คำตอบของคุณ Generationxxx มีเนื้อหาน่าคิดจริงๆ น่าสนใจ
++ เรื่องที่สงสัย...จิตวิญญาณ เกิดขึ้นได้อย่างไร! ++
ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย k_g, 2 พฤษภาคม 2010.
หน้า 3 ของ 4
-
ครับผม....เข้าใจว่าเป็นวิธีการคิด
นี้ไม่ใช่ความเห็นขัดแย้งนะครับ แต่เป็นการพูดให้ละเอียด ให้ชัดเท่านั้น
และเราต้องไม่ลืมว่าความคิดคือความคิด ความคิดบางอย่างไม่ตรงกับความจริง แต่เป็นความคิดที่หาเหตุผล เหมือนการที่มีการลงโทษคนที่ไม่ได้ทำผิด แต่เพราะศาลพิจารณาว่าหรือคิดว่าคนนี้ได้ทำผิดจึงลงโทษ คนนั้นก็กลายเป็นแพะรับบาปไป มีอยู่มากมาย เพราะความคิดไม่ตรงกับความจริงนั้นเอง ฯ แต่ก็เป็นการดีที่คิดหาเหตุผล หาทางออก หาคำตอบ ด้วยวิธีคิด ก็ดีเหมือนกันฯ
นิพพานไม่ใช่บ้านเดิม แต่เป็นบ้านใหม่ที่จิตไม่เคยมีที่ต้องสร้างเพื่อจะได้ใช้เป็นที่อยู่ที่ถาวรของเราคือจิตดวงนี้ เพราะที่อื่นเป็นที่อยู่ไม่ถาวร (อนิจจัง) เป็นบ้านรั่ว ผุพัง (ทุกขัง) ไม่ถูกตามแบบที่ต้องการ (อนัตตา)ฯ
เมื่อมีนิพพานเป็นบ้านอยู่ที่ดีที่สุดแล้ว จะทิ้งหรือหนีบ้านหลังนั้นไปสร้างใหม่ ให้ลำบากทำไม ล่ะครับ ฯ
อะเนกะชาติ สังสารัง สันธาวิสสัง อะนิพพิสัง คะหะการัง คะเวสันโต ทุกขา ชาติ ปุนัปปุนัง.....
พระองค์ตรัสไว้แล้วว่า ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย ภพใหม่ไม่มีต่อไป(สำหรับผู้ได้นิพพาน) ดังนั้น เราไม่ได้มาจากนิพพาน เรามาจากที่อื่นที่มีสิ่งเอื้ออำนวยหรือส่งให้มา คือ กิเลส กรรม วิบาก ที่ดีและทั้งไม่ดีติดมาด้วย นั่นคือบุญและบาปเป็นผู้กำหนด เพราะพระอรหันต์ หรือนิพพานนั้นไม่มีทั้งบุญและบาป หรือกิเลส กรรม วิบาก หรือตัณหา ที่จะให้มาเกิดอีก นั่นเอง ฯ
ชัดบ่.....
ความคิดคือความคิด
ความคิดไม่ใช่ความจริง
ความจริงอาจไม่ใช่สิ่งเดียวกับนความคิด
คือคิดว่าถูกแล้ว แต่ความจริงยังไม่ถูก หรืออาจไม่ถูกก็ได้ เช่นเวลาสอบ เราคิดว่าคำตอบนั้นถูกต้องที่สุดแล้ว กาลงไปเพราะคิดว่าถูก แต่ปรากฏว่าผิด ทำให้เสียคะแนนไป ความจริงเป็นอย่างนั้น ฯ ครับผม
มีความรู้ก็อย่าเกินตำรา (เพราะอาจเกิดเป็นทฤษดีผิด ๆ (มิจฉาทิฏฐิ) เหมือนครูทั้ง 6 มีนิครนนาฏบุตร เป็นต้นนั้น
เป็นนักปราชญ์ อย่าเกินศาสดา (ที่ตนนับถือ) เพราะอาจพลาดเป้าที่ต้องการ ดังนั้นเราอย่าเกินพระพุทธเจ้า เด็ดขาด
เป็นผู้มีศรัทธา ก็อย่าเกินกำลัง (เพราะจะทำให้ไม่ได้บุญตามที่ต้องการ
เป็นนายช่าง อย่าลืมไม้บรรทัด (เพราะจะทำให้ทำผิดแบบแปลนที่ต้องการ
เป็นนักปฏิบัติ อย่าลืมขจัดมานะ 9 เพราะนั่นเป็นกิเลสที่ละเอียดที่ฝังอยู่ในใจ
จะทำให้ไม่สามารถบรรลุธรรมชั้นสูงสุด
ถ้าละมานะ เราก็จะเห็นธรรมที่ต้องการ
ดีจังเลยเรามีนักคิด นักศึกษา ละเอียดดี เพิ่มขึ้น ดี ดี ดี
<!--[if gte mso 9]><xml> <o:OfficeDocumentSettings> <o:AllowPNG/> </o:OfficeDocumentSettings> </xml><![endif][if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:EnableOpenTypeKerning/> <w:DontFlipMirrorIndents/> <w:OverrideTableStyleHps/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif][if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif][if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0in 5.4pt 0in 5.4pt; mso-para-margin-top:0in; mso-para-margin-right:0in; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0in; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]--> [FONT="]เพื่อสัจจธรรม[/FONT]
[FONT="]ปฐมพุทธภาสิตคาถา[/FONT]
[FONT="](หันทะ มะยัง ปะฐะมะพุทธะภาสิตะคาถาโย ภะณามะ เส)[/FONT]
[FONT="]เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกล่าวคาถาพุทธภาษิตครั้งแรกของพระพุทธเจ้าเถิด[/FONT]
[FONT="]อะเนกะชาติสังสารัง สันธาวิสสัง อะนิพพิสัง[/FONT]
[FONT="]เมื่อเรายังไม่พบญาณ[/FONT], [FONT="]ได้แล่นท่องเที่ยวไปในสงสารอันเป็นอเนกชาติ[/FONT]
[FONT="]คะหะการัง คะเวสันโต ทุกขา ชาติ ปุนัปปุนัง[/FONT],
[FONT="]แสวงหาอยู่ซึ่งนายช่างปลูกเรือน[/FONT],
[FONT="]คือตัณหาผู้สร้างภพ[/FONT], [FONT="]การเกิดทุกคราวเป็นทุกข์ร่ำไป[/FONT]
[FONT="]คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะ เคหัง นะ กาหะสิ[/FONT]
[FONT="]นี่แน่ะ นายช่างปลูกเรือน[/FONT], [FONT="]เรารู้จักเจ้าเสียแล้ว[/FONT],
[FONT="]เจ้าจะทำเรือนให้เราไม่ได้อีกต่อไป[/FONT]
[FONT="]สัพพา เต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏัง วิสังขะตัง[/FONT],
[FONT="]โครงเรือนทั้งหมดของเจ้าเราหักเสียแล้ว[/FONT], [FONT="]ยอดเรือนเราก็รื้อเสียแล้ว[/FONT]
[FONT="]วิสังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคา[/FONT]
[FONT="]จิตของเราถึงแล้วซึ่งสภาพที่อะไรปรุงแต่งไม่ได้อีกต่อไป[/FONT],
[FONT="]มันได้ถึงแล้วซึ่งความสิ้นไปแห่งตัณหา (คือ ถึงนิพพาน)[/FONT]
[FONT="]สติปัฏฐาน4, สัมมัปธาน4, อิทธิบาท4, อินทรีย์5, พละ5, โพชฌงค์7, อริยมรรค8,[/FONT] (หรือเรียกว่า โพธิปักขิยธรรม 37 ประการ)
[FONT="]คือข้อปฏิบัติที่จะทำให้เกิดความเข้าถึง เข้าสู่วิถีแห่งการรู้ความจริงของกายหรือใจ หรือมโน หรือโลกนี้ ครับ[/FONT]
[FONT="]
สิ่งที่ทรงเปล่งอุทานออกมานั้นได้ยังความบันดาลใจแก่ผู้วิปัสสนาในเวลาต่อๆมา [/FONT]
[FONT="]ทรงอุทาน (เป็นพระปฐมพุทธภาษิต) [/FONT]นั้น
[FONT="]ในคืนที่ตรัสรู้ พระองค์ได้ทรงชำระจิตจนบริสุทธิ์สะอาดหมดจด จิตของพระองค์จึงเป็นจิตที่ทรงพลังอำนาจมาก สามารถมองย้อนหลังไปได้ถึงอดีตกาลไกลๆ ทรงระลึกถึงอดีตกาลไม่เฉพาะในชาตินี้ แต่ในชาติก่อนๆเป็นล้านๆชาติด้วย ได้ทรงเห็นชาติต่างๆในอดีตของพระองค์ว่า ได้ทรงเกิดมาหลายครั้งหลายหนแล้ว[/FONT]
[FONT="]อะเนกะชาติ สังสารัง อะเนกะชาติ สังสารัง[/FONT]
[FONT="]แต่ละชาติที่เกิดมาทรงทำอะไรบ้าง คนที่มีชีวิตเกิดมาแล้ว ทำอะไรกันบ้างเล่า สันธาวิสสัง อะนิพพิสัง สิ่งที่คนเราทำคือ วิ่ง วิ่ง วิ่ง อยู่ตลอดเวลา วิ่งอย่างไม่หยุดยั้ง วิ่งโยไม่อาจหยุดได้แม้สักขณะจิตเดียว ได้แต่วิ่ง วิ่ง วิ่งต่อไป วิ่งเข้าไปหาความตาย นับแต่เวลาที่ถือกำเนิดมา คนเราก็เริ่มต้นวิ่ง และวิ่งต่อไปเรื่อยๆ แม้แต่จะร้องขอว่า[/FONT]
[FONT="]ขอให้ฉันหยุดสักนิดเถิด ก็ไม่อาจจะทำได้ เรายังคงวิ่งต่อไป วิ่งเข้าไปหาความตาย แล้วจากนั้นชีวิตก็เริ่มต้นใหม่อีก แล้วก็เริ่มวิ่งอีก วิ่ง วิ่ง วิ่งเข้าไปหาความตายอีกและนี่คือสิ่งที่ทรงกระทำในทุกๆชาติ[/FONT]
[FONT="]แล้วก็ทรงจำได้ว่า ในอดีตชาตินั้น บางชาติได้มีปราชญ์ผู้เฉลียวฉลาดบอกแก่พระองค์ว่า วงล้อชีวิต วงล้อของความเกิดและความตาย วงล้อแห่งความทุกข์นั้น คนเราจะสามารถหลุดพ้นได้ก็ต่อเมื่อได้พบกับผู้สร้าง ใครกันที่สร้างบ้านใหม่ให้แก่เรา ใครกันที่สร้างร่างกายใหม่สำหรับเรา หลังการตายทุกครั้ง จะมีร่างกายใหม่ที่พร้อมสำหรับเรา ถ้าเราได้รู้จักผู้สร้าง เราก็จะพ้นความทุกข์ และจะหลุดพ้นจากวงจรนี้[/FONT]
[FONT="]คะหะการัง คะเวสันโต พระองค์ได้ทรงพยายามสืบหาตัวผู้สร้างในแต่ละชาติที่ทรงเกิด[/FONT]
[FONT="]คะหะการัง คะเวสันโต ทุกขาชาติ ปุนับปุนัง ได้ทรงความเพียรหลายอย่างหลายประการ[/FONT]
