิดศีลข้อที่ ๕ ด้วย[/FONT]
    [FONT=&quot]มหาปเทสนั้นมี ๔ ประการ ได้แก่.-[/FONT]
    [FONT=&quot]๑. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากับสิ่งไม่ควร(อกัปปิยะ) ขัดต่อสิ่งที่ควร (กัปปิยะ) สิ่งนั้นไม่ควร[/FONT]
    [FONT=&quot]๒. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่ควร(กัปปิยะ) ขัดต่อสิ่งที่ไม่ควร สิ่งนั้นควร[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. สิ่งใดที่ไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากับสิ่งที่ไม่ควร(อกัปปิยะ) ขัดต่อสิ่งที่ควร(กัปปิยะ) สิ่งนั้นไม่ควร.[/FONT]
    [FONT=&quot]๔.สิ่งใดที่ไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร แต่เข้ากับสิ่งที่ควร(กัปิยะ)ขัดกันกับสิ่งที่ไม่ควร (อกัปปิยะ) สิ่งนั้นควร[/FONT]
    [FONT=&quot]สุรา และ เมรัย และสิ่งเสพติดให้โทษทั้งหมดนั้น ย่อมทำให้ผู้ที่ดื่มมึนเมาเสียสติ เป็นบ่อเกิดแห่งความประมาท เลินเล่อเผลอสติ ขาดความยั้งคิด ทำในสิ่งที่ไม่ควรทำทุกอย่างได้ทั้งหมด ไม่มีความละอาย และเป็นเหตุให้ทำความชั่วอย่างอื่นได้อีกมากมาย สร้างความปั่นป่วนให้สังคม การดื่มสุราเมรัย และหรือเสพยาเสพติดให้โทษ เป็นอบายมุข เป็นหนทางแห่งหายนะ ฉะนั้นน้ำเมาคือสุราเมรัยจึงได้ชื่อว่า "เป็นที่ตั้งแห่งความประมาท" [/FONT]
     
  11. dearestguardian เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    306
    ค่าพลัง:
    +1,418
    แถมฟรีๆๆๆ กรุณา อ่าน( ทักษิณมีไหม)

    [FONT=&quot]คุณสมบัติ 8 ประการของพระโพธิสัตว์[/FONT]
    [FONT=&quot]1. พระโพธิสัตว์ จักต้องบำเพ็ญตนให้เป็นคุณประโยชน์ต่อปวงสัตว์ โดยไม่ปรารถนา รับผลตอบแทนใด ๆ จากสัตว์ทั้งหลาย[/FONT]
    [FONT=&quot]2.พระโพธิสัตว์ สามารถเสวยสรรพทุกข์แทนสรรพสัตว์ได้โดยมิย่นย่อท้อถอย[/FONT]
    [FONT=&quot]3.พระโพธิสัตว์ สร้างคุณความดีไว้ มีประมาณเท่าไร ก็สามารถอุทิศให้แก่ สัตว์ทั้งหลายได้ ไม่หวงแหนตระหนี่ไว้[/FONT]
    [FONT=&quot]4. พระโพธิสัตว์ ตั้งจิตอยู่ในสมถธรรมอันสม่ำเสมอในปวงสัตว์ ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ถ่อมตนไว้ไม่ลำพองโดยปราศจากความขัดข้องใด ๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]5. พระโพธิสัตว์ เห็นพระโพธิสัตว์ ทุก ๆ องค์ ปานประหนึ่งเห็นพระพุทธองค์ อนึ่งพระสูตรใดที่ยังมิได้สดับตรับฟัง ครั้นได้มีโอกาสสดับตรับฟังแล้วก็ไม่บังเกิด ความคลางแคลงกังขาอย่างไร ในพระสูตรนั้น ๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]6. พระโพธิสัตว์ ไม่หันปฤษฎางค์ให้แก่ธรรมะของพระอรหันตสาวก แต่สมัครสมาน เข้ากันได้กับธรรมะดังกล่าวนั้น ๆ [/FONT]
    [FONT=&quot]7. พระโพธิสัตว์ ไม่เกิดความริษยาในลาภสักการะ อันบังเกิดแก่ผู้อื่นและไม่เกิด ความหยิ่งทะนงในลาภสักการะ อันบังเกิดแก่ตนเอง สามารถควบคุมจิตของตนไว้ได้[/FONT]
    [FONT=&quot]8. พระโพธิสัตว์ จักต้องหมั่นพิจารณาโทษของตนอยู่เป็นนิจ ไม่เที่ยวเพ่งโทษโพนทะนา โทษของผู้อื่น ตั้งจิตมั่นคงเด็ดเดี่ยว ในการสร้างบารมี รื้อขนสัตว์โลกให้พ้นทุกข์[/FONT]
    [FONT=&quot]นี้แลชื่อว่าคุณธรรมอันเป็นคุณสมบัติ 8 ประการของพระโพธิสัตว์ ผู้ใดปฏิบัติได้ตามนี้ ผู้นั้นก็จักได้เป็นพระโพธิสัตว์[/FONT]