[FONT="]เช่นทำสมาธิภาวนาด้วยวิธีต่างๆ ทรมานพระวรกายด้วยวิธีต่างๆ รวมทั้งประกอบพิธีกรรมมากมาย แต่ก็ไม่ได้ผลอะไร ยังคงมีแต่ความทุกข์อยู่เช่นเดิม ชีวิตแล้ว ชีวิตเล่า ไม่ว่าจะเป็นชีวิตในระดับใด แม้ในระดับสูงสุดที่มีแต่ความสุขสบาย ความตายก็มาถึงทั้งสิ้น และความตายนี้ก็เป็นทุกข์ ทุกขาชาติ ปุนับปุนัง การเกิดจะนำมาแต่ความทุกข์และความทุกข์[/FONT]
[FONT="]คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ไม่มีผู้สร้างรายใดที่จะสามารถสร้างบ้านให้พระองค์แล้ว[/FONT]
[FONT="]คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะ เคหัง นะกาหะสิ ไม่มีผู้สร้างรายใดที่จะสามารถสร้างบ้านให้พระองค์ได้อีกแล้ว จะสร้างบ้านให้พระองค์ได้อย่างไรกัน ในเมื่อวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างของพระองค์ได้ถูกทำลายไปจนหมดสิ้นแล้ว ในการสร้างบ้านต้องมีอิฐ มีหิน หรือปูน หรือไม้ หรือเหล็ก แต่สิ่งเหล่านั้นได้ถูกทำลายไปจนหมดสิ้นแล้ว[/FONT]
[FONT="]สัพพา เต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏัง วิสังขะตัง วัสดุก่อสร้างได้ถูกทำลายหมดแล้ว[/FONT]
[FONT="]วิสังขาระคะตัง จิตตัง จิตของพระองค์ไม่มีสังขารที่จะทำให้เกิดใหม่อีก[/FONT]
[FONT="]สังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคา ฉะนั้นจึงไม่มีตัณหาสำหรับอนาคตอีก ไม่มีสังขารใหม่ที่จะทำให้เกิดใหม่อีกแล้ว[/FONT]
[FONT="]และสังขารเก่าก็ถูกกำจัดไปจนหมดสิ้น นี่ก็คือความหลุดพ้นแล้ว[/FONT]
[FONT="]ผู้สร้างคนไหนเล่าที่ได้ทรงค้นพบในชาติเหล่านั้น เมื่อทรงย้อนดูเพื่อสืบหาตัวผู้สร้าง พระองค์ก็ประจักษ์แจ้งในพระหฤทัยว่า สัจธรรมคือความจริงแท้นั่นเอง คือพระเจ้าผู้สร้าง สัจธรรมคือพระเจ้าผู้สร้างที่แท้จริง เมื่อได้ทรงค้นหาความจริงด้วยการชำระจิตให้บริสุทธิ์ปราศจากกิเลสทั้งมวล[/FONT]
[FONT="]และได้เข้าถึงสัจธรรม คือ ความจริงอันสูงสุด ก็ทรงหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งมวล หลุดพ้นโดยสิ้นเชิง[/FONT]
[FONT="]ที่มา: หลักสูตร[/FONT]10[FONT="] วัน ธรรมบรรยาย โดยท่านอาจารย์โกเอ็นก้า ธรรมบรรยายวันที่ [/FONT]5[FONT="] หน้า [/FONT]124- 125
http://palungjit.org/f14 A1-29110.html -
เรื่องของจิตดวงแรกที่เกิดขึ้น หรือการสร้างดวงจิตดวงแรกให้เกิดขึ้นนั้นเป็นเรื่องอจินไตย คือพูดไปก็หาที่สิ้นสุดไม่ได้ ถ้ามีผู้ที่สร้างดวงจิตแล้วท่านสร้างได้อย่างไร สร้างทำไม สร้างเพื่ออะไร ก็จะมีคำถามต่อๆมาไม่มีที่สิ้นสุด แต่ก็ชวนให้คิดที่จะค้นหา เคยคิดเล่นๆ ว่าแล้วก่อนกำเนิดมนุษย์ได้กำเนิดสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่นสัตว์โลกล้านปี พวกไดโนเสา และถ้าเราเชื่อในเรื่องของการเวียนว่ายตายเกิดในภพชาติต่างๆ ก็มีคำถามเกิดขึ้นมาว่า แล้วดวงจิตไดโนเสาหายไปไหน เคยลองค้นหาดูว่ามีผู้ใดเคยเกิดในภพภูมิที่เป็นไดโนเสาก็หามีไม่ ก็คิดเล่นๆว่า งั้นคงถูกชำระล้างไปหมดแล้ว เพราะไม่เคยพบเจอดวงจิตไดโนเสาเลยซักดวง(คิดกันเล่นๆครับ คงไม่ว่ากัน)
-
-
[FONT="]ข้อมูลสรุป เพื่อการศึกษา[/FONT][FONT="]ลัทธิของครูทั้ง [/FONT]6[FONT="] ในสามัญผลสูตร[/FONT]http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/[FONT="]2007/06/[/FONT]Y[FONT="]5536994/[/FONT]Y[FONT="]5536994.[/FONT]html
[FONT="]ลัทธิของครูทั้ง [/FONT]6[FONT="] จัดว่าเป็นลัทธิร่วมพุทธกาล มีหลักฐานปรากฏในสามัญผลสูตรที่กล่าวถึงครูทั้ง [/FONT]6[FONT="] ว่า... [/FONT]
[FONT="]เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรู[/FONT][FONT="]ได้ครองราชย์สืบต่อจากพระเจ้าพิมพิสารผู้ราชบิดา อยู่มาวันหนึ่งทรงมีความประสงค์จะสนทนากับสมณพราหมณ์ ในปัญหาเรื่องการบวชมีผลเป็นที่ประจักษ์อย่างไร ได้เสด็จถามปัญหาดังกล่าวกับครูทั้ง [/FONT]6[FONT="] และได้รับคำตอบไม่เป็นที่พอพระทัย เพราะเป็นการถามปัญหาอย่างหนึ่งและตอบเสียอีกอย่างหนึ่ง ทรงนำคำตอบในลัทธิของครูทั้ง [/FONT]6[FONT="] มาตรัสเล่าถวายพระพุทธเจ้า ข้อความพิสดารมีปรากฏในสามัญญผลสูตร ครูทั้ง [/FONT]6[FONT="] นั้นมีนามปรากฏ ดังนี้ คือ[/FONT]
1. [FONT="]ปูรณกัสสปะ[/FONT] 2. [FONT="]มักขลิโคศาล[/FONT] 3. [FONT="]อชิตเกสกัมพล[/FONT]
4. [FONT="]ปกุธกัจจายนะ[/FONT] 5. [FONT="]สญชัยเวลัฏฐบุตร[/FONT] 6. [FONT="]นิครนถนาฏบุตร[/FONT]
--->> 1. [FONT="]ทรรศนะของปูรณกัสสปะ[/FONT]
[FONT="] ปูรณกัสสปะ เป็นเจ้าลัทธิเก่าแก่ผู้หนึ่ง มีความเห็นว่า วิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพเป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ร่างกายนี้เองเป็นเจ้าของพฤติกรรม วิญญาณไม่เกี่ยวข้องกับกรรมดีกรรมชั่วที่ร่างกายทำ แต่ร่างกายก็เป็นสิ่งที่ไร้เจตนา ดังนั้น เมื่อร่างกายทำสิ่งใด ๆ ลงไป จึงไม่จัดเป็นบุญบาปแต่อย่างใด บุคคลไม่จัดว่าได้ทำบุญเมื่อให้ทาน เป็นต้น และไม่จัดว่าได้ทำบาป เมื่อฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ประพฤติผิดในกาม หรือพูดปด [/FONT]
[FONT="]พระพุทธศาสนาเรียกทรรศนะของปูรณกัสสปะว่า [/FONT]“[FONT="]อกิริยวาท [/FONT]” [FONT="]แปลว่า [/FONT]“[FONT="]กล่าวการทำว่าไม่เป็นอันทำ[/FONT]”
[FONT="] เป็นทรรศนะที่ปฏิเสธพลังงาน ปฏิเสธกรรมไปด้วยพร้อมกัน ผู้มีทรรศนะดังกล่าวนี้เรียกว่า [/FONT]“[FONT="]อกิริยวาที[/FONT]” [FONT="]แปลว่า [/FONT]“[FONT="]ผู้กล่าวการทำว่าไม่เป็นอันทำ[/FONT]” [FONT="]ขัดแย้งกับหลักกรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง เพระพระพุทธศาสนาสอนหลักกรรมว่า สัตว์ทั้งหลายเป็นไปตามกรรม ผู้ทำกรรมดีย่อมได้รับผลดี ผู้ทำกรรมชั่วย่อมได้รับผลชั่ว และถือว่าเป็นหลักเหตุผลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง[/FONT]
**************************************************************************
--->> 2. [FONT="]ทรรศนะของมักขลิโคศาล[/FONT]
[FONT="] กล่าวกันว่า มักขลิโคศาลเป็นเจ้าลัทธิฝ่าย อาชีวก วันหนึ่งเห็นต้นข้าวที่คนเหยียบย่ำแล้วกลับงอกงามขึ้นมาอีก จึงเกิดความคิดว่า [/FONT]“[FONT="]สัตว์ทั้งหลายหลังจากตายแล้ว จะต้องกลับมีวิญญาณขึ้นมาอีก ไม่ตายไม่สลาย[/FONT]” [FONT="]และถือว่า [/FONT]“[FONT="]สัตว์ทั้งหลายขึ้นอยู่กับกระบวนการที่ได้กำหนดไว้แล้ว[/FONT]” [FONT="]กระบวนการดังกล่าว เริ่มต้นจากระดับต่ำสุดไปหาจุดหมายที่สูงสุด เป็นกระบวนการที่แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง เช่นเดียวกับความร้อนมีระดับต่ำเป็นน้ำแข็ง และมีระดับสูงเป็นไฟ[/FONT]
[FONT="]มักขลิโคศาลปฏิเสธกรรมและพลังความเพียรว่าเป็นสิ่งที่ไร้ความหมาย สัตว์ทั้งหลายไม่ต้องทำความเพียร และไม่ต้องทำความดีเพื่ออะไร เพราะการบรรลุโมกษะไม่ได้สำเร็จด้วยความเพียรหรือด้วยกรรมใด ๆ สัตว์จะต้องเวียนว่ายตายเกิดจากภพสู่ภพไปโดยลำดับ เมื่อถึงภพสุดท้ายก็จะเข้าถึงความบริสุทธิ์ได้เอง ความบริสุทธิ์ประเภทนี้เรียกว่า [/FONT]“[FONT="]สังสารสุทธิ[/FONT]” [FONT="]คือความบริสุทธิ์ที่ได้จากการเวียนว่ายตายเกิด กระบวนการเวียนว่ายตายเกิดของสรรพสัตว์ เช่นเดียวกับการคลี่เส้นด้ายออกจากกลุ่ม เมื่อจับปลายเส้นด้ายด้านนอกแล้วปากกลุ่มด้ายไป กลุ่มด้ายจะคลี่ออกจนถึงปลายด้านใน ปลายสุดด้านในของเส้นด้ายนั่นเอง เปรียบเหมือนความบริสุทธิ์ของสัตว์ หรือที่เรียกว่าโมกษะ[/FONT]
[FONT="]เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตหนึ่ง ๆ เป็นเรื่องของการโชคดีและเคราะห์ร้าย ไม่เกี่ยวกับกรรมดีและกรรมชั่วแต่อย่างใด สัตว์ประเภทอื่น ๆ จะเข้าถึงโมกษะได้ จำต้องมาเกิดเป็นมนุษย์ก่อนจึงจะเข้าถึงความบริสุทธิ์ได้[/FONT]
[FONT="]พระพุทธศาสนาเรียกทรรศนะของมักขลิโคศาลว่า [/FONT]“[FONT="]อเหตุกวาทะ[/FONT]” [FONT="]คือกล่าวว่า [/FONT]“[FONT="]ความเศร้าหมองและความบริสุทธิ์ของสัตว์ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัย [/FONT]” [FONT="]ทรรศนะของมักขลิโคศาลจัดเป็น[/FONT]
[FONT="] อกิริยาวาทด้วย เพราะเป็นการปฏิเสธกรรมและผลของกรรมอยู่แล้วด้วย ทั้งยังเป็นอวิริยวาทด้วย เพราะปฏิเสธพลังความเพียรว่าเป็นสิ่งไร้ผลด้วย[/FONT]
**************************************************************************
--->> 3. [FONT="]ทรรศนะของอชิตเกสะกัมพล[/FONT]
[FONT="]ทรรศนะของอชิตเกสัมพล ตรงกับปรัชญาในยุคหลังคือวัตถุนิยม เป็นทรรศนะที่ปฏิเสธว่า ไม่มีสัตว์ ไม่มีบุคคลใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่มีชาติหน้า ไม่มีบุญ ไม่มีบาป ปฏิเสธกรรมดีกรรมชั่ว ปฏิเสธพิธีกรรมทางศาสนาว่าไร้ผล ปฏิเสธความสมบูรณ์ทางจิต ไม่มีใครทำดีไม่มีใครทำชั่ว เพราะสัตว์ประกอบด้วยธาตุ [/FONT]4[FONT="] คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ จึงไม่มีสัตว์ใด ๆ คงมีแต่กลุ่มธาตุ ชาตินี้ของสัตว์สิ้นสุดลงที่การตาย ไม่มีอะไรเหลืออีกหลังจากตาย[/FONT]
[FONT="]ธาตุทั้งหลายเหล่านั้นทำหน้าที่ผลิตวิญญาณขึ้นมา เมื่อธาตุเหล่านั้นแยกจากกันสัตว์ก็สิ้นสุดกันแค่นั้น ไม่มีความดีความชั่ว ไม่มีโลกหน้าชาติหน้าต่อไปอีก ไมมีสวรรค์หรือโลกทิพย์ที่ไหนอีก ไม่มีพระเจ้า โลกนี้ดำรงอยู่โดยตัวเอง วิญญาณและเจตนาของสัตว์เกิดจากธาตุ เช่นเดียวกับสุราที่เกิดจากการหมักดองเครื่องปรุง เมื่อทุกอย่างสิ้นสุดลงที่ความตายจึงไม่จำเป็นต้องทำบุญเพื่อเป็นเสบียงไปชาติหน้า ทรรศนะนี้ปฏิเสธคัมภีร์พระเวทอย่างรุนแรง เป็นทรรศนะที่ชี้แนะว่า สัตว์จะแสวงหาความสุขแก่ตนด้วยวิธีใด ๆ ก็ได้ ไม่ต้องทำสิ่งที่เคยเชื่อกันมาว่าจะอำนวยความสุขในชาติหน้า เพราะวิญญาณคือร่างกายที่ยังมีชีวิตอยู่นั่นเอง [/FONT]
[FONT="]พระพุทธศาสนาเรียกทรรศนะนี้ว่า [/FONT]“[FONT="]นัตถิกวาท[/FONT]” [FONT="]แปลว่า [/FONT]“[FONT="]กล่าวว่าไม่มีสัตว์บุคคล[/FONT]”
[FONT="]ทรรศนะของอชิตเกสกัมพล ตรงกับปรัชญาจารวากหรือวัตถุนิยม ยอมรับค่านิยมทางกามสูขเท่านั้น ไม่มีค่านิยมใด ๆ อีกที่เหมาะสมของมนุษย์ จึงเป็นทรรศนะที่ถูกตำหนิจากปรัชญาอื่นอย่างมาก[/FONT]
*****************
[FONT="]คำอธิบายสามัญญผลสูตรกล่าวว่า เจ้าลัทธิทั้ง [/FONT]3[FONT="] ดังกล่าวแล้วนั้น [/FONT]
--> [FONT="]ปูรณกัสปะกล่าวว่า เมื่อบุคคลทำบาป ไม่ชื่อว่าเป็นทำบาป จัดว่าเป็นการปฏิเสธกรรม [/FONT]
--> [FONT="]เจ้าลัทธิอชิตเกสกัมพลกล่าวว่า สัตว์ทั้งหลายตายแล้วหมดสิ้นกัน ไม่มีอะไรไปเกิดอีก จัดว่าเป็นการปฏิเสธผลของกรรม[/FONT]
--> [FONT="]เจ้าของลัทธิมักขลิโคศาลกล่าวว่า สัตว์ทั้งหลายไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย เศร้าหมองเองมีความบริสุทธิ์ได้เอง จัดว่าเป็นการปฏิเสธทั้งกรรมและผลของกรรม [/FONT]
[FONT="]เจ้าลัทธิปูรณกัสสะปะแม้ปฏิเสธแต่กรรม ก็จัดว่าปฏิเสธผลของกรรมไปด้วย[/FONT]
[FONT="]เจ้าลัทธิอชิตเกสกัมพลเมื่อปฏิเสธผลของกรรมก็เป็นการปฏิเสธกรรมไปด้วยแล้ว [/FONT]
[FONT="] เพราะฉะนั้น โดยความหมายแล้ว เจ้าลัทธิทั้ง [/FONT]3[FONT="] จัดว่าเป็นทั้ง อกิริยาวาทอเหตุ และนัตถิกวาท เหมือน ๆ กัน เพราะปฏิเสธทั้งกรรมและผลกรรม[/FONT]
-->> [FONT="]ฏีกาสามัญญผลสูตรกล่าวว่า...[/FONT]
[FONT="] เจ้าลัทธิปูรณกัสสปะจัดว่าปฏิเสธกรรม เพราะกล่าวการทำว่าไม่เป็นอันทำ [/FONT]
[FONT="] เจ้าลัทธิอชิตเกสกัมพลจัดว่าปฏิเสธผลกรรม เพราะถือว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้นอีกต่อไป [/FONT]
[FONT="]เจ้าลัทธิมักขลิโคศาลจัดว่าปฏิเสธทั้งกรรมและผลกรรม เพราะเมื่อทำการปฏิเสธเหตุก็เท่ากับปฏิเสธผลไปด้วยกัน เมื่อปฏิเสธเหตุของความเศร้าหมองและความบริสุทธิ์ ก็เป็นการปฏิเสธผลกรรมเสียแล้วด้วย เมื่อกรรมไม่มีผลกรรมก็ต้องไม่มีด้วย หรือเมื่อผลกรรมไม่มี ก็ต้องสืบเนื่องมาจากกรรมไม่มี[/FONT]
-->> [FONT="]คำอธิบายคัมภีร์ เอกนิบาต อังคุตตรนิกาย กล่าวว่า... มิจฉาทิฐิ[/FONT]
[FONT="]บางอย่างห้ามทั้งสวรรค์และมรรค[/FONT]
[FONT="]บางอย่าง ห้ามแต่มรรคอย่างเดียว ไม่ห้ามสวรรค์[/FONT]
[FONT="]บางอย่างไม่ห้ามทั้งมรรค และสวรรค์[/FONT]
[FONT="]มิจฉาทิฐิ [/FONT]3[FONT="] อย่างคือ [/FONT]
[FONT="]อกิริยทิฐิ และนัตถิกทิฐิ ห้ามทั้งสวรรค์และมรรค[/FONT]
[FONT="]มิจฉาทิฐิถึงที่สุด [/FONT]10[FONT="] อย่าง คือการยึดถือว่า โลกเที่ยง เป็นต้น จัดว่าห้ามแต่มรรคอย่างเดียว เป็นความเห็นที่วิปริตจากทางของมรรค แต่ไม่ห้ามสวรรค์เพราะไม่เป็นอกุศลกรรมบถ [/FONT]
[FONT="]ส่วนสักกายทิฐิ [/FONT]20[FONT="] มีเห็นรูปว่าเป็นตน เห็นตนว่าเป็นรูป เห็นตนในรูป เป็นต้น เป็นการเห็นลักษณะ [/FONT]4[FONT="] อย่างในขันธ์ [/FONT]5[FONT="] รวมเป็น [/FONT]20[FONT="] ไม่ห้ามทั้งสวรรค์และมรรคเพราะไม่เป็นอกุศลกรรมบถ และเมื่อเกิดความรู้จัดแจ้งตามเป็นจริง ก็บรรลุมรรคผลได้[/FONT]
[FONT="]จากคุณ : ปราชญ์ขยะ - [ [/FONT]22[FONT="] มิ.ย. [/FONT]50 18:05:26 ]
--->> 4. [FONT="]ทรรศนะของปกุธกัจจายนะ[/FONT]
[FONT="]ปกุธกัจจายนะเป็นนักพหุนิยมและวัตถุนิยม มีทรรศนะคล้ายกับอชิตเกสกัมพลโดยถือว่าสัตว์ประกอบด้วยธาตุทั้งหลาย ธาตุเหล่านั้นเป็นสิ่งที่มีความมั่นคง ไม่เป็นบ่อเกิดของสิ่งใด ๆ ได้อีก ไม่มีพฤติกรรมร่วมกับสิ่งใด ๆ ไม่มีการเคลื่อนไหว ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึงไม่มีใครฆ่าใคร ไม่มีใครถูกฆ่า ไม่มีใครแสดงอะไรแก่ใคร ไม่มีใครสอน ไม่มีใครเรียน แม้ดาบจะผ่านร่างกายของสัตว์ไปก็ไม่จัดเป็นการทำบาป ไม่จัดเป็นการทำลายสัตว์เป็นเพียงดาบได้ผ่านกลุ่มธาตุที่ปรากฏเป็นร่างกายเท่านั้น ร่างกายนั้นเป็นกลุ่มของปรมาณูไม่มีสิ่งอื่นใดทุกอย่างสิ้นสุดลงพร้อมกับการตายของสัตว์นั้น ๆ [/FONT]
[FONT="]พระพุทธศาสนาเรียกทรรศนะนี้ว่า [/FONT]“[FONT="]อุจเฉทวาทะ[/FONT]” [FONT="]หรือ [/FONT]“[FONT="]อุจเฉททิฐิ[/FONT]” [FONT="]แปลว่า [/FONT]“[FONT="]เห็นว่าสูญสิ้น[/FONT]” [FONT="]คือไม่มีใคร ตายแล้วจึงไม่มีอะไรเหลืออยู่อีก อยู่ในฐานะเป็น นัตถิกทิฐิ คือ ปฏิเสธความเป็นสัตว์เป็นบุคคล เป็นอเหตุกทิฐิ คือ ปฏิเสธเหตุของความเศร้าหมอง ความบริสุทธิ์ และเป็น อกิริยทิฐิ คือ ปฏิเสธการกระทำด้วย เพราะเมื่อปฏิเสธบุคคลอย่างเดียวแล้ว การกระทำจะมีได้อย่างไร เพราะฉะนั้น ทรรศนะของเจ้าลัทธิปกุธกัจจายนะ จึงมีลักษณะกลมกลืนกับเจ้าลัทธิเหล่าอื่นที่กล่าวมาแล้ว [/FONT]