    โดยความเคารพ
     
  12. เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,192
    อธิษฐานจิต
     
  13. อบอบ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +6
    คิดมาก่อนแล้วว่าจะต้องเป็นแบบนี้ เพียงแต่ยังไม่รู้ว่า เขาเป็นใครมาเกิดกันแน่ วันนี้เพิ่งได้ประจักษ์ความจริง ขอบคุณคุณเกษมที่เปิดหูเปิดตาให้สว่าง
     
  14. ohogamez เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +2,327
    ...เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อัปปริมาณัง...
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  15. ^ ^ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    569
    ค่าพลัง:
    +1,279
    ทายผิดหมดเลย เพราะหลงคิดว่าจำลองจะเจ๋งจริงพาคนไปตายสำเร็จ

    เอางี้แล้วกัน จริงๆ แล้ววันอังคาร เป็นวันแรงระดับพฤษภาทมิฬ ถ้าพรุ่นนี้
    ยังพาคนไปตายไม่สำเร็จอีก ก็รอวันอังคารหน้าเป็นวันสุดท้าย เลยจากนั้น
    เปลี่ยนราศีแล้ว ไม่มีวันแรงๆ อีกแล้ว ม็อบจะหมดโอกาศพาคนไปตาย

    สรุปอีกทีนะ

    วันอังคาร : วันแรงเหมาะกับการพาคนไปตาย
    วันพุธ : วันที่ประชาชนเห็นพ้องต้องกัน
    วันพฤหัส : วันมหามงคล ข่าวดีของปวงชนชาวไทย
    วันศุกร์ : ชัยชนะของทุนนิยม (แสดงให้เห็นทีนึงแล้ว)

    ไม่อาทิตย์นี้ ก็อาทิตย์หน้า จะได้เห็นตามนี้ ถ้าม็อบพาคนไปตายสำเร็จ 55+
    (วันนี้ม็อบเลิกไปแล้ว เพราะคนมาน้อย แหมๆ ทายผิดอีกแล้ว ดีใจที่ทายผิด เอิ๊กๆ
    สงสัยอาทิตย์หน้าก็ทำไม่สำเร็จอยู่ดี 55+ ม็อบอ่อนนี่พาคนไปตายไม่สำเร็จ)

    ปล.ย้ำนะครับว่า ใช้โหราศาสตร์ ไม่ได้ใช้พลังจิต
     
  16. อนาคิณ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    8
    ค่าพลัง:
    +13
  17. yeen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    678
    ค่าพลัง:
    +3,656
    เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อัปปริมาณัง รักขันตุุ สัพพะเทวตา

    .....ต่อให้ครับ
     
  18. jeds22 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    192
    ค่าพลัง:
    +498
    ผมเคยทำงานให้ ปรส. ในยุคของประชาธิปัตย์ครับ นั่นเป็นสาเหตุที่ผมจะเลือกพรรคใดก็ได้ที่ไม่ใช่ประชาธิปัตย์ ตลอดชีวิต
     
  19. พชร (พสภัธ) ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    5,746
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +49,866
    บุญเก่ายังคุ้มคุณทักษิณอยู่ คุณสนธิทำอะไรคุณทักษิณไม่ได้สักที "ไม่เห็นมีอะไรในกอไผ่" เลื่อนแล้วเลื่อนอีกนี้ก็นักประชุมกันใหม่อีกวันที่13-14 เดี๋ยวก็อีหลอบเดิบ คุณทักษิณไม่กลัวแถมยังให้ตำรวจดูแลประชาชนที่มาประชุมอย่างดี555555555555 คนมันมีบุญเก่าคุ้มหัวไครจะทำอะไรได้ ก็ต้องรอให้"อกุศลกรรมเข้าแซกก่อน" ค่อยดูกันไป แต่ในที่สุดประชาชนก็ยังอยู่ได้ยังอยู่ดีมีสุขเพราะคนไทย"ขี้ลืม"เดี๋ยวก็ลืมแล้ว"
     
  20. penney เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    322
    ค่าพลัง:
    +1,137
     

แชร์หน้านี้