**********************************
--->> 5. [FONT="]ทรรศนะของสญชัยเวลัฏฐบุตร[/FONT]
[FONT="]ไม่ปรากฏชัดเจนว่า สญชัยถือทรรศนะใด ว่าเป็นสิ่งสูงสุด เพราะถือว่า สิ่งอันติมะเป็นสิ่งไม่สามารถกำหนดได้ สญชัยกล่าวถึงปัญหาบางอย่างที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ เช่น ปัญหาเรื่อง อาตมันเป็นสิ่งเดียวกับร่างกายหรือไม่ [/FONT]? [FONT="]สัตว์ตายแล้วเกิดอีกหรือไม่[/FONT]? [FONT="]ปัญหาเหล่านี้พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ โดยทรงแสดงเหตุผลว่าเป็นเรื่องไร้ประโยชน์ แต่ทรงพยากรณ์ปัญหาต่าง ๆ ในกระบวนการของอริยสัจ [/FONT]4
[FONT="]ในการตอบปัญหาต่าง ๆ สญชัยใช้หลักตรรกวิทยาเป็นเครื่องมืออย่างสำคัญจึงถูกวิจารณ์ว่าเป็น อมราวิกเขปิกะ คือ พูดซัดส่ายไปมาอย่างปลาไหล เป็นคนพูดจาไม่อยู่กับร่องรอยที่แน่นอน แต่ไม่จัดว่าเป็น อกิริยาวาทิน อย่าง [/FONT]4[FONT="] เจ้าลัทธิข้างต้น[/FONT]
-->> [FONT="]คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากล่าวว่า สญชัยเป็นครู(เก่า)ของพระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะผู้เป็นอัครสาวกเบื้องขวาและเบื้องซ้าย ของพระพุทธเจ้า พระอัครสาวกได้พยายามที่จะให้อาจารย์ไปเฝ้าพระพุทธเจ้า เมื่ออ้อนวอนไม่เป็นการสำเร็จ จึงได้ทิ้งท่านสญชัยฯ ไปเฝ้าพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยบริวารจำนวนมาก[/FONT]
*****************************************
--->> 6. [FONT="]ทรรศนะของนิครนถนาฏบุตร[/FONT]
[FONT="]นิครนถนาฏบุตร เป็นเจ้าลัทธิร่วมยุคกับพระพุทธเจ้า เป็นเจ้าลัทธิที่ถือปฏิบัติ เปลือยกาย เพราะถือว่าเครื่องนุ่งห่มเป็นเครื่องผูกพันอย่างหนึ่ง เป็นเครื่องหมายของการมีพันธะอยู่กับโลกวัตถุ และถือว่ากายกรรมมีโทษมากที่สุด[/FONT]
[FONT="]ไม่ใช่วจีกรรม หรือมโนกรรม มีโทษมากที่สุด[/FONT]
[FONT="]นิครนถนาฏบุตร เป็นผู้มีบทบาทสำคัญมากในศาสนาเชน โดยทั่วไปถือว่าเป็นผู้เดียวกับมหาวีระศาสดาองเชน [/FONT]
[FONT="]แต่คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากล่าวถึงนครถนาฏบุตรเป็นส่วนใหญ่ ว่าเป็นผู้ปฏิบัติทรมานตน ในฐานะเป็นตบะปลดเปลื้องกรรมเก่าให้หมดไป และเพื่อปิดกั้นกรรมใหม่ไม่ให้เกิดขึ้น ต่อจากนั้นก็จะบรรลุโมกษะ [/FONT]
[FONT="]ลุงโกโซนรวมรวมเพิ่มเติมจาก[/FONT][FONT="]http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/[/FONT][FONT="]2007/06/[/FONT][FONT="]Y[/FONT][FONT="]5536994/[/FONT][FONT="]Y[/FONT][FONT="]5536994.[/FONT][FONT="]html[/FONT][FONT="] นิครนถ์ชื่อทีฆะ-ตปัสสี ได้ยึดถือตามคำหรือลัทธิของนิครนถ์นาฏบุตรที่ว่า ทัณฑะ ทัณฑะ (เรียกการกระทำว่า ทัณฑะ ทัณฑะ (ไม่ได้เรียกว่ากรรม กรรม เหมือนพระพุทธองค์) และถือว่ากายกรรมมีโทษมากกว่าหรือที่สุด อย่างอื่นไม่ใช่สิ่งที่มีโทษมากกว่า หรือที่สุด ถูกส่งให้ไปปราบพระพุทธองค์ แต่ถูกพระพุทธองค์ปราบเรียบร้อย[/FONT][FONT="]ดังนี้[/FONT]
[FONT="] ท่านอุบาลี เมื่อได้เจอกับท่านนิครนถ์นาฏบุตรแล้ว เห็นว่าคำที่ท่านทีฆตปัสสีกล่าวถูกต้องแล้ว ก็จึงอาสาไปโต้วาทะ เพื่อปราบพระพุทธเจ้า โดยรับอาสาว่า[/FONT][FONT="]” [/FONT][FONT="] ท่านผู้เจริญเอาเถิด ข้าพเจ้าจะไปโต้วาทะในเรื่องนี้กับพระสมณโคดมเอง ถ้าพระสมณโคดมจักยืนยันเหมือนที่ท่านตปัสสียืนยันไว้อย่างนั้น ข้าพเจ้าจักพูดตล่อมวกไป-วกมา หวานล้อมให้งง เปรียบเหมือนคนที่แข็งแรงจับขนแกะที่ยาวฉุดดึงไปมาให้หมุนจนงง หรือเหมือนชายฉกรรจ์คนงานในโรงงานสุรา ทิ้งกระสอบที่มีส่วนผสมสุราใบใหญ่ลงในบ่อหมักส่า ที่ลึก แล้วจับที่มุมส่ายไปส่ายมาแล้วสลัดออก และข้าพเจ้าจักขจัด บด ขยี้วาทะของพระสมณโคดมด้วยวาทะ เหมือนนักเลงสุราที่แข็งแรง จับไหสุราคว่ำลง หงายขึ้น เขย่าจนสุราสะเด็ด หรือจักแล่นกีฬากับพระสมณโคดม เหมือนช้างแก่อายุ [/FONT][FONT="]60[/FONT][FONT="] ปีลงไปยังสระลึกเล่นกีฬาซักป่าน ฉะนั้น.....ท่านผู้เจริญ เอาเถิด ข้าพเจ้าจะไป จักโต้วาทะในเรื่องนี้กับพระสมณโคดมเอง [/FONT][FONT="]“[/FONT][FONT="] ท่านนิครนถ์นาฏบุตรกล่าวว่า คหบดี ท่านจงไป จงโต้วาทะในเรื่องนี้กับพระสมณโดคม แท้จริงเราก็ได้ ทีฆตปัสสีก็ได้ หรือท่านก็ได้ ควรโต้วาทะกับพระสมณโคดม [/FONT][FONT="]“[/FONT]
[FONT="]ท่านนิครนถ์กล่าวกับท่านนิครนถ์นาฏบุตรว่า .[/FONT][FONT="]” [/FONT][FONT="]ท่านผู้เจริญ การที่อุบาลีคหบดีจะพึงโต้วาทะกับพระสมณโคดมนั้นข้ะเจ้าไม่ไม่ชอบใจเลย(ไม่เห็นด้วย กลัวว่าจะสู้ไม่ได้) เพราะพระสมณโคดมเป็นคนมีมายา รู้มายา (กลลวง) เป็นเครื่องกลับใจ(เปลี่ยนใจ) พวกสาวกของอัญเดียรถีย์ได้ [/FONT][FONT="]“[/FONT]
[FONT="]ท่านนิครนถ์กล่าวว่า [/FONT][FONT="]“[/FONT][FONT="] ตปัสสี....เป็นไปไม่ได้ ที่อุบาลีจะกลายเป็นสาวกของพระสมณโคดม (แต่)พระสมณโคดมมากกว่าที่จะกลายเป็นสาวกของอุบาลี [/FONT][FONT="]“[/FONT]
[FONT="]อุบาลีคหบดีไปแล้ว โต้วาทะกับพระพุทธองค์ แต่ถูกพระองค์ปราบ และเขายอมรับพระพุทธองค์ตั้งแต่นั้น และสรรเสริญพระคุณของพระพุทธองค์ยาว หลายบท (ให้ดูรายละเอียดในพระไตรปิฏกเล่มที่ [/FONT][FONT="]13 [/FONT][FONT="] ตอนอุบาลีวาทสูตร หน้าที่ [/FONT][FONT="]72, 73, 74, [/FONT][FONT="]ฉบับเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ บรมราชินีนาถพ.ศ.[/FONT][FONT="]2539[/FONT][FONT="] ฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ฯ)[/FONT]
[FONT="] เมื่อท่านนิครนถ์นาฏบุตร ได้ฟังคำพรรณาพระคุณของพระพุทธองค์แล้ว รับไม่ได้ จึงกระอักเลือดอุ่นออกจากปากทันทีเลย ฯ[/FONT]
[FONT="] ท่านปุณณะ โกลิยบุตร เป็นศิษยท่านนิครนถ์นาฏบุตร ถือวัตรเหมือนโคทุกอย่าง ถูกท่านนิครนถ์นาฏบุตรส่งไปปราบพระพุทธเจ้า แต่ต่อมาเมื่อได้ฟังทัศนะของพระองค์แล้ว กลายเป็นถูกพระพุทธเจ้าปราบซะอยู่หมัด จึงยอมเป็นศิษย์พระพุทธองค์ตั้งแต่นั้น และเลิกรับใช้ท่านนิครนถ์นาฏบุตร แต่ยินดีในทางของพระพุทธองค์ [/FONT]
[FONT="] และท่านเสนิยะ ก็ถือวัตรที่ปฏิบัติเหมือนสุนัขทุกอย่าง ถูกส่งไปเหมือนกัน และก็ถูกปราบมาเหมือนกัน[/FONT]
[FONT="] ลัทธิเดิมของท่านทั้งสอง คือปุณณะ และเสนิยะนี้ เป็นมิจฉาทิฏฐิ มีสิทธิ์ไปเป็นสัตว์นรก หรือสัตว์ดิรัจฉาน อย่างใดอย่างหนึ่ง [/FONT]
[FONT="] ท่านปุณณะได้เป็นอุบาสก เข้าถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เป็นสรณะ ตั้งแต่วันนั้นจนตลอดชีวิต[/FONT]
[FONT="] พระพุทธองค์ทรงรับ ท่านเสนิยะเข้าเป็นศิษย์ในพระพุทธศาสนา โดยมีข้อแม้ว่าต้องอยู่ปริวาสครบ[/FONT][FONT="]4[/FONT][FONT="]เดือนก่อนจึงให้บวชได้ แต่ท่านก็อยู่ปริวาสถึง [/FONT][FONT="]4[/FONT][FONT="] ปีแล้วจึงบวช และไม่นานก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ จบบทเพิ่มเติมของลุงโกโซนเท่านี้...[/FONT]
[FONT="]คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากล่าวว่า นิครนถนาฏบุตร ได้สิ้นชีวิตก่อนพระพุทธเจ้า สาวกแตกสามัคคีกัน พระพุทธสาวกเห็นเหตุการณ์เช่นนั้นก็เป็นห่วงถึงพระพุทธศาสนา ด้วยเกรงว่า เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระสาวกจะแตกสามัคคีเช่นนั้น จึงกราบทูลพระพุทธเจ้าเพื่อทำสังคายนา พระพุทธเจ้าทรงแนะนำวิธีพิจารณาหลักธรรมและทรงแสดงวิธีการไว้เป็นตัวอย่าง[/FONT]
[FONT="]ทรรศนะทางปรัชญาของเชน กล่าวถึงเนื้อสารน่ามีอยู่จริง [/FONT]9[FONT="] อย่าง คือ[/FONT]
1. [FONT="]ชีวะ ที่เป็นตัวการของสิ่งมีชีวิต มีอยู่ในทุกสิ่งแม้แต่ต้นไม้ มีความรู้เป็นคุณสมบัติ[/FONT]
2. [FONT="]อชีวะ สิ่งที่เป็นพื้นฐานให้ชีวะทำงานได้ เช่น ร่างกายเป็นที่อาศัยของสิ่งที่ เรียกว่า ชีวะ[/FONT]
3. [FONT="]บุญ-บาป เป็นผลเกิดจากพฤติกรรมของชีวะ ปรากฏทางกาย วาจา และทางมนัส[/FONT]
4. [FONT="]อาสวะ คือสิ่งที่หลั่งไหลเข้าสู่ร่างกาย และจิต เป็นไปตามกรรมที่ได้ทำไว้[/FONT]
5. [FONT="]สังวระ คือการปิดกั้นกระแสกรรม และทำลายกรรมให้หมดสิ้นไป[/FONT]
6. [FONT="]พันธะ คือการผูกพันทางชีวะ เป็นเหตุให้ต้องตายและเกิดสืบต่อไป[/FONT]
7. [FONT="]นิรชา การกำจัดผลกรรม เหมือนการปิดน้ำไม่ให้รั่วเข้าเรือ แล้วทำการวิดน้ำในเรือออกให้หมดสิ้น[/FONT]
8. [FONT="]โมกษ คือความหลุดพ้น เป็นขั้นที่ผู้ปฏิบัติรู้ชัดตามเป็นจริง ตามหลักการของศาสนาเชน[/FONT]
[FONT="]ปรัชญาเชนถือว่า ความจริงต่าง ๆ มีอยู่หลายแง่หลายมุม ทั้งความจริงก็มีหลายอย่าง ทรรศนะดังกล่าวนี้เรียกว่า [/FONT]“[FONT="]อเนกันตวาทะ[/FONT]” [FONT="]แปลว่า [/FONT]“[FONT="]กล่าวถึงความจริงไม่ใช่หนึ่ง [/FONT]” [FONT="]แต่ความจริงเหล่านั้นจะยืนยันเพียงด้านใดด้านหนึ่งไม่ได้ เพราะจะกลายเป็นปฏิเสธความจริงด้านอื่น ๆ จะเป็นการปฏิเสธความจริงเสียหลายด้าน เมื่อถือเอาเพียงด้านเดียว ดังนั้นการจะกล่าวยืนยันความจริงใด ๆ จำต้องมีคำว่า [/FONT]“[FONT="]บางที[/FONT]” [FONT="]หรือ [/FONT]“[FONT="]อาจนะ[/FONT]” [FONT="]เข้ามากำกับ เพื่อเป็นการเปิดโอกาสความจริงด้านอื่นให้เป็นความจริง หลักการดังกล่าวนี้เรียก [/FONT]“[FONT="]สยาทวาท[/FONT]” [FONT="]แปลว่า [/FONT]“[FONT="]การกล่าวความจริงอย่างมีเงื่อนไข [/FONT]”
[FONT="]ด้วยเหตุนี้ปรัชญาเชนจึงไม่กล่าวความจริงที่เป็น [/FONT]“[FONT="]อันติมะ[/FONT]” [FONT="]การกล่าว การกล่าวถึงสิ่งใด ๆ จะต้องระบุ รูปแบบ เนื้อสาร และ กาลเทศะ ของสิ่งนั้น ๆ มีเงื่อนไขการกล่าวความจริง [/FONT]7[FONT="] ขั้น คือ[/FONT]
1. [FONT="]สิ่งนั้นอาจจะเป็นจริง (ตามรูปแบบ เนื้อสาร และกาลเทศะ)[/FONT]
2. [FONT="]สิ่งนั้นอาจจะไม่จริง[/FONT]
3. [FONT="]สิ่งนั้นอาจเป็นจริงและไม่เป็นจริง[/FONT]
4. [FONT="]สิ่งนั้นอาจจะเป็นสิ่งอธิบายไม่ได้[/FONT]
5. [FONT="]สิ่งนั้นอาจจะเป็นจริง และอธิบายไม่ได้[/FONT]
6. [FONT="]สิ่งนั้นอาจจะไม่เป็นจริง และอธิบายไม่ได้[/FONT]
7. [FONT="]สิ่งนั้นอาจจะเป็นจริงและไม่เป็นจริง ทั้งอธิบายไม่ได้[/FONT]
[FONT="] ข้อปฏิบัติพื้นฐาน [/FONT]5[FONT="] ประการ ในศาสนา เชน คือ[/FONT]
1. [FONT="]อหิงสา การไม่เบียดเบียนทางกายวาจาและใจ[/FONT]
2. [FONT="]สัตยะ การปฏิบัติสัจจะทางกาย วาจา ใจ[/FONT]
3. [FONT="]อสเตยยะ การไม่ลักด้วยกาย วาจา ใจ[/FONT]
4. [FONT="]พรหมจริยะ การปฏิบัติถูกต้องเรื่องกามด้วยกาย วาจา และใจ[/FONT]
5. [FONT="]อปริคคหะ การไม่เกาะเกี่ยวสิ่งใด ๆ ด้วยกาย วาจา และใจ[/FONT]
[FONT="] นักบวชต้องปฏิบัติตามหลักการนี้อย่างเคร่งครัด จึงเรียกว่าลักษณะการปฏิบัติว่า มหาพรต ส่วนผู้ครองเรือนปฏิบัติในขั้นต่ำลงมา จึงเรียกว่า [/FONT]“[FONT="]อนุพรต[/FONT]” [FONT="]คำว่า [/FONT]“[FONT="]พรต[/FONT]” [FONT="]คือข้อปฏิบัติหรือหมายถึงสิ่งที่เรียกว่า ข้อวัตรปฏิบัติ[/FONT]
[FONT="] หลักการในการปฏิบัติในศาสนาเชนที่นำมากล่าวนี้ เป็นเพียงบางส่วนเท่านั้น สำหรับเป็นเครื่องประกอบทรรศนะของนิครนถนาฏบุตร ผู้ประสงค์ศึกษาพิสดารค้นหาได้จากศาสนาและปรัชญาของเชน ซึ่งมีอยู่ในฐานะเป็นปรัชญาและศาสนาระบบหนึ่งของอินเดีย[/FONT]******************************************************
--->> [FONT="]รวมความว่า ลัทธิปรัชญาของครูทั้ง [/FONT]6 [FONT="]เป็นลัทธิปรัชญาร่วมพุทธกาล ทำให้เห็นว่า ในสมัยพุทธกาลนั้น ไม่ได้มีเฉพาะพระพุทธศาสนาเท่านั้น ที่ปรากฏในห้วงความคิดของปวงชนแต่ยังมีลัทธิปรัชญาอื่น ๆ อีกมาก มีทรรศนะของครูทั้ง [/FONT]6 [FONT="]เป็นต้น [/FONT]
[FONT="]พระพุทธเจ้าตรัสปรารภครูทั้ง [/FONT]6 [FONT="]ว่า เหมือนชาวประมงที่ปิดกั้นปลาหรือปิดกั้นไม่ให้สัตว์น้ำแหวกว่ายลงสู่ห้วงแห่งอิสรภาพ คือมรรคผลนิพพาน...[/FONT]
[FONT="]ที่มา [/FONT]:
http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/[FONT="]2007/06/[/FONT]Y[FONT="]5536994/[/FONT]Y[FONT="]5536994.[/FONT]html -
ส่วนที่เน้นว่ามา นิพพานไม่ใช่บ้านเดิม ก็ถูกครับ ประเด็นนี้ผมก็บอกชัดเจนไปแล้วว่าในแนวคิดผม ดวงจิตแต่เริ่มแรกสุดไม่ได้อยู่ในสภาวะที่เรียกว่านิพพานนะครับ แต่อยู่ในสภาวะที่ไร้กาลเวลา ไร้กฎ ไร้ระบบต่างๆ ที่ดวงจิตเราต้องอยู่ภายใต้อำนาจเหล่านั้น ต่างกับนิพพานโดยสิ้นเชิงนะครับ เพราะพระนิพพานผู้จะเข้าถึงได้ต้องมีสภาวะจิตที่เป็นสุขแท้โดยไม่ต้องพึ่งความสุขจากสิ่งใดเลย ผมจึงว่าไว้ว่าดวงจิตในสภาวะเริ่มแรกจึงอยู่ในสภาวะคล้ายพระนิพพาน ก็ขออธิบายเพิ่มไว้แต่เพียงเท่านี้ก็แล้วกันนะครับ เพราะถึงจริงก็ไม่มีประโยชน์อะไรกับในปัจจุบันเลยสักนิด ถ้ายึดถือเป็นจริงเป็นจังก็พาลแต่จะทำให้การเรียนรู้ในชีวิตเสียไปเปล่าๆ แต่ครั้นจะไม่ยอมรับรู้สิ่งใดเลยก็คงจะไม่ได้ สุดท้ายก็ขึ้นอยู่กับวิจารณญานของแต่ละคนที่จะมองเห็นประโยชน์จากสิ่งที่ดูเหมือนจะไม่มีประโยชน์ได้มากแค่ไหนเท่านั้นเอง -
"""เคยสงสัยกันไหมว่าทำไมบางครั้งพระท่านถึงว่าการได้ไปถึงพระนิพพานเหมือนกับการกลับบ้าน ถ้าคิดเล่นในอีกมุมนึงนั่นหมายความว่าเราอาจจะมาจากบ้านเดิมที่เรียกว่าพระนิพพานก็ได้ แต่ก็ติดตรงที่ถ้าอย่างนั้นเราจะมาเกิดทำไมกัน ปัญหาตรงนี้แก้ง่ายๆ โดยความจริงของเราเองในเรื่องของความปรารถนา มันชัดเจนอยู่แล้วว่าเราปรารถนาสิ่งต่างๆ เพราะต้องการความสุข ความสมดังใจ สิ่งเหล่านี้ปรากฎมีอยู่ในทุกๆ ดวงจิตไม่มียกเว้นว่าจะดีเลิศแค่ไหนหรือชั่วช้าขนาดไหนก็ตาม ต่างก็มีสิ่งนี้เหมือนๆ กัน แสดงว่าต้นกาลเวลาจริงๆ ที่จิตเกิดขึ้นมาจะต้องอยู่ในสภาวะที่อาจจะคล้ายๆ นิพพานก็ได้ คือไร้กาลเวลา ไร้กฎไร้ระบบต่างๆ ไม่มีแม้แต่นามเพื่อจะสืบเนื่องในธาตุธรรมทั้งหลาย ถ้าเป็นแบบนั้น เราเองจะคิดอย่างไร เราเองคงจะอยู่ได้ไม่นานก็คงต้องแสวงหาอะไรสักอย่าง ที่มันมีคุณค่ามากกว่านั้น หรือมากกว่าความว่างเปล่าขนาดนั้น พอจิตเริ่มแสวงหาก็ปรากฎเป็นสิ่งต่างๆ ขึ้นมากขึ้นๆ จนสุดท้ายทุกอย่างก็ปรากฎ แล้วกว่าเราจะรู้ตัวก็เวียนว่ายตายเกิด ในภพชาติต่างๆ จักรวาลต่างๆ ที่ดูเหมือนมันกว้างใหญ่ ไร้ขอบเขต แต่จิตกลับแสวงหาความสุขที่แท้จริงไม่พบ จนสุดท้ายเราก็มานั่งกันอยู่หน้าจอ อ่านกระทู้ที่ชวนให้น่าสงสัยว่าจิตเกิดมาได้อย่างไร ทั้งๆ ที่หลักฐานทุกอย่างก็คือจิตเราเองที่ปรากฎอยู่ตรงนี้ แต่กลับไม่รู้ นี่แหละคือหลักฐานว่าความเป็นดวงจิตของเรามันรู้ไม่ครบจริงๆ ที่เรียกว่าอวิชชา เพราะถ้ารู้ครบเราคงไม่ต้องเกิด แต่ก็อย่างว่าถ้าไม่เกิดมาเรียนรู้แล้วจะเข้าสู่พระนิพพานได้อย่างไร สรุปคือทุกอย่างมันต้องดำเนินไปอย่างนี้แหละถูกของมันแล้ว เพียงแต่เราจะรู้ช้าหรือเร็วต่างกันแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับใจของแต่ละคนที่จะยอมรับความจริงเหล่านี้ได้มากน้อยต่างกัน<!-- google_ad_section_end --> """
"""ผมก็ว่าแล้วต้องมีคนยกข้อมูลมาอ้างกันยาวเยียดอย่างนี้ ทั้งๆ ที่ผมก็ไม่ได้จะหมายเอาว่าให้คนทั้งหลายเชื่อตามซะหน่อย แม้แต่ผมเองก็ไม่ได้จะไปเชื่ออะไรจริงจังขนาดนั้น อดีตที่ผ่านมานานขนาดนั้นละเอียดขนาดนั้น ถามว่าความรู้ทุกอย่างในปัจจุบันนี้ตอบได้หมดหรือครับ คิดว่าเราเข้าใจถูกต้องทุกอย่างตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสหรือครับ ในเมื่อเราก็ไม่ได้ไปรับรู้และเห็นจริงด้วยจิตของเราเอง แต่กลับต้องตีความผ่านความหมายของภาษา แล้วภาษามนุษย์เราละเอียดพอที่จะอธิบายสิ่งที่ละเอียดกว่านั้นได้อีกหรือครับ
ส่วนที่เน้นว่ามา นิพพานไม่ใช่บ้านเดิม ก็ถูกครับ ประเด็นนี้ผมก็บอกชัดเจนไปแล้วว่าในแนวคิดผม ดวงจิตแต่เริ่มแรกสุดไม่ได้อยู่ในสภาวะที่เรียกว่านิพพานนะครับ แต่อยู่ในสภาวะที่ไร้กาลเวลา ไร้กฎ ไร้ระบบต่างๆ ที่ดวงจิตเราต้องอยู่ภายใต้อำนาจเหล่านั้น ต่างกับนิพพานโดยสิ้นเชิงนะครับ เพราะพระนิพพานผู้จะเข้าถึงได้ต้องมีสภาวะจิตที่เป็นสุขแท้โดยไม่ต้องพึ่งความสุขจากสิ่งใดเลย ผมจึงว่าไว้ว่าดวงจิตในสภาวะเริ่มแรกจึงอยู่ในสภาวะคล้ายพระนิพพาน ก็ขออธิบายเพิ่มไว้แต่เพียงเท่านี้ก็แล้วกันนะครับ เพราะถึงจริงก็ไม่มีประโยชน์อะไรกับในปัจจุบันเลยสักนิด ถ้ายึดถือเป็นจริงเป็นจังก็พาลแต่จะทำให้การเรียนรู้ในชีวิตเสียไปเปล่าๆ แต่ครั้นจะไม่ยอมรับรู้สิ่งใดเลยก็คงจะไม่ได้ สุดท้ายก็ขึ้นอยู่กับวิจารณญานของแต่ละคนที่จะมองเห็นประโยชน์จากสิ่งที่ดูเหมือนจะไม่มีประโยชน์ได้มากแค่ไหนเท่านั้นเอง<!-- google_ad_section_end --> """
นำประโยคของคุณ generationxxx มาเรียงกันแล้วอ่านอีกรอบ
อืม.. ไม่รู้จะพูดว่าอย่างไร แต่ ขอบคุณ..
ส่วนตัวคิดว่า เราจะมีเจตจำนงค์ที่จะกลับบ้านเดิม หรือ จะตามแนวทางของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า
ก็เป็นเจตนำนงค์เฉพาะของจิตแต่ละดวงทีมีเสรีภาพ และเป็นหนทางที่ประเสริฐทั้งสิ้น เบื้องบนคืออายะตะนะนิพพาน
ทั่วธาตุทั่วธรรม ท่านไม่ได้แบ่งแยกความดี ความงาม และความจริง ต่างก็โมทนาซึ่งกันและกันทั้งหมดทั้งสิ้น -
SegaMegaHyperSuperCyberNeptune "โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านกระทู้ผม"
<iframe width="420" height="315" src="http://www.youtube.com/embed/mwTgoyhgUjA" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
เอาไปดูแล้วพยายามเข้าใจ -
คือได้มาด้วยสมาธิ ก็รู้ไปว่าอย่างนี้ แม้แต่จิตคิดก็มีอนุภาพเกิดขึ้น ผลจิตมี ผลอารมณ์มี ผลของอนุภาคที่เกิดระดับที่เล็กละเอียดมารวมตัวแต่เห็นได้ด้วยพระญาณของพระพุทธเจ้าเท่านั้นเพราะละเอียดมากๆๆ ยกตัวอย่างน้ำเมื่อระเหยไปในอากาศก็จะจับตัวเป็นหยดน้ำคำตอบคือเกิดจากผลความคิดของเราท่านทั้งหลายที่กระจายอนูออกมา เมื่อผลระดับเล็กละเอียดที่กระจายไปนั้นถึงเวลาหนึ่งมารวมตัวแต่นับเวลากันไม่ได้ว่ากระจาย และมารวมกันคือค่อยๆสะสมตามกาลเวลา(เป็นฟองละอองวิญญาณ) ต่อนี้ฟังเทศเรื่องทางเดินวิญญาณของพระโพธิสัตว์ เริ่มจากพระพุทธเจ้าท่านได้พบเจอฟองซึ่งจะใหญ่กว่าฟองวิญญาณทั่วไปเรียกว่าหน่อพุทธโธ ก็จะเข้าในที่ประชุมของพระพุทธเจ้าทั้งหลายว่าเกิดหน่อพุทธโธขึ้นแล้วจะจัดการประชุมวางว่าพระองค์ใดจะดูแล ประคับประคอง และจะเป็นแนวทางบารมีอย่างไร จากนั้นก็ยังล่องลอยอย่ในอากาศ จนถึงจุดหนึ่งความรู้ที่เกิดขึ้นคือ จะสามารถเกิดเป็นพืชชั้นต่ำ แต่พอเกาะได้ก็เกิดตายๆๆอยู่อย่างนั้น ก็ไม่อยากตายคืออยากมีชีวิตคือไม่อยากตาย ด้วยเหตุภัยและสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์นั้น จากนั้นก็จะเกิดเป็นไม้ที่แข็งขึ้นคือยืนต้นมีรากแน่นหนาหาอาหารได้มาก เกิดเป็นไม้ผลความรู้สามารถบริหารลูกไม้นั้นได้ แต่ว่าในระหว่างที่กินอาหาร ก็มีซากพืชซากสัตว์ไปด้วย มันก็สะสมธาตุรู้ที่เป็นผลมาจาก พืชและสัตว์นั้นมีเป็นการสะสมความรู้ซึ่งนับเวลาอันยาวนาน จนถึงจุดหนึ่งมันก็ไม่อยากตายเวลาเป็นต้นไม้พอแล้งหาอาหารไม่ได้ก็เกิดความรู้คืออยากจะมีชีวิตอยู่ไม่อยากตาย เวลาไม่มีอาหารก็เคลื่อนไม่ได้ ก็อยากจะเคลื่อนที่ได้คืออยากกระดิกกระเดี้ยตัวได้ก็เกิดที่กระดิกตัวได้คือเริมมีความรู้ที่จะเคลื่อนตัวได้ อาจจะเกิดอาศัยในที่มีอาหารเช่นในสัตว์ในมนุษย์ในที่ชื้นแฉะ แต่ยังไม่มีปาก ไม่มีอวัยวะอะไรมีแต่กายที่เคลื่อที่ได้อาจะกินทางผิวหนัง แต่ท่านตัดตอนตอนเป็นหนอน คือมีปากกินอาหารพอมีปากก็ไชๆกินก็เกิดกามคุณขึ้น แต่ยังไม่มีตา ไม่มีหู ไม่มีขา เพราะนั้นการเอาตัวรอด จากการกิน จากการเห็น จากการได้กลิ่น หรือการวิ่งหนีภัยนี่เองทำให้สัตว์นั้นพัฒนาร่างกายตน เกิดมานับไม่ได้เพื่อสร้างโครงร่างที่ยังกายให้อยู่รอดความรู้ที่เกิดก็ต่อสานพัฒนาอวัยวะไป สัตว์บางอย่าง ไม่มีตา ไม่มีหู ไม่มีจะมูก ไม่มีขา บ้างมีปีก ปบ้างอยู่ในน้ำ ในอากาศ ในถ้า ในที่ลึก ปากปล่องภูเขาไฟ ที่เป็นกรด ที่กดดันสูง เหล่านี้คือการพัฒนาการทางกายเพื่อความอยู่รอด จนเป็นสัตว์ใหญ่ สัตว์สังคม โดยความรู้ที่สั่งสมมา ด้วยการเอาชนะภัยจากภูมิอากาศ จากสัตว์ด้วยกันหลากสายพันธ์ แต่ที่แน่คือการพัฒนาประสาทสัมผัสทั้งห้า และความรู้ในการอยู่รอดของสายพันธ์ จนมีความรู้ใกล้มนุษย์ และยอมรับสิ่งต่างในโลกมากขึ้น คือจะไม่ตกใจเกินไป จะเริ่มคุ้นเคยความจริงของโลกมากขึ้น เริ่มมีการรัก เอื้ออาทรในสายพันธ์ จากการแก่งแย่ง ฆ่าฟัน ปกป้อง หวง โกรธ อาฆาตก็เกิดมาตามเป็นสันดานสืบเนื่องมามันสั่งสมมาตลอด ปัญญาในการหาอาหาร ดำรงสายพันธ์ที่ทำซ้ำๆ แต่การข้ามสายพันธ์ได้ก็จากการสั่งสมวิญญาธาตเช่นเป็นเสือกินวัวเสือก็ถูกผสมวิญญาณวัว วัวก็ผสมวิญญาณเสือไปด้วย การสัมพันธ์ลักษณะอย่างนี้หรือการได้รู้ได้เห็นสัตว์อื่นที่เป็นความรู้ใหม่ทั้งหมดทั้งสิ้นถูกสั่งสมในวิญญาณถ้ามมันมากเข้าก็ข้ามสายพันธ์ได้ยิ่งระดับเซลล์น้อยยิ่งข้ามได้เร็วเชื้อโรคจึงมีใหม่ตลอดก็มาจากทฤษฎีเดียวคือความเกี่ยวเนื่องเกี่ยวพันธ์ทางวิญญาณธาตถ้ามากก็ห่อจิตสัตว์นั้นไปพอเกิดใหม่ก็จิตนั้นโยงไป สมมุติชาตินี้เราผูกพันกับใครความรู้สึกเป็นใหญ่ในจิตก็คนหรือสิ่งที่ผุกพันธ์ นั้นเป็นใหญ่ในจิต เกิดตายนับไม่ได้ ตัดมาถึงมีร่างกายสมบูรณ์เช่นมนุษย์ แต่ยังอยู่ในสังคมที่ไม่เคยสั่งสมบุญเช่นคนป่า ต่อมามีพระอรหันต์มาปฏิบัติธรรมเกิดศรัธาอยากจะถวายมันสักหัวเป็นอาหารท่าน ท่าได้รับ ความที่ท่านมีคุณธรรมท่านบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์แล้วก็เป็นการสั่งสมบุญครั้งแรกด้วยศรัทธานั้นเกิดเป็นจิตที่คิดให้ทานนั้นอายุวิญญาณจำตัวเลขไม่ได้ประมาณว่า ๔ ถึง ๖หมื่นกัปป์ อยู่มาก็พระอรหันต์ดูแลบุญและสั่งสมให้จิตยินดีรักษาศีลถึง ๕ ถึง ๖.๕ หมื่นกัปป์คือรู้ว่าผิดศีลแล้วให้เดือดร้อนไไม่อยากผิดศีล อายุถึง ๘ หมื่นกัปป์ถึงจะยินดีนั่งสมาธิ ๑แสนกัปป์สำเร็จพระอรหันต์ไม่มีหูทิพย์ ตาทิพย์ใด อยากมีหูทิย์ตาทิพย์ต้องอยู่ต่อไปอีก ๒อสงไขตรัสรู้เป็นปัจเจกพุทธเจ้า จะเป็นอัครสาวกก็สร้างบารมีต่อไปอีก พระพุธเจ้าก็มี ๔ ๘ ๑๖ อสงไขยประมาณอย่างนี้เรื่องตัวเลขไม่แน่ใจคืออยากทำ ทำแล้วเบื่อก็เกิดการเรียนรู้ใหม่มีสูญหาย แต่ประโยชน์แบบไหน หรือก่อเวรภัย ที่ซ้ำซากวนเวียน แต่เมื่อแก่รอบแล้วพัฒนา หยุด เดินในทางที่ใจเป็นสุขทุกวิญญาณแต่อายุต้องถึง บารมีต้องเกิดขึ้นตามลำดับ กรรมต้องขาด ไม่ติดค้างจึงได้ว่าหลุดพ้นแม้จิตคิดก็ไม่มีหนี้คือไม่ข้องด้วยทุกข์หรือกรรมที่ให้มาเกิดอีกคือได้มา และตรงท่านพระอาจารย์ท่านเทศ ถามผู้รู้ที่เป็นร่างทรงท่านสอนธรรมละชั่วให้สวดมนต์ ทำบุญ ใส่บาตร ท่าบอกท่ามาโปรดสัตว์ไม่ได้ให้สัตว์โปรดท่าน สามย่างตรงกัน แล้วแต่ปัญญาของใคร แต่ที่แน่คนไม่ทำชั่ว หมั่นทำบุญภาวนา ทำใจให้ผ่องใส คือของแท้ของทุกท่าน อื่นนั้นกรรมใครกรรมมัน วิญญาณไม่สูญ สั่งสมทั้งดีทั้งชั่วเพียงแต่อันไหนมากน้อย
-
อธิบายแก้กรณี คุณขจรศักดิ์ บิดเบื้อนพระธรรม
เห็นได้ ชัดว่า ผู้เขียน ไม่มีความเข้าใจใน พุทธธรรมเลย
ข้อสังเกตุ เรื่องอวิชชา พระพุทธเจ้า ท่านจะแสดงพร้อม เรื่อง อริยสัจ 4 ครับ นั้นคือ อวิชชาคือ ความไม่รู้ในอริยสัจ 4 นั้นเองครับ คือไม่รู้ในทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดับไปของทุกข์ และ มรรค ไม่ใช่ อย่างในข้อความบิดเบื้อนต่อไปนี้ว่า คือการไม่รู้ว่าเกิดมาได้ยังไง เกิดมาจากไหน เกิดตอนไหน เกิดจากอะไร คืออวิชชาครับ
ปัญหาเหล่านี้ ไอ้เรามาจากไหนพระเจ้าใช่ไหม ชาติหน้ามีไหน ท่านเรียกว่าปัญหาที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงตอบ ครับ
หาดูได้ในสูตรต่อไปนี้จูฬมาลุงกโยวาทสูตร ม. ม. (๑๕๐-๑๕๒)ตบ. ๑๓ : ๑๔๗-๑๕๒ ตท.๑๓ : ๑๓๒-๑๓๕ตอ. MLS. II : ๙๙-๑๐๑
ท่านกล่าวว่าเราจะรู้หรือไม่รู้ ก็ไม่มีประโยชน์อะไร เพราะไม่เป็นไปเพื่อการดับทุกข์ คนที่ สนใจปัญหานี้เปรียบดังบุรุษที่ ถูกยิงด้วยศร แต่แทนที่จะ รักษา ดันไป มันแต่ค้นหาว่าใครยินกู ศรผลิตที่ไหน ด้วยเหตุใดข้าถึงโดนยิน แทนที่จะมุ่งมาที่การแก้ปัญหาที่สำคัญที่สุดคือเอาศรออกใส่ยา
ข้อความบิดเบื้อน ถ้ารู้เหตุการเกิด จะรู้ว่า ตายแล้วไปไหน และก็จะเลิกสงสัยว่า เราเกิดมาได้ยังไง เกิดจากอะไร จะสิ้นสงสัย ใดใดทั้งสิ้นครับ
อธิบาย อรหันต์เอง ไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องพวกนี้ครับ ท่านสิ้นสงสัยไปเอง เพราะรู้ดีว่า มิใช่เรื่องสำคัญอันใด ครับ ดังพระพุทธเจ้าได้แสดงความเห็นไว้ว่า จะรู้หรือไม่รู้ว่ามีการเกิดใหม่หรือไม่ มีนรกสรววค์ พระเจ้าหรือไม่ ก็หาได้ ทำให้บุคคลสามารถมีชีวิตที่บริสุทธิ์ บนหนทางแห่งพรหมจรรย์ ไม่
ข้อความบิดเบื้อนขออวยพรให้ทุกท่าน ฝึกสติปัฏฐาน 4 จน เห็น
1.เหตุการคิดของใจ
2.เหตุการมีสติตัวรู้หรือ อัตตาตัวตน ของ อวิชชา(อาสวะกิเลส)
อธิบายประเด็นคือคำว่า เหตุแห่งการมีสติรู้ตัว พุทธธรรมมองว่าการมีสติรู้ตัว นั้นไม่จำเป็นต้องมีสาเหตุครับ นี่คือคนที่พูดแบบหลงๆๆครับ หลังพุทธธรรมวิปริตหมดครับ สติอยู่ที่นั้นอยู่แล้วแต่เรา ไม่รู้ เราใช้ชีวิตอย่างคนหลงๆๆลืมๆๆ หากมีสติรู้ตัวทั่วพร้อมหรือตระหนักรู้จริงๆๆ นั้นเอง คือผุ้ที่เรียกว่าพุทธะ นอกจากนี้ อัตตาตัวตน ของ อวิชชา(อาสวะกิเลส) แสดงให้เห็นว่าผู้เขียนไม่มีความเข้าใจในเรื่องปฏิจจสมุปบาทครับ คือ ตัวตนนั้นไม่มี ในพุทธธรรม ดังนั้น อวิชชาจึ่งไม่ใช่เหตุปัจจัยของ อัตตา หรือ ทำให้เกิดอัตตา แต่ต้องแก้ว่า อวิชชา เป็นปัจจัยให้เกิด ความยึดมั่นถือมั่นว่ามีอัตตา หรือ ความเป็นฉัน ฉันมีตัวตน ฉันเป็นนั้นนี่ โดยไม่รู้ตัว -
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม คำอธิบายของข่อย
หาดูได้ในเล่มนี้ครับ หรือพระไตรบาลี ครับ
-
มีหนังสือวางจำหน่ายครับ บอกทุกอย่างหมด รู้มากกว่าคำถามอีก100 เท่าครับ มีคำตอบรออยู่นับพันครับ เป็นคำตอบต่อจากคำตอบนี้ สาธุ
-
สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังษีบรมธรรมบิดา
องค์พระผู้เป็นเจ้าผู้ประทานพลังแสงทิพย์อริยธรรมที่แท้จริง คือ พระบรมธรรมบิดาของสรรพจิตวิญญาณทั้ง 3 โลกและของ
พระศาสดาทุกๆศาสนา พระองค์ท่าน คือ องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังษีบรมธรรมบิดา พระผู้เป็นใหญ่ ในแดนทิพย์นิพพานหรือ
พระผู้เป็นเจ้าอริยธรรม ท่านไม่มีเพศ มีพระวรกายทิพย์นิพพานสูงใหญ่ กายแก้วโปร่งใส มีประกาย
ระยิบระยับงดงาม สว่างไสว พระองค์ท่านโปรดเมตตาให้พวกเรา สัมผัสพระองค์ท่านได้ทาง
มโนมยิทธิ บางท่านเรียก พระวิสุทธิพุทธรังษีบรมธรรมบิดาว่า ท่านทรงปราบมาร บางศาสนา
เรียก พระองค์ท่านว่า พระยะโฮวาเจ้า พระอัลเลาะห์ พระผู้เป็นเจ้า หรือ GOD คนอเมริกันส่วนมาก
เรียกพระองค์ว่า Mother nature (เป็นพระมารดาของธรรมชาติ) บางที่เรียกพระองค์ท่านว่าองค์สมเด็จ
พระพุทธปฐมบรมธรรมบิดา พระแม่เจ้าอนุตตรธรรม สมเด็จพระองค์ธรรมบิดา ท่านพ่อเกิด ท่านแม่เกิดเพราะพระองค์ท่านส่งพวกเราให้มาเกิด เพื่อให้มาเรียนรู้สภาวะของวัตถุโลกของ
จักรวาลที่จำลองจากเมืองนิพพาน เพื่อให้พวกเรามาสร้างสรรค์นิพพานบนดินแต่พวกเราส่วน
มากมาติดใจ หลงระเริง ในขันธ์ 5 ร่างกายที่สกปรกรกรุงรัง ยึดติดในคนรักทรัพย์สมบัติ จึงกลับ บ้านนิพพานไม่ได้ องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังษีบรมธรรมบิดา จึงส่งพลังแสงทิพย์อริยทรัพย์ลงมาช่วยพวกเราให้มีสติปัญญารู้ว่า นิพพานคือบ้านที่แท้จริง และพระองค์ได้ส่งองค์พระศาสดาลงมาสั่งสอนชาวมนุษย์ให้ทำคุณงามความดี
มีจิตใจฉลาดไม่หลงยึดติดในของสมมุติใดๆ ในโลกมนุษย์ สวรรค์ พรหม จึงเกิดมี ศาสนาหลายๆศาสนา แต่ละศาสนาก็สอนให้มุ่งมั่นกลับคืนสู่ พระนิพพานบ้านเดิม บางศาสนาเรียกนิพพานว่าสวรรค์นิรันดรมีจิตของท่านผู้มีบุญหลายร้อยล้านดวงกลับคืนสู่นิพพาน
แต่ก็ยังคงเหลืออีกหลายพันล้านดวง ยังหลงวนเวียนเกิดเวียนตาย ในนรกโลก มนุษย์โลก เทวพรหมโลก
สนใจรายละเอียดที่เวป Untitled Document
-
--ผมเชื่อครับ ศาสนาของเบื้องบนไม่ได้แบ่งแยกใดๆ
--จิตของคนเรามาจากส่วนหนึ่งของ จิตเดิมแท้ จิตจักรวาล หรือเสี้ยวของพระพรหม
ครั้นลงมาสู่โลก ก้มาติดข้องในโลกวัตถุ
--ไหนๆก็ไหนๆ คำถามว่า จิตวิญญาณเกิดมาได้อย่างไรนั้น สำคัญน้อยกว่าที่ว่า "ตอนนี้ มีแต่ความทุกข์แล้วจะหลุดพ้นสู่นิพพานได้อย่างไร"
--บทความเน้นมุ่งสู่จิตเดิมแท้ ขอเชิญอ่านย้อนไป3-4 หน้า บทความของเซ็นสยาม คัดเอาหัวกะทิธรรม มาย่อ และพุ่งตรงสู่ตวามหลุดพ้น ท้าพิสูจน์เพราะมีผู้หลุดได้หลายท่านแล้วครับ ด่วนครับ รถด่วนจะออกชานชาลาแล้วครับ
http://palungjit.org/threads/มนุษย์ต่างดาวติดต่อเราหรือยัง-ควรบอกว่า-เมื่อไหร่จะไป.335715/page-12#post6124085 -
อยากรู้ลอง ดู เว็ปนี้ค่ะ www.Jitchakraval.com เว็ปไซต์เผยเเพร่องค์ความรู้จากองค์จิตจักรวาล โดย อ.ปริญญา ตันสกุล
ถ้าไม่เชื่อก็อย่าเพิ่งปฏิเสธนะค่ะ ดูฟังไปเพลินๆค่ะ -
ใช่ครับ ดีมากๆๆ ชาวเว็ปน่าจะได้อ่านบ้างนะครับ จะช่วยได้เยอะ ครับ ท่านจะเขียนเพิ่มอีกสองบทครับ -
จิตเป็นสิ่งที่มีมาอยู่แล้ว เหมือนธาตุดิน ธาตุน้ำ อากาศ
ขออ้างอิงข้อมูลเพื่อความเข้าใจมากขึ้น
ธัมมานุวัตต์และศาสนวิถี
จากหนังสือธัมมานุวัตต์ที่เขียนโดยสามเณรประมัย (เป็นหนังสือที่ดี เขียนแจกแจงธรรมได้ชัดเจน ลอง search อ่านได้)
ได้อธิบายเรื่องคำว่า มโน จิตต์ วิญญาณ
...
วิญญาณ เป็นธาตุมีอยู่ทั่วไปไม่มีที่สิ้นสุด
...อากาศมีอยู่ทั่วไปทุกแห่งหน ภายในความละเอียดของอากาศธาตุนั้น ปรมาณูชนิดหนึ่งไม่มีรูปร่างใดๆปรากฏได้มีอยู่ทั่วไปเช่นเดียวกัน ปรมาณูชนิดนี้เป็นปรมาณูแห่งมหาอำนาจ มีความเปลี่ยนแปลงยักย้ายอยู่เสมอ เรียกปรมาณูชนิดนี้ว่า "วิญญาณธาตุ" เพราะมีความรู้เป็นคุณลักษณะ วิญญาณธาตุที่ทั่วไปนี้เองได้กลับตัวเป็น "ปฏิสนธิวิญญาณ" ในเมื่อมีกระแสชนิดหนึ่งมาปนปรุง ซึ่งกระแสนั้นเรียกว่า "อาสวะ"
ปฏิสนธิวิญญาณ นี้เอง เป็นต้นเค้าแห่งการเรียกว่า มโน จิตต์ วิญญาณ
ปฏิสนธิวิญญาณ ที่เข้าประจำร่างของมนุษย์และสัตว์แล้วเรียกว่า "มโน"
กระแสความคิดของมโน เรียกว่า "จิตต์"
ความรู้ที่ประจำอยู่ทั่วร่าง เรียกว่า "วิญญาณ"
จิตต์และวิญญาณเป็นอาการของมโน หรือเรียกอีกอย่างว่า เป็นกระแสของมโน นั่นเอง
...
ความปราศจากอวิชชาของใจมีอยู่ในระยะต้นกับระยะปลาย
ระยะต้นเมื่อยังเป็น "วิญญาณธาตุ" หรือ "ใจเดิม"
ระยะปลาย เมื่อ "บรรลุวิมุตติธรรม"
ระยะแรก คือ "ใจเดิมมีความรู้ในทุกๆสิ่ง แต่ก็หลงติดหมดทุกสิ่ง"
ระยะสุด คือ "ใจที่หมดกระแสอวิชชาอย่างเด็ดขาด รู้หมดทุกสิ่ง แต่ไม่หลงติดในทุกสิ่ง"
...
นอกจากนี้ในหนังสือยังมีกล่าวอีกหลายเรื่อง ทั้งเรื่องศีล สมาธิ ปัญญา ธรรมที่นำไปสู่การหลุดพ้นต่างๆ โดยเปรียบเทียบกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทียบกับปรัชญาทางตะวันตก อย่างเรื่องธรรมธาตุ เท่าที่จำได้ กล่าวประมาณว่า ธรรมธาตุเป็นธาตุลึกลับที่ไม่มีนักวิทยาศาสตร์คนใดจะค้นพบนอกจากพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ ซึ่งจะเข้าใจธาตุนี้เป็นอย่างดีและเห็นความเชื่อมโยงของทุกสิ่ง...
ปล. เสียดายที่สามเณรรูปนี้มรณภาพตั้งแต่อายุ 22 ปี ไม่เช่นนั้นคงเป็นกำลังสำคัญในการเผยแพร่ศาสนา -
ต้นกำเนิดจิต
กำเนิดภพภูมิ
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดโลก
ไม่ต่างกับคำถามไก่กับไข่อะไรเกิดก่อนกัน รู้แล้วได้ไร รู้แล้วมีประโยช์อะไร ถึงมีคนรู้จริงมาตอบ คนที่ไม่รู้ก็ปรุ่งแต่งกันไป เหมือนตาบอดคลำช้าง
ภพภูมิ จักวาล โลก ล้วนเป็นมายาเป็นสิ่งจองจำกักขังจิต ให้อยู่ใน ภพภูมิ จักรวาล โลก
-
เพราะฉนั้นการที่จะค้นหาต้นกำเนิดของจิต กำเนิดภพภูมิ จักรวาล โลก รู้แล้วได้อะไร
เรามาหาทางที่จะหลุดจากเครื่องจองจำกักขังจิต ยังจะมีประโยชน์กว่า -
จิตวิญญาณเกิดขึ้นได้อย่างไร
ขอแสดงความคิดเห็นด้วยนะค่ะ คำถามนี้ดีมากค่ะ และมีหลากหลายความคิดเห็นที่น่าสนใจค่ะ ส่วนที่จะตัดสินได้ถูกที่สุดก็เป็นสิ่งที่ไม่สามารถบอกได้ค่ะ ขึ้นกับความคิดของแต่ละคนค่ะ จากที่ได้เรียนรู้มา ก็ขอถ่ายทอดเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันนะค่ะ จิตวิญญาณหรือเรียกอีกชื่อว่าดวงวิญญาณค่ะ เป็นพลังงานที่ไม่มีวันดับสูญ เป็นจุดแสง ตั้งอยู่ที่ตาที่สาม กึ่งกลางหน้าผากค่ะ และต้องมีพาหนะคือร่างกายจึงจะมีการกระทำได้ทั้งทางที่ดีและไม่ดีค่ะ ภายในดวงวิญญาณของแต่ละดวงจะมีการบันทึกสิ่งที่ทำในอตีดของชาติเกิดที่ผ่านมา และภายในดวงวิญญาณมีองค์ประกอบอยู่ 3 อย่างคือ จิตใจเป็นส่วนที่แสดงออกซึ่งอารมณ์ และสติปัญญา ที่แสดงออกถึงการใช้เหตุและผล เมื่อทั้งสองส่วนนี้ทำงานด้วยกัน และมีการกระทำจึงเกิดเป็นรอยประทับเก็บไว้ในดวงวิญญาณ ทันทีที่ดวงวิญญาณเข้ามาในร่างกาย สิ่งที่อยู่ในรอยประทับเหล่านี้ก็จะแสดงออกมาค่ะ ในรูปของนิสัยใจคอหรือ ความสามารถพิเศษต่างๆค่ะ และอื่นๆ โดยตัวของดวงวิญญาณเองไม่สามารถมีพลังได้ตลอดเวลาทำให้เกิดสภาวะที่อ่อนแอ(แบตเตอรี่ไม่มีไฟ) มีความคิดในทางลบต่างๆ กับตัวเอง ดังนั้นจึงต้องรับพลังงานจากแหล่งพลังงานสูงสุด ที่เราเรียกว่า บาบา ค่ะ เป็นการชาร์ตแบตของดวงวิญญาณเราค่ะ เช่นการนั่งสมาธิ การทำโยค่ะ ก็คือการชาร์ตแบตให้กับดวงวิญญาณของเราค่ะ เมื่อเราได้รับพลังมาเราก็ต้องแบ่งปันให้กับผู้ที่อ่อนแอด้วยค่ะ การที่ดวงวิญญาณจะได้เข้ามาอยู่ในร่างกายใดก็ขึ้นกับบัญชีกรรมที่ได้ทำมาในอดีตชาติ ดังนั้นในทุกศาสนาจึงสอนให้เราทำกรรมที่ดีค่ะ ขณะที่เราได้มาใช้ร่างกายในปัจจุบันนี้เราเองก็มีการทำกรรมใหม่อีก ทั้งที่ดีและไม่ดีค่ะ (ซึ่งของเก่ายังใช้ไม่หมดแล้วยังมาทำกรรมใหม่อีกค่ะ มันก็เลยพอกขึ้นทำให้เราต้องกลับมาเกิดอีกเรื่อยๆค่ะ และทำให้เรายังไปสู่นิพพาน(บ้านของดวงวิญญาณ)ไม่ได้สักทีค่ะ) นอกจากนี้ ที่ดวงวิญญาณได้เข้ามาอาศัยในร่างกายแห่งนี้มานาน(เท่าอายุของเรา)ทำให้เราเกิดสำนึกของการเป็นร่าง มีการยึดติดกับร่างกายนี้ ยึดติดในทรัพย์สมบัติ ยึดติดในยศ ลาภต่าง ทำให้เรามีการกระทำในทางที่ไม่ถูกต้อง และถ้าถามว่าดวงวิญญาณต้องการอะไร นั่นก็คือ ความสงบ ความสุข ความรักพลังและอื่นๆ เรื่องนี้น่าสนใจและน่าศึกษามากค่ะ ถ้าเราได้ศึกษาและทำความเข้าใจเราจะเข้าใจตัวเองมากขึ้นค่ะ และถ้าย้อนเหตุการณ์ที่เราได้ทำไว้ในอดีตที่บางเรื่องเราก็ได้ทำพลาดไป เราก็จะมีความระมัดระวังต่อการกระทำของเรามากขึ้นค่ะ และถ้าเราชนะจิตใจของเรา ก็จะไม่มีการทำผิดซ้ำอีกค่ะ
หน้า 3 ของ 